แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31-56 วิชาภาษาไทย 3 ท22101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนท่าบ่อ กิติมาพร วงค์โพธิ์สาร เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖6 สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31-56 วิชาภาษาไทย 3 ท22101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนท่าบ่อ นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร รหัสนักศึกษา ๖2๑๐๐๑๐๑๑๒๗ เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖6 สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
1. แผนผังโรงเรียนท่าบ่อ 2. ตารางสอน
3. ก าหนดงานที่โรงเรียนมอบหมายให้ปฏิบัติ การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาครั้งนี้ ทางโรงเรียนได้มอบหมายหน้าที่งานบริการ โดยให้ ปฏิบัติงานต่าง ๆ ดังนี้ ที่ ค าสั่งที่ เรื่อง หน้าที่ 1 180/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการครูเวร ประจ าวัน ประจ าปีการศึกษา 2566 คณะกรรมการครูเวรประจ าวัน จันทร์ 2 182/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการเตรียม ประเมินผลการด าเนินชมรม TO BE NUMBER ONE ในพื้นที่ คณะกรรมการฝ่ายตกแต่งสถานที่ 3 195/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการครูเวรจุด เสี่ยงศาลานาตรีชนโรงเรียนท่า บ่อ ภาคเรียนที่ 1 ประจ าปี การศึกษา 2566 คณะกรรมการครูเวรจุดเสี่ยงศาลา นาตรีชนวันศุกร์ 4 197/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการ สอนกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ ยุวกาชาดและผู้ บ าเพ็ญป ระโยชน์ ป ระจ าปี การศึกษา 2566 คณะกร รมก า รด าเนินก า รจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 5 201/2566 แ ต่ง ตั้ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จั ด กิจกรรม พิธีไหว้ครู ประจ าปี การศึกษา 2566 - ฝ่ายจัดสถานที่ จัดท าป้าย และ ตกแต่งเวที - ฝ่ายจัดนักเรียนเข้าร่วมพิธีและ รับพานไหว้ครู 6 210/2566 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกร รมก า ร ด าเนินงานเตรียมเอกสารและ รับการประเมินเพื่อรับรางวัล ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระดับภูมิภาค ประจ าปี 2566 ฝ่ายจัดสถานที่ จัดท าป้ายและ ตกแต่งเวที 7 289/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการเลือกตั้ง ป ร ะ ธ า น นั ก เ รี ย น แ ล ะ คณะกรรมการนักเรียน ประจ าปี การศึกษา 2566 - ด าเนินการจัดหน่วยเลือกตั้งย่อย โตีะ เก้าอี้ ความสะอาด ป้าย ประชาสัมพันธ์ - มีหน้าที่รับลงทะเบียน จ่ายบัตร และนับบัตรเลือกตั้งนักเรียนที่มา ใช้สิทธิเลือกตั้ง ควบคุมดูแลความ เรียบร้อยภายในหน่วยเลือกตั้ง
ที่ ค าสั่งที่ เรื่อง หน้าที่ รวมคะแนนและบันทึกผลการ เ ลื อกตั้งนั กเ รี ยนที่ม าใ ช้สิท ธิ เลือกตั้ง 8 383/2566 แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการ สอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 - รับข้อสอบแต่ละวิชาด้วยตนเอง ที่กองอ านวยการ - ก ากับห้องสอบให้เป็นไปด้วย ค ว ามเ รียบ ร้อย ต ามก าหน ด ระยะเวลาสอบในตารางสอบ - กรรมการที่ควบคุมห้องสอบใน ระดับชั้นมัธยมตัน ปฏิบัติหน้าที่ ก ร รมก า รส า ร องใน ร ะดับ ชั้น มั ธ ยมศึกษ า ต อนป ล า ย แ ล ะ กรรมการควบคุมห้องสอบระดับ มั ธ ย ม ป ล า ย ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก ร ร ม ก า ร ส า ร อง ใ น ร ะ ดั บ มัธยมศึกษาตอนต้น 4. โครงสร้างรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน 3 ท22101 โรงเรียนท่าบ่อ 1) ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาการอ่าน ออกเสียงบทร้อยแก้ว และร้อยกรอง บทบรรยาย กลอนบทละคร กลอน นิทานและการละเล่นพื้นบ้าน จับใจความส าคัญสรุปความและอธิบายรายละเอียด เขียงผังความคิด อภิป ร าย แสดงคว ามคิดเห็น ข้อโต้แย้ง วิเคร าะห์จ าแนกข้อเท็จจ ริง ข้อมูลสนับสนุน ความสมเหตุสมผล บทความ บันทึก เรียงความย่อความ บทสนทนา การเขียนพรรณนาและบรรยาย การพูดอวยพร พูดโน้มน้าวใจ พูดรายงาน การสร้างค าซ้อน การสร้างประโยคการสร้าง ค าราชาศัพท์ สุภาษิต ภาษาบาลีสันสกฤต วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีวรรณกรรม ทั้งบันเทิงคดีสารคดี สรุปความรู้ ความคิด การเขียนรายงานจากสื่อสิ่งพิมพ์ สารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อน าไปใช้ในชีวิตจริง และน าไปอ้างอิงประกอบอาชีพในศตวรรษที่ 21 ได้ โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการคิด ทักษะการใช้ภาษา ทักษะ การสื่อสาร การสืบค้นข้อมูล บันทึกและอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถน า ความรู้ที่ได้รับนั้นไปใช้สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีมารยาทในการอ่าน การเขียน การพูด การฟัง
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ การอ่าน การเขียน การฟัง การดูและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมมีคุณธรรมในการใช้ภาษาตระหนักถึงคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม มีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยใฝ่เรียนรู้ น้อมน าโครงการในพระราชด าริ เศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติมุ่งมั่นในการท างานรักความเป็นไทย มีจิสาธารณะและน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวัน รหัสตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ท 1.1 ( ม.2/1-8 ) ท 2.1 ( ม.2/1-8 ) ท 3.1 ( ม.2/1-6 ) ท 4.1 ( ม.2/1,2,4 ) ท 5.1 ( ม.2/1-5 ) รวมทั้งหมด 29 ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 จ านวน 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จ านวน ชั่วโมง น้ าหนัก คะแนน 1 การอ่าน ท 1.1 ม. 2/1 ม. 2/4 ม. 2/5 ม. 2/6 ม. 2/7 ม. 2/8 การปลูกฝังนิสัยรักการอ่านแล ะมี มารยาทในการอ่าน เป็นคุณสมบัติที่ นักเรียนควรมี และเป็นคุณลักษณะที่ สร้าง หรือปรับปรุงได้ โดยนักเรียนต้อง เห็นความส าคัญของการอ่าน และมี ความสามารถในการสรุปความและการ ท าผังความคิด 4 4 2 การฟังและการดู ท 3.1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/6 การฟังและการดูเป็นการรับสารที่ใช้อยู่ ตลอดเวลา ก่อนการฟังและการดูควร ตั้งจุดมุ่งหมายแต่ละครั้ง และพยายาม สังเกตสารทั้งประเภทให้ความรู้ โน้ม น้าวใจ และจรรโลงใจเพื่อจะได้จับ 5 6
หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จ านวน ชั่วโมง น้ าหนัก คะแนน ใ จ ค ว า ม ส า ร เ ห ล่ า นั้ น แ ล ะ ใ ช้ วิจารณญาณพิจารณาสารเหล่านั้นได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม 3 การสร้างค าในภาษาไทย ท 4.1 ม.2/1 ภาษาไทยเป็นภาษาค าโดด เมื่อเกิด ความจ าเป็นต้องการสร้างค าขึ้นมาใช้จึง น าค าที่มีอยู่มาประสมกัน ซ้อนกันและ ซ้ ากัน ทั้งยังน าค าภ าษ าบ าลีแล ะ สันสกฤตที่ รับเข้ าม าใช้ส ร้ างเป็น ค าสมาส ท าให้มีค าใช้มากขึ้นทั้งในการ ใช้สื่อสารทั่วไป และในวรรณคดี 5 6 4 ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ (ต่อ) ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 ศิ ล า จ า รึ กห ลั กที่ 1 จ า รี ก ด้ ว ย ค า ป ระพันธ์ ร้อยแก้วที่มีสัมผัสแล ะมี จังหวะ ใช้ประโยคความเดียวขนาดสั้น ต่อเนื่องกันที่สื่อความได้ชัดเจน มี เนื้อห าเกี่ยวกับพ่อขุน ร ามค าแหง มหาราช พระมหากษัตริย์กรุงสุโขทัย และสภาพสังคมสมัยสุโขทัย อีกทั้งยัง แสตงคุณค่าหลายประการที่นักเรียน ควรรู้ 5 6 5 โ ค ลง ภ า พ พ ร ะ ร า ช พงศาวดาร ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 ม. 2/5 โคลงภาพทั้งสองบท คือ โคลงภาพ แผ่นดินมหาจักรพรรดิ ภาพพระสุริโย ทัยขาดคอช้างและโคลงภาพแผ่นดิน สมเด็จพระเจ้าเสือ ภาพพันท้ายนรสิงห์ ถ ว า ย ชี วิต น อก จ า ก จ ะท าห น้ าที่ บรรยายภาพแล้ว คุณธรรมส าคัญที่กวี เสนอไว้ประกอบกับการใช้ถ้อยค าอัน ง ดง า ม ยัง ช่ ว ย ก ร ะ ตุ้ น ค ว า ม คิ ด จินตนาการของผู้อ่าน ท าให้เกิดความ ชาบซึ้งสะเทือนใจและภูมิใจในบรรพ บุรุษของชาติ 5 6
หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จ านวน ชั่วโมง น้ าหนัก คะแนน 6 บ ท ล ะ ค ร ใ น เ รื่ อ ง ร า ม เ กี ย ร ติ์ ต อ น นารายณ์ปราบนนทก ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 ม. 2/5 บทละครในเ รื่อง รามเกีย รติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เป็นตอนต้นเรื่อง รามเกียรติ์ที่สนุกสนานน่าติดตามใช้ ส านวนภาษาไพเราะคมคาย และให้ แง่คิดที่เป็นป ร ะโยชน์ซึ่งนักเ รียน สามารถน าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน ได้ 4 4 7 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศ ว ก ร รม า แล ะ สามัคคีเสวก บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศ ว ก ร รม า แล ะ สามัคคีเสวก (ต่อ) ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 ม. 2/5 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา และสามัคคีเสวก มีความไพเราะงดงาม ด้านภาษา และมีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ ต่ อนั กเ รี ยน อี กทั้ง ยังเป็นเ ค รื่ อง สนับสนุนให้นักเรียนรักและภูมิใจใน ชาติได้อีกด้วย 4 4 8 ก า ร แต่งค าป ร ะพัน ธ์ ประเภทกลอนสุภาพ ท 4.1 ม. 2/3 กลอนเป็นค าประพันธ์ประเภทที่เรียบ เรียงตามฉันทลักษณ์ มีลักษณะบังคับ ในด้านคณะและสัมผัส ค าประพันธ์ ประเภทกลอนมีหลายชนิด การศึกษา ค าประพันธ์ประเภทกลอนเป็นการ รักษาวัฒนธรรมทางภาษาให้คงอยู่ ต่อไป 5 6 9 รู ป แ บ บ ป ร ะ โ ย ค ใ น ภาษาไทย ท 4.1 ม. 2/2 ความรู้เรื่องรูปแบบของประโยคใน ภาษาไทย ช่วยให้ใช้ภาษาได้ถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย ตรงตามเจตนาของ ผู้ ส่งสาร ทั้งการพูดและการเขียน 4 4 10 การพูด ท 3.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 การพูด เป็นทักษะทางภาษาที่ส าคัญใน ชีวิตประจ าวัน ยิ่งในปัจจุบันนักเรียน ต้องถ่ายทอดการรับสารจากสื่อต่างๆ หลังจากการฟังและการดูด้วยการพูด ซึ่งก่อนพูดนักเรียนต้องแยกแยะส่วนที่ เป็นข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นให้ได้ 6 6
หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จ านวน ชั่วโมง น้ าหนัก คะแนน สรุปใจความส าคัญของข้อมูลข่าวสารที่ นักเรียนได้รับ และน าไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผลเพื่อประเมินค่า ความน่าเชื่อถือของข้อมูลนั้นๆ ได้ 11 การเขียน การเขียน (ต่อ) ท 2.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 ม. 2/5 ก า รเ ขี ยนเป็นทั กษ ะท างภ า ษ าที่ นักเรียนสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อ ความคิด ความต้องการไปยังผู้อ่านได้ การเขียนแบ่งเป็นหลายประเภท ได้แก่ ก า รเ ขี ยนบ ร ร ย า ย แ ล ะพ ร ร ณน า การเขียนเรียงความ การเขียนย่อความ และการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า นักเรียนควรฝึกฝนทักษะการเขียน อย่างสม่ าเสมอจึงจะท าให้เป็นผู้ใช้ ทักษะการเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 9 8 รวมระหว่างเรียน 56 60 สอบกลางภาค 2 10 สอบปลายภาค 2 30 รวม 60 100
5) ก าหนดการสอน รายวิชาภาษาไทย 3 ท22101 ก าหภาคเรียนที่ 1รายวิชาภาษาไทย 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสอัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคเรียน 6หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 1 การอ่าน 1 จ. 15 พ.ค. 66 จ. 15 พ.ค. 66 จ. 15 พ.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม2 อ. 16 พ.ค. 66 อ. 16 พ.ค. 66 อ. 16 พ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม3 พ. 16 พ.ค. 66 พฤ. 16 พ.ค. 66 พฤ. 16 พ.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม4 จ. 22 พ.ค. 66 จ. 22 พ.ค. 66 จ. 22 พ.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม
หนดการสอน 1 ปีการศึกษา 2566 ัสวิชา ท22101 หน่วยการเรียน 3 คาบ/สัปดาห์ 60 ชั่วโมง 60 : สอบกลางภาค 10 : สอบปลายภาค 30 น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 1.1 ม. 2/6 ปฐมนิเทศรายวิชา 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 1.1 ม. 2/5 ม. 2/8 การอ่านเพื่อวิเคราะห์ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 1.1 ม. 2/2 การอ่านสรุปความ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 1.1 ม. 2/3 การเขียนแผนผังความคิด 1 รวม 4 ชั่วโมง
