The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chayuda1309, 2022-10-12 03:54:08

ข้อสอบ Take Home 108

ข้อสอบ Take Home 108

ข้อสอบ TAKE HOME
วชิ าการจดั การความร้เู พ่อื การพัฒนาสงั คม

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

จัดทำโดย
นางสาวชยดุ า จงอ่อนกลาง
รหสั นกั ศกึ ษา 6240308108

เสนอ
ผศ.ดร. กนกพร ฉมิ พลี

รายงานนเี้ ปน็ ส่วนหน่ึงของรายวิชาวิชาการจดั การความร้เู พอื่ การพัฒนาสงั คม
รหัสวิชา 219331

สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาสังคม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

คำนำ
ข้อสอบ Take Home จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนนักศึกษาปีที่ 4 วิชาการจัดการความรู้
เพื่อการพัฒนาสังคม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความชำนาญในทักษะการคิด
กระบวนการเกิดความรู้ การให้เหตุผล ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ สังเคราะห์กระบวนการเกิดความรู้ของตนเองเสริม
ความรู้ความเข้าใจและกระตุ้นให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนในรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ
พัฒนาตนเอง นำความรทู้ างวิชาการจัดการความรเู้ พ่อื การพฒั นาสงั คมไปพฒั นาชีวิต ซง่ึ สอดคล้องกับหลกั สตู รและ
รายวิชา
ข้อสอบ Take Home น้ีข้าพเจ้าได้คิดหาคำตอบและรูปรูปแบบตัวอย่างต่าง ๆ ต่อคำถามทั้ง 4 ข้อ และ
ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อสอบ Take Home เล่มนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อการสอบของข้าพเจ้าและสามารถ
นำไปใช้ในการเรยี นการสอนตอ่ ผู้เรียนคนอน่ื ๆ ตอ่ ไป

นางสาวชยุดา จงออ่ นกลาง
ผู้จัดทำ

สารบัญ

หน้า

คำนำ ก

สารบญั ข

กระบวนการเกิดความรพู้ รอ้ มยกตวั อย่างประกอบเพอ่ื สงั เคราะห์กระบวนการ

เกดิ ความรูข้ องตนเอง

- กระบวนการเกดิ ความรปู้ ระกอบด้วย 1-2

- ตัวอยา่ งกระบวนการเกดิ ความรู้ 2-3

กระบวนการสรา้ งความรู้ หรือ SECI Model มลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร

- กระบวนการสร้างความรู้ หรอื SECI Model 3-4

- แนวทางการสร้างความรู้ 4

- ตวั อย่างการสรา้ งความรู้ 5-6

วเิ คราะห์กระบวนการจดั การความรู้

- วิเคราะห์กระบวนการจัดการความรู้ 6-7

จงอธิบายแนวทางการจดั การความรเู้ พอ่ื การพฒั นา บณั ฑติ สาขาวชิ าการพัฒนาสังคม

- แนวทางการจดั การความรู้เพือ่ การพฒั นา 7

- ยกตัวอย่างแนวทางการ/แนวทางเปน็ อยา่ งไรท่จี ะสง่ ผลให้ บณั ฑิต 7-8

สาขาวิชาการพัฒนาสงั คมเป็นบัณฑิตท่ีมีคณุ ภาพ

บรรณานกุ รม 9

ข้อสอบ Take Home
วชิ าการจัดการความรู้เพือ่ การพัฒนาสังคม

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

1. จงอธิบายกระบวนการเกิดความรู้พร้อมยกตัวอย่างประกอบเพื่อสังเคราะห์กระบวนการเกิด ความรู้ของ
ตนเอง อยา่ งละเอียด
ตอบ กระบวนการเกิดความรู้ประกอบดว้ ย

- ข้อมูล (Data) ข้อเท็จจริงต่างๆ เป็นข้อมูลดิบที่ไม่ผ่านการแปลความหรือตีความ เช่น ภาพ เสียง
ตัวเลข สญั ลกั ษณ์อักษร

- สารสนเทศ (Information) ข้อมลู ทีผ่ า่ นกระบวนการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เป็นขอ้ มูลทว่ี ดั ไดจ้ บั ต้องได้
เช่น วดิ โี อ วารสาร หนังสอื ตา่ งๆ

- ความรู้ (Knowledge) สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เชื่อมโยงกับความรู้อื่น ๆ จนเกิดความเป็น
ความเขา้ ใจ (Understand)