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 2 การฟังและการดู 5 อ. 23 พ.ค. 66 อ. 23 พ.ค. 66 อ. 23 พ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม6 พ. 24 พ.ค. 66 พฤ. 25 พ.ค. 66 พฤ. 25 พ.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม7 จ. 29 พ.ค. 66 จ. 29 พ.ค. 66 จ. 29 พ.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม8 อ. 30 พ.ค. 66 อ. 30 พ.ค. 66 อ. 30 พ.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม9 พ. 31 พ.ค. 66 พฤ. 1 มิ.ย. 66 พฤ. 1 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/6 ความหมายของการฟังและการดู 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/3 จุดมุ่งหมายของการฟังและการดู 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/3 ของการฟังและการดูเพื่อจับใจความส าคัญ 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/2 การวิเคราะห์จากเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/6 มารยาทในการฟังและการดู 1 รวม 5 ชั่วโมง
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 3 การสร้างค าใน ภาษาไทย 10 จ. 5 มิ.ย. 66 จ. 5 มิ.ย. 66 จ. 5 มิ.ย. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม11 อ. 6 มิ.ย. 66 อ. 6 มิ.ย. 66 อ. 6 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม12 พ. 7 มิ.ย. 66 พฤ. 8 มิ.ย. 66 พฤ. 8 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม13 จ. 12 มิ.ย. 66 จ. 12 มิ.ย. 66 จ. 12 มิ.ย. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม14 อ. 12 มิ.ย. 66 อ. 13 มิ.ย. 66 อ. 13 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/1 ทบทวนค าซ้ า ค าซ้อน ปละค าประสม 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/1 ภาษาบาลี- สันสกฤต 1 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/1 ภาษาบาลี- สันสกฤต 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/1 การสร้างค าสมาสแบบสมาส 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/1 การสร้างค าสมาสแบบสนธิ 1 รวม 5 ชั่วโมง
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 4 ศิลาจารึกหลักที่ ๑ 15 พ. 14 มิ.ย. 66 พฤ. 15 มิ.ย. 66 พฤ. 15 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม16 จ. 19 มิ.ย. 66 จ. 19 มิ.ย. 66 จ. 19 มิ.ย. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม17 อ. 20 มิ.ย. 66 อ. 20 มิ.ย. 66 อ. 20 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม18 พ. 21 มิ.ย. 66 พฤ. 22 มิ.ย. 66 พฤ. 22 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม19 จ. 26 มิ.ย. 66 จ. 26 มิ.ย. 66 จ. 26 มิ.ย. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมมสอบกลางภาคเรียน
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลาจารึกหลักที่ ๑ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ประวัติผู้แต่งและค าประพันธ์ 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 เนื้อหาศิลาจารึกหลักที่ ๑ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 ม. 2/3 วิเคราะห์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ 1 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/4 วิเคราะห์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ 2 1 รวม 5 ชั่วโมง น ข้อสอบปรนัย 30 ข้อ 10 คะแนน
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 5 โคลงภาพ พระราช พงศาวดาร 20 อ. 27 มิ.ย. 66 อ. 27 มิ.ย. 66 อ. 27 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม21 พ. 28 มิ.ย. 66 พฤ. 29 มิ.ย. 66 พฤ. 29 มิ.ย. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม22 จ. 3 ก.ค. 66 จ. 3 ก.ค. 66 จ. 3 ก.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม23 อ. 4 ก.ค. 66 อ. 4 ก.ค. 66 อ. 4 ก.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม24 พ. 5 ก.ค. 66 พฤ. 6 ก.ค. 66 พฤ. 6 ก.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ความรู้ทั่วไปและประวัติผู้แต่ง 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/5 ลักษณะค าประพันธ์ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ความเป็นมาและเนื้อหาโคลงภาพพระสุริโยทัย ขาดคอช้าง 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ความเป็นมาและเนื้อหาโคลงภาพพันท้ายนรสิงห์ ถวายชีวิต 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/3 ม. 2/4 วิเคราะห์คุณค่าโคลงภาพพระราชพงศาวดาร 1 รวม 5 ชั่วโมง
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 6 บทละครในเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบ นนทก 25 จ. 10 ก.ค. 66 จ. 10 ก.ค. 66 จ. 10 ก.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม26 อ. 11 ก.ค. 66 อ. 11 ก.ค. 66 อ. 11 ก.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม27 พ. 12 ก.ค. 66 พฤ. 13 ก.ค. 66 พฤ. 13 ก.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม28 จ. 17 ก.ค. 66 จ. 17 ก.ค. 66 จ. 17 ก.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ความรู้ทั่วไปและความเป็นมาบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/5 ลักษณะค าประพันธ์และเรื่องย่อ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 เนื้อเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 บทวิเคราะห์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก 1 รวม 4 ชั่วโมง
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 7 บทเสภาสามัคคี เ ส ว ก ต อ น วิศวกรรมาและ สามัคคีเสวก 29 อ. 18 ก.ค. 66 อ. 18 ก.ค. 66 อ. 18 ก.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม30 พ. 19 ก.ค. 66 พฤ. 20 ก.ค. 66 พฤ. 20 ก.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม31 จ. 24 ก.ค. 66 จ. 24 ก.ค. 66 จ. 24 ก.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม32 อ. 25 ก.ค. 66 อ. 25 ก.ค. 66 อ. 25 ก.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ความรู้ทั่วไปและประวัติผู้แต่งบทเสภาสามัคคี เสวก 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/4 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/1 ม. 2/4 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 5.1 ม. 2/2 วิเคราะห์คุณค่าบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก 1 รวม 4 ชั่วโมง
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 8 การแต่งค า ประพันธ์ประเภท กลอนสุภาพ 33 พ. 26 ก.ค. 66 พฤ. 27 ก.ค. 66 พฤ. 27 ก.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม34 จ. 31 ก.ค. 66 จ. 31 ก.ค. 66 จ. 31 ก.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม35 อ. 1 ส.ค. 66 อ. 1 ส.ค. 66 อ. 1 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม36 พ. 2 ส.ค. 66 พฤ. 3 ส.ค. 66 พฤ. 3 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม37 จ. 7 ส.ค. 66 จ. 7 ส.ค. 66 จ. 7 ส.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/3 ฉันทลักษณ์ของกลอนสุภาพ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/3 การเรียกชื่อกลอน 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/3 กลอนดอกสร้อย 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/3 การแต่งกลอนดอกสร้อย 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/3 กลอนสุภาพ 1 รวม 5 ชั่วโมง
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 9 รูปแบบประโยค ในภาษาไทย 38 อ. 8 ส.ค. 66 อ. 8 ส.ค. 66 อ. 8 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม39 พ. 9 ส.ค. 66 พฤ. 10 ส.ค. 66 พฤ. 10 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม40 จ. 14 ส.ค. 66 จ. 14 ส.ค. 66 จ. 14 ส.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม41 อ. 15 ส.ค. 66 อ. 15 ส.ค. 66 อ. 15 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมมหน่วยที่ 10 การพูด 42 พ. 16 ส.ค. 66 พฤ. 17 ส.ค. 66 พฤ. 17 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/2 ประโยคสามัญ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/2 ประโยครวม 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/2 ประโยคซ้อน 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 4.1 ม. 2/2 รูปแบบประโยค 3 แบบ 1 รวม 4 ชั่วโมง . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/2 หลักการพูดสรุปใจความส าคัญ 1
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้น43 จ. 21 ส.ค. 66 จ. 21 ส.ค. 66 จ. 21 ส.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม44 อ. 22 ส.ค. 66 อ. 22 ส.ค. 66 อ. 22 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม45 พ. 23 ส.ค. 66 พฤ. 24 ส.ค. 66 พฤ. 24 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม46 จ. 28 ส.ค. 66 จ. 28 ส.ค. 66 จ. 28 ส.ค. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม47 อ. 29 ส.ค. 66 อ. 29 ส.ค. 66 อ. 29 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/1 ม. 2/3 พูดสรุปใจความส าคัญจากเรื่องที่ฟังและดู 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/2 การพูดวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เพื่อ ประเมินความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่อ 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/3 การพูดวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เพื่อน ามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/3 การพูดวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่ได้ฟังและดู 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 3.1 ม. 2/3 สรุปความรู้เรื่องการพูด 1 รวม 6 ชั่วโมง
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นหน่วยที่ 11 การเขียน 48 พ. 30 ส.ค. 66 พฤ. 31 ส.ค. 66 พฤ. 31 ส.ค. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม49 จ. 4 ก.ย. 66 จ. 4 ก.ย. 66 จ. 4 ก.ย. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม50 อ. 5 ก.ย. 66 อ. 5 ก.ย. 66 อ. 5 ก.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมม51 พ. 6 ก.ย. 66 พฤ. 7 ก.ย. 66 พฤ. 7 ก.ย. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม52 จ. 11 ก.ย. 66 จ. 11 ก.ย. 66 จ. 11 ก.ย. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม53 อ. 12 ก.ย. 66 อ. 12 ก.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. มม
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 2.1 ม. 2/2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเขียน 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 2.1 ม. 2/1 คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 2.1 ม. 2/2 การเขียนบรรยาย 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 2.1 ม. 2/2 การเขียนพรรณนา 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 2.1 ม. 2/3 การเขียนเรียงความ 1 . 2/4 . 2/5 ท 2.1 ม. 2/4 การเขียนย่อความ 1
หน่วยที่ แผน ที่ วัน/เดือน/ปี เวลาที่สอน ชั้นอ. 12 ก.ย. 66 ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ม54 พ. 13 ก.ย. 66 พฤ. 14 ก.ย. 66 พฤ. 14 ก.ย. 66 ๐8.20 - 09.1๕ น. 09.15 - ๑0.05 น. ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. มมม55 จ. 18 ก.ย. 66 จ. 18 ก.ย. 66 จ. 18 ก.ย. 66 ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. มมม56 อ. 19 ก.ย. 66 อ. 19 ก.ย. 66 อ. 19 ก.ย. 66 ๐8.20 - 09.10 น. ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ๑3.50 - ๑4.๔0 น. มมมสอบปลายภาคเรียน
น/ห้อง มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา/ ชั่วโมง หมาย เหตุ . 2/6 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 2.1 ม. 2/5 การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า 1 . 2/5 . 2/4 . 2/6 ท 2.1 ม. 2/5 การเขียนรายงานโครงงาน 1 . 2/4 . 2/5 . 2/6 ท 2.1 ม. 2/1 ม. 2/2 ม. 2/3 ม. 2/4 ม. 2/5 สรุปความรู้เรื่องการเขียน 1 รวม 9 ชั่วโมง น ข้อสอบปรนัย 60 ข้อ 30 คะแนน รวม 60 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 บทเสภาสามัคคีเสวก เวลา 4 ชั่วโมง ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร โรงเรียนท่าบ่อ ชั้นที่สอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๕ วันที่สอน 24 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๔ วันที่สอน 24 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๖ วันที่สอน 24 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. ...................................................................................................................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 5.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคุณค่า และน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ม.๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับยากขึ้น ม.๒/๒ วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรม ท้องถิ่นที่อ่าน พร้อมยกเหตุผล ประกอบ ม.๒/๔ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกข้อคิดที่ได้จากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวกได้(K) ๒. นักเรียนเขียนสรุปเนื้อหาจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวกได้(P) ๓. นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการท ากิจกรรม (A) ๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๔. สาระส าคัญ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ โดยคัดเฉพาะเนื้อความที่กล่าวถึงความสามัคคีในหมู่ราชเสวก ผู้มีความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ มีความซื่อตรง รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และรักษา เกียรติยศของข้าราชการ ๕. สาระการเรียนรู้ 1. บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก
๖. ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. สรุปเนื้อหาจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ขั้นน า ๗.๑.๑ นักเรียนท ากิจกรรม “สามัคคีคือพลัง” เพื่อดึงดูดความสนใจและฝึกความสามัคคีของ นักเรียน ซึ่งมีกติกา ดังนี้ ๑. นักเรียนหนึ่งคนจะนับเลขเพียง ๑ จ านวนเท่านั้น โดยจะนับเรียง ตามแถวที่นั่ง ๒. นักเรียนคนใดที่จะต้องนับเลขที่มีเลข ๕ เป็นส่วนประกอบ เช่น ๕, ๑๕ หรือ ๕๐ เป็นต้น จะต้องไม่ส่งเสียงและใช้การปรบมือแทน ๓. นักเรียนจะต้องช่วยกันนับเลขตั้งแต่ ๑ – ๑๐๐ ให้ส าเร็จ ในกรณีที่มีคน นับผิด หรือท าผิดกติกาจะต้องเริ่มต้นนับ ๑ ใหม่ จนกว่าจะส าเร็จหรือตามความเหมาะสมกับเวลา ๗.๑.๓. นักเรียนฟังครูอธิบายให้เห็นถึงความส าคัญของความสามัคคีในหมู่คณะ จากนั้นครูจึง แจ้งเรื่องที่จะสอนพร้อมกับจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ ๗.๒ ขั้นสอน ๗.๒.๑ นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนวิธีการถอดค าประพันธ์ ๗.๒.๒ นักเรียนท ากิจกรรม “ถอดค าประพันธ์ พวกฉันคู่กับเธอยกก าลัง ๒” เพื่อให้นักเรียน ฝึกถอดค าประค าประพันธ์ ซึ่งมีกติกา ดังนี้ ๑. นักเรียนรับแผ่นการ์ดจากครูผู้สอน โดยก าหนดให้นักเรียนที่ได้แผ่น การ์ดซึ่งมี ค าประพันธ์เป็นบทเดียวกันอยู่กลุ่มเดียวกัน และนักเรียนที่ได้ข้อความซึ่งผ่านการถอดค าประพันธ์แล้ว จ านวน ๙ คน จะถูกแต่งตั้งให้เป็นผู้รู้สามารถเลือกยืนในต าแหน่งที่ต้องการ ได้ทั่วบริเวณห้องเรียน ๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันถอดค าประพันธ์ให้เรียบร้อยจากนั้น จึงออกตามหา ผู้รู้ซึ่งถือการ์ดความหมายค าประพันธ์ตรงกับกลุ่มของตนเอง โดยจะต้องอ่านบทเสภา และความหมาย ตามล าดับ ๓. นักเรียนกลุ่มใดเดินทางไปพบผู้รู้ไม่ตรงกับที่กลุ่มของตนต้องการจะต้อง ฟังผู้รู้ อ่านบทเสภาและความหมายของค าประพันธ์ที่ผู้รู้ถือไว้จนครบถ้วนพร้อมกับการ์ดลบคะแนน ๑ แผ่น แล้วจึงจะสามารถเดินทางไปพบผู้รู้คนต่อไปได้ แต่ถ้านักเรียนกลุ่มใดเดินทางไปพบผู้รู้ตรงกับที่กลุ่ม ของตนต้องการให้ผู้รู้อ่านบทเสภาและความหมายของค าประพันธ์ที่ผู้รู้ถือไว้แล้วจึงช่วย แก้ไขและ ชี้ให้เห็นข้อผิดพลาดของการถอดค าประพันธ์จากนั้นแจกการ์ดบวกคะแนน ๑ แผ่น ๔. ภายในเวลา ๒๐ นาที นักเรียนกลุ่มใดมีคะแนนรวมติดลบน้อยที่สุดถือเป็นผู้ชนะ ในกิจกรรม ๗.๒.๒ นักเรียนอ่านบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก อีกครั้งแล้วจึงช่วยกัน ถอด ค าประพันธ์ทีละบท โดยครูจะเป็นผู้อธิบายเพิ่มเติมและเรียบเรียงสรุปเป็นประเด็นส าคัญให้กับผู้เรียน ๗.๓ ขั้นสรุป ๗.๓.๑. นักเรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปข้อคิดที่ได้จากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก โดยใช้ค าถาม ดังนี้
๑. นักเรียนได้ข้อคิดอะไรจากการศึกษาบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก ๗.๓.๒ นักเรียนเขียนสรุปเนื้อหาจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก ลงในสมุดเป็น การบ้าน 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. Power Point บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก 2. การ์ด 9. กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือใน การวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ๑. นักเรียนบอกข้อคิดที่ได้ จากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวกได้ (K) การตอบค าถาม ค าถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ อ ย่ า ง น้ อ ย ร้ อ ย ละ ๘๐ ๒ . นักเ รียนเขียนส รุป เ นื้ อ ห า จ า ก บ ท เ ส ภ า สามัคคีเสวก ตอน สามัคคี เสวกได้ (P) ตรวจการเขียนสรุป เนื้อหาจากบทเสภา ส า มั ค คี เ ส ว ก ต อ น สามัคคีเสวก แบบประเมินการ เขียน สรุปเนื้อหา นักเรียนผ่านเกณฑ์ อ ย่ า ง น้ อ ย ร้ อ ย ละ ๘๐ ๓ . นั ก เรี ย น มี ค ว า ม กระตือรือร้นในการท า กิจกรรม (A) ประเมินพฤติกรรมใน ชั้นเรียน แ บ บ ป ร ะ เ มิ น พฤติก ร รมในชั้น เรียน นั ก เ รี ย น ผ่ า น ก า ร ประเมินพฤติกรรมใน ชั้นเรียนผ่านเกณฑ์ อ ย่ า ง น้ อ ย ร้ อ ย ละ ๘๐
บันทึกผลหลังการสอน ๑. สรุปผลการเรียนการสอน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .... ๒. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๓. แนวทางแก้ไข/แนวทางการพัฒนา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ .................................................. (นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร) ครูผู้สอน วันที่...........เดือน...............พ.ศ............. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................ .... ลงชื่อ .................................................. (นางสาวศิริพร เถือกค า) ครูพี่เลี้ยง วันที่.........เดือน..................พ.ศ. .........
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 32 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 บทเสภาสามัคคีเสวก เวลา 4 ชั่วโมง ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก เรื่อง วิเคราะห์คุณค่าบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร โรงเรียนท่าบ่อ ชั้นที่สอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/4 วันที่สอน 25 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๐8.20 - 09.10 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/5 วันที่สอน 25 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๖ วันที่สอน 25 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๑3.50 - ๑4.๔0 น. ...................................................................................................................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 5.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคุณค่า และน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ม. ๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน พร้อมยก เหตุผลประกอบ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกคุณค่าจากบทเสภาสามัคคีเสวกได้อย่างถูกต้อง (K) ๒. นักเรียนสามารถสรุปคุณค่าเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวกได้อย่างถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการท างาน (A) ๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๔. สาระส าคัญ บทเสภาสามัคคีเสวก เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา และสามัคคีเสวก บทวิศวกรรมากล่าวถึงความส าคัญของศิลปะ แขนงต่างๆ เพื่อให้ประชาชนตระหนักและอนุรักษ์ศิลปะเหล่านั้นเอาไว้ ส่วนสามัคคีเสวกเน้นย้ าให้เห็น ถึงพลังแห่งความสามัคคี เพื่อเป็นคติเตือนใจข้าราชบริพารให้มีความสามัคคีและมีความจงรักภักดีต่อ พระมหากษัตริย์ ประเทศชาติจึงจะเจริญรุ่งเรือง ๕. สาระการเรียนรู้ 1. เนื้อหาด้านเนื้อหา 2. เนื้อหาด้านสังคม 3. เนื้อหาด้านวรรณศิลป์
๖. ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. แบบฝึกหัด 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้(กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้น) 7.1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนเตรียมความพร้อมในการเรียน โดยการทบทวนเนื้อเรื่องตอนวิศวกรรมา และตอนสามัคคีเสวกที่ได้เรียนในชั่วโมงเรียนที่ผ่าน เพื่อที่จะให้มีความสอดคล้องกับเนื้อหาที่จะใช้ เรียนในชั่วโมงนี้ คือ การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา ด้านวรรณศิลป์และด้านสังคม 7.2 ขั้นระบุค าถาม ๒. หลังจากที่ทบทวนความรู้เดิมในเรื่องคุณค่าด้านเนื้อหาและคุณค่าด้านวรรณศิลป์ แล้ว คุณครูเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาโดยการใช้ค าถามให้นักเรียนช่วยกันคิดค าตอบ หรือสามารถค้นหา ค าตอบได้จากสื่อหรือแหล่งค้นคว้าอื่น ๆ ค าถามคือ - จากการเรียนเนื้อหาตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวกแล้ว นักเรียนมองเห็นอะไรที่ ซ่อนอยู่ในเรื่อง และนักเรียนคิดว่าวรรณคดีเรื่องนี้ ตอนที่นักเรียนได้เรียนไปให้ประโยชน์อะไรแก่ตัว ของนักเรียน 7.3 ขั้นแสวงหาสารสนเทศ ๓. นักเรียนสืบค้นค าตอบจากแหล่งศึกษาค้นคว้าจากหนังสือเรียน เว็บไซต์ต่างๆ หรือการปรึกษาระหว่างเพื่อนในห้องเรียน เพื่อหาข้อมูลมาตอบค าถามที่ครูถาม - จากการเรียนเนื้อหาตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวกแล้ว นักเรียเห็นอะไรที่ซ่อน อยู่ในเรื่อง? และนักเรียนคิดว่าวรรณคดีเรื่องนี้ ตอน ที่นักเรียนได้เรียนไปให้ประโยชน์อะไรแก่ตัวของ นักเรียน (แนวค าตอบ : การใช้ค าศัพท์ที่มีความหลากหลาย ให้ข้อคิดด้านความสามัคคี เป็นต้น) 7.4 ขั้นสร้างความรู้ ๔. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่มเท่าๆ กัน โดยแต่ละกลุ่มจะได้รับ การมอบหมายให้ศึกษาบทวิเคราะห์ของตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก คือ ด้านคุณค่าด้านสังคม ด้านคุณค่าด้านเนื้อหา และคุณค่าด้านวรรณศิลป์โดยนักเรียนศึกษาข้อมูลจากหนังสือเรียน และ ช่วยกันสรุปออกมาเป็นผังความคิดลงในกระดาษที่ได้รับจากคุณครู 7.5 ขั้นสื่อสาร ๕. นักเรียนน าเสนอผังความคิดของกลุ่มตนเอง โดยสุ่มว่ากลุ่มของตนจะได้น าเสนอ ในด้านใด เช่น คุณค่าด้านสังคม คุณค่าด้านเนื้อหา และคุณค่าด้านวรรณศิลป์ นักเรียนน าเสนอผัง ความคิดครบทั้ง 4 กลุ่ม ครูอธิบายเพิ่มเติม
7.6 ขั้นตอบแทนสังคม ๖. เมื่อนักเรียนน าเสนอและเรียนรู้เนื้อหาในด้านการวิเคราะห์ด้านคุณค่าด้านสังคม คุณค่าด้านเนื้อหา และคุณค่าด้านวรรณศิลป์แล้ว ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคิดสถานการณ์ สมมติที่จะน าข้อคิดจากเนื้อหาตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวกไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจ าวัน 7.7 ขั้นสรุป ๗. นักเรียนและคุณครูสรุปความรู้ร่วมกันว่าในชั่วโมงเรียนนี้ ได้รับความรู้ในเรื่อง คุณค่าด้านสังคม คุณค่าด้านเนื้อหา และคุณค่าด้านวรรณศิลป์ได้มากน้อยเพียงใด โดยใช้การตอบ ค าถาม ดังต่อไปนี้ ๑. คุณค่าด้านสังคมกล่าวถึงเรื่องใดบ้าง? (แนวค าตอบ : สะท้อนความงามด้านศิลปะ, สะท้อนความเจริญรุ่งเรืองของ บ้านเมือง, สะท้อนให้เห็นถึงคุณธรรม หน้าที่ และความสามัคคีเป็นต้น) ๒. คุณค่าด้านเนื้อหากล่าวถึงเรื่องใดบ้าง? (แนวค าตอบ : เตือนใจให้เห็นคุณค่าของศิลปกรรมท าให้จิตใจมีความสุข และสะท้อนข้าราชการที่ดีต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างเต็มความสามารถ เป็นต้น) ๓. คุณค่าด้านวรรณศิลป์กล่าวถึงเรื่องใดบ้าง? (แนวค าตอบ : การใช้ภาพพจน์, การหลากค าและการแตกศัพท์ เป็นต้น) หลังจากนั้นครูอธิบายเนื้อหาทั้งหมดในเนื้อหาตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวกอีก ครั้ง และท ากิจกรรมทบทวนความรู้เพื่อเป็นการทบทวน 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒. Power Point เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก 9. กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือในการ วัด เกณฑ์การประเมินผล ๑. นักเรียนสามารถบอก คุณค่าจากบทเสภาสามัคคี เสวกได้อย่างถูกต้อง (K) การตอบค าถาม ของนักเรียน ค าถาม นั ก เ รี ย น ผ่ าน เ ก ณ ฑ์ อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนสามารถสรุป คุณค่าเรื่องบทเสภาสามัคคี เสวกได้อย่างถูกต้อง (P) การท าแบบฝึกหัด ของนักเรียน แบบฝึกหัด นั ก เ รี ย น ผ่ าน เ ก ณ ฑ์ อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ๓.นักเรียนกระตือรือร้นใน การเรียนและท ากิจกรรม ประเมินพฤติกรรม ในชั้นเรียน แ บ บ ป ร ะ เ มิ น พฤติกร รมในชั้น เรียน นั ก เ รี ย น ผ่ า น ก า ร ประเมินพฤติกรรมใน ชั้ น เ รี ย น ผ่ า น เ ก ณฑ์ อย่างน้อยร้อยละ ๘๐
บันทึกผลหลังการสอน ๑. สรุปผลการเรียนการสอน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .... ๒. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๓. แนวทางแก้ไข/แนวทางการพัฒนา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ .................................................. (นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร) ครูผู้สอน วันที่...........เดือน...............พ.ศ............. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................ .... ลงชื่อ .................................................. (นางสาวศิริพร เถือกค า) ครูพี่เลี้ยง วันที่.........เดือน..................พ.ศ. .........
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 33 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง ฉันทลักษณ์ของกลอนสุภาพ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร โรงเรียนท่าบ่อ ชั้นที่สอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๕ วันที่สอน 26 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๐8.20 - 09.10 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๔ วันที่สอน 27 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา 09.15 - ๑0.05 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๖ วันที่สอน 27 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๑3.๕0 - ๑4.๔0 น. ...................................................................................................................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 4.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ม. 2/3 แต่งบทร้อยกรอง ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนเข้าใจฉันทลักษณ์ค าประพันธ์ของกลอน (K) ๒. นักเรียนแต่งค าประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพได้(P) ๓. นักเรียนตระหนักและเห็นความส าคัญและประโยชน์ของการแต่งบทร้อยกรองประเภท กลอนสุภาพ (A) ๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๔. สาระส าคัญ กลอนเป็นค าประพันธ์ประเภทที่เรียบเรียงตามฉันทลักษณ์ มีลักษณะบังคับในด้านคณะและ สัมผัส ค าประพันธ์ประเภทกลอนมีหลายชนิด เมื่อนักเรียนเรียนแล้วจะท าให้สามารถเรียกชื่อกลอน แต่ละชนิดได้ถูกต้องและการศึกษาค าประพันธ์ประเภทกลอนยังเป็นการรักษาวัฒนธรรมทางภาษาให้ คงอยู่ต่อไป ๕. สาระการเรียนรู้ 1. ฉันทลักษณ์ของกลอนสุภาพ ๖. ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. แบบฝึกหัด
7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนอ่านค าประพันธ์ที่ครูก าหนดให้ดังต่อไปนี้ ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูก ต่างพันผูกเพียงว่าเลือดตาไหล สะอื้นร่ าอ าลาด้วยอาลัย แล้วแข็งใจจากนางตามทางมา เหลียวหลังยังเห็นแม่แลเขม้น แม่ก็เห็นลูกน้อยละห้อยหา แต่เหลียวเหลียวเลี้ยวลับวับวิญญาณ์ โอ้เปล่าตาต่างสะอื้นยืนตะลึง (ขุนช้างขุนแผน) ๒. นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับเนื้อความที่ปรากฏในวรรณคดีขุนช้างขุนแผนพอสังเขป ๓. นักเรียนพิจารณาค าประพันธ์ และอารมณ์ที่ปรากฏในค าประพันธ์ข้างต้น ๔. นักเรียนฟังครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ๒. ขั้นสอน ๑. นักเรียนศึกษาหนังสือเรียนวิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เรื่อง ฉันทลักษณ์ของกลอน สุภาพ ๒. ครูซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจบทเรียน และอธิบายความรู้เพิ่มเติมให้แก่นักเรียน ๓. นักเรียนร่วมกันก าหนดหัวข้อและแต่งกลอนสุภาพร่วมกัน ๒ บท ครูคอยเป็นที่ปรึกษา และตรวจสอบความเหมาะสม ๔. นักเรียนท างานในเล่มแบบฝึกหัด ๕. นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด ๓. ขั้นสรุปและประยุกต์ ๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเรื่อง ฉันทลักษณ์ของกลอนสุภาพ ๒. นักเรียนแต่ละคนท างานในเล่มแบบฝึกหัดที่ครูก าหนดให้เป็นการบ้าน แล้วให้น ามาส่งใน คาบถัดไป 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 2. เล่มแบบฝึกหัด
9. กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือใน การวัด เกณฑ์การประเมินผล ๑. นักเรียนเข้าใจฉันทลักษณ์ค า ประพันธ์ของกลอน (K) การตอบค าถาม ของนักเรียน ค าถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์อย่าง น้อยร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนแต่งค าประพันธ์ ประเภทกลอนสุภาพได้(P) การท าแบบฝึกหัด ของนักเรียน แบบฝึกหัด นักเรียนผ่านเกณฑ์อย่าง น้อยร้อยละ ๘๐ ๓. นักเรียนตระหนักและเห็น ความส าคัญและประโยชน์ของ การแต่งบทร้อยกรองประเภท กลอนสุภาพ (A) ประเมินพฤติกรรม ในชั้นเรียน แบบป ร ะเมิน พฤติ ก ร ร มใน ชั้นเรียน นักเรียนผ่านการประเมิน พฤติกรรมในชั้นเรียนผ่าน เ ก ณ ฑ์ อ ย่ า ง น้ อ ย ร้ อ ย ละ ๘๐
บันทึกผลหลังการสอน ๑. สรุปผลการเรียนการสอน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .... ๒. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๓. แนวทางแก้ไข/แนวทางการพัฒนา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ .................................................. (นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร) ครูผู้สอน วันที่...........เดือน...............พ.ศ............. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................ .... ลงชื่อ .................................................. (นางสาวศิริพร เถือกค า) ครูพี่เลี้ยง วันที่.........เดือน..................พ.ศ. .........
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง การเรียกชื่อกลอน เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร โรงเรียนท่าบ่อ ชั้นที่สอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๕ วันที่สอน 31 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๐๙.๑๕ - ๑๐.๐๕ น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๔ วันที่สอน 31 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๑๒.๐๐ - ๑๒.๕๐ น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๖ วันที่สอน 31 กรกฎาคม ๒๕๖6 เวลา ๑๔.๔๕ - ๑๕.3๕ น. ...................................................................................................................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 4.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ม. 2/3 แต่งบทร้อยกรอง ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนเข้าใจฉันทลักษณ์ค าประพันธ์ของกลอนประเภทต่างๆ (K) ๒. นักเรียนเรียกชื่อบทประพันธ์ประเภทกลอนต่างๆ ได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนเห็นความส าคัญของบทร้อยกรองประเภทต่างๆ (A) ๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๔. สาระส าคัญ กลอนเป็นค าประพันธ์ประเภทที่เรียบเรียงตามฉันทลักษณ์ มีลักษณะบังคับในด้านคณะและ สัมผัส ค าประพันธ์ประเภทกลอนมีหลายชนิด เมื่อนักเรียนเรียนแล้วจะท าให้สามารถเรียกชื่อกลอน แต่ละชนิดได้ถูกต้องและการศึกษาค าประพันธ์ประเภทกลอนยังเป็นการรักษาวัฒนธรรมทางภาษาให้ คงอยู่ต่อไป ๕. สาระการเรียนรู้ 1. การเรียกชื่อกลอน ๖. ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. การตอบค าถามจากกิจกรรม
7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7.1ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนทบทวนความรู้เรื่อง ฉันทลักษณ์ของกลอนสุภาพ จากที่เรียนไปในคาบที่แล้ว 2. นักเรียนฟังครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 7.2 ขั้นสอน ๑. นักเรียนศึกษาหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เรื่อง การเรียกชื่อกลอน ๒. ครูซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจบทเรียน และอธิบายความรู้เพิ่มเติมให้แก่นักเรียน ๓. นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น ๕ กลุ่มเท่าๆ กันเพื่อท ากิจกรรม โดยครูจะก าหนดหมายเลขและ เรื่องที่ต้องศึกษา จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เรื่อง การเรียกชื่อกลอน หมายเลข ๑ : กลอนสักวา หมายเลข ๒ : กลอนดอกสร้อย หมายเลข ๓ : กลอนบทละคร หมายเลข ๔ : กลอนนิราศ หมายเลข ๕ : กลอนเสภา ๔. เมื่อสมาชิกในกลุ่มศึกษาตามหัวข้อที่ก าหนดแล้ว ให้น าความรู้มาถ่ายทอดแก่เพื่อน สมาชิกในห้องด้วยการน าเสนอ ๕. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มหาตัวอย่างค าประพันธ์ กลอนสักวา กลอนดอกสร้อย กลอนบท ละคร กลอนนิราศ และกลอนเสภา อย่างละ ๑ ตัวอย่าง จากหนังสือหรืออินเทอร์เน็ต 6. นักเรียนท ากิจกรรม “รู้ไหม ฉันชื่ออะไร” โดยดูตัวอย่างค าประพันธ์ที่ครูยกตัวอย่าง มาแล้วตอบค าถามว่าเป็นกลอนประเภทใด โดยการเขียนชื่อค าตอบที่ถูกต้องลงในสมุด 7. นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยกิจกรรม 7.3 ขั้นสรุป ๑. นักเรียนและครูสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเรื่อง การเรียกชื่อกลอน ๒. นักเรียนส่งสมุดเพื่อเช็กคะแนนจากการตอบค าถามในกิจกรรม 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒. กิจกรรม “รู้ไหม ฉันชื่ออะไร”
9. กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือใน การวัด เกณฑ์การประเมินผล ๑ . นั ก เ รี ย น เ ข้ า ใ จ ฉันทลักษณ์ค าประพันธ์ของ กลอนประเภทต่างๆ (K) การตอบค าถาม ของนักเรียน ค าถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์อย่างน้อย ร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนเรียกชื่อบท ประพันธ์ประเภทกลอนต่างๆ ได้ถูกต้อง (P) การตอบค าถาม ของนักเรียนในสมุด สมุด นักเรียนผ่านเกณฑ์อย่างน้อย ร้อยละ ๘๐ ๓. นักเรียนเห็นความส าคัญ ของบทร้อยกรองประเภท ต่างๆ (A) ประเมินพฤติกรรม ในชั้นเรียน แบบป ร ะเมิน พฤติ ก ร ร มใน ชั้นเรียน นักเรียนผ่านการประเมิน พฤติกรรมในชั้นเรียนผ่าน เ ก ณ ฑ์ อ ย่ า ง น้ อ ย ร้ อ ย ละ ๘๐
บันทึกผลหลังการสอน ๑. สรุปผลการเรียนการสอน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .... ๒. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๓. แนวทางแก้ไข/แนวทางการพัฒนา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .... ลงชื่อ .................................................. (นางสาวกิติมาพร วงค์โพธิ์สาร) ครูผู้สอน วันที่...........เดือน...............พ.ศ............. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................ .... ลงชื่อ .................................................. (นางสาวศิริพร เถือกค า) ครูพี่เลี้ยง วันที่.........เดือน..................พ.ศ. .........