ตามแนว กพร.มี 7 กจิ กรรม ดงั นี้
1) การบ่งชี้ความรู้ คือ การระบุประเด็นความรู้ รูปแบบ และผู้รู้ที่สอดรับกับนโยบาย ขอบเขตและ
เป้าหมายขององคก์ ร
2) การสร้างและแสวงหาความรู้ คือ การรวบรวมความรู้ใหม่ รักษาความรู้เดิม และกรองความรู้ที่ไม่ใช้
ออกจากแหล่งรวบรวม
3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ คือ การวิเคราะห์และคัดแยกความรู้เป็นกลุ่มประเด็นให้ง่ายต่อการเข้าถงึ
อยา่ งมขี ้ันตอน
4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ คือ การปรับปรุงให้ความรู้มีรูปแบบมาตรฐาน ไม่ซ้ำซ้อน มีความ
สมบูรณ์ มคี วามถกู ต้องและนา่ เชอื่ ถือ
5) การเข้าถึงความรู้ คอื การสร้างแหล่งเผยแพร่ที่สามารถเข้าถึงได้ทกุ ทที่ กุ เวลา
6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ คือ การนำความรู้เข้าสู่เวทีแลกเปลี่ยนที่มีฐานความรู้หรือฐานข้อมูล
รองรับให้ง่ายตอ่ การเข้าถึงและสบื คน้
7) การเรียนรู้ คือ การใช้ความรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เป็นวงจรความรู้ที่มีการเรียนรู้และพัฒนาให้เกิด
ประสบการณใ์ หม่อย่เู สมอ

แบบที่ 2 ตามแนว ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
มี 6 กิจกรรม ดงั นี้

1) การกำหนดความร้หู ลกั ทจ่ี ำเป็นตอ่ งานหรอื กิจกรรมขององค์กร
2) การเสาะหาความรทู้ ่ตี ้องการ
3) การปรับปรุง ดดั แปลง หรอื สร้างความรูบ้ างสว่ น ใหเ้ หมาะต่อการใชง้ าน
4) การประยุกตใ์ ช้ความรู้ในกจิ การงานของตน
5) การนำประสบการณ์จากการใช้ความรมู้ าแลกเปลี่ยนเรียนรูม้ าบนั ทกึ ไว้
6) การจดบันทึก ขุมความรู้ แก่นความรู้ สำหรบั ไว้ใช้งาน
แบบท่ี 3 ตามแนว ดร.ณพศิษฏ์ จกั รพทิ ักษ์
มี 6 กจิ กรรม ดังนี้
1) การตรวจสอบและระบุหวั ขอ้ ความรู้
2) การสร้างกรอบแนวคิดในการบรหิ าร
3) การวิเคราะห์และสงั เคราะห์ความรู้
4) การสร้างระบบสารสนเทศในการจดั การความรู้
5) การจดั กจิ กรรมในการจัดการความรู้
6) การวัดประเมินผลการจัดการความรู้
ยกตัวอย่าง เช่น เขียนสรุปสาระสำคญั สง่ิ ทเ่ี รยี นเปน็ แผนผงั ความคดิ แบบเห็นภาพ Visual Thinking และถ่ายทอด
ใหเ้ พอื่ นเขา้ ใจแบบเหน็ ภาพรว่ มกัน
ภาพประกอบ ดงั น้ี

2. กระบวนการสร้างความรู้ หรือ SECI Model มีลักษณะเป็นอย่างไร และท่านมีแนวทางการสร้าง ความรู้
จาก Model ดังกล่าวได้อย่างไรบ้าง
ตอบ มีลกั ษณะ ดงั นี้

SECI Model - เป็นการสร้างองค์ความรู้ด้วยการขยายผลจากชนิดความรู้คือ ความรู้ที่อยู่ในสมองของคน
(Tacit Knowledge) กับความรู้ที่ได้จากสื่อภายนอก(Explicit Knowledge)โมเดลดังกล่าวมีชื่อว่า “SECI-
Knowledge Conversion Process” ซง่ึ มีกระบวนการดงั น้ี

1. Socialization เป็นการถ่ายโอนความรู้โดยตรงระหว่างกลุ่มคนหรือบุคคล โดยไม่ผ่านการเขียน
เรียกว่า “ การเสวนาธรรม” กลุ่มคนที่มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่ง กลุ่ม
คนที่มาเสวนาแลกเปล่ียนความรู้กันนี้มักจะมีพื้นฐานความรู้ที่สอดคล้องกัน หรือเคยมีประวัติอดีตท่ี
คลา้ ยคลงึ กนั จะมีคลน่ื ความถี่ท่ใี กลเ้ คียงกันสามารถสื่อสารและทำความเข้าใจกนั ได้โดยงา่ ย

2. Externalization เป็นการถ่ายโอนความรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่มีความสามารถในการสอนผ่านสื่อต่างๆ
จากประสบการณใ์ นสมองของเขาออกมาสภู่ ายนอกแก่ผู้อื่น

3. Combination การเรียนรู้สิ่งใหม่ๆให้ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง และมีการศึกษาเรียนรู้จาก
ความรู้ภายนอก ซึ่งแนวคิดจะมีความหลากหลายมากต้องสร้างความเข้าใจแลเชื่อมโยงความรู้อัน
หลากหลายใหไ้ ด้ และถ่ายทอดความรู้ใหม่ๆให้กับองค์กรของตน

4. Internalization การนำความรู้ใหม่มาลงมือปฏิบัติจริง ผู้ปฏิบัติจะเกิดการเรียนรู้ให้เกิดเป็นความรู้
ประสบการณ์และปญั ญา เปน็ ประสบการณอ์ ยู่ในสมองในเชงิ Tacit Knowledge ตอ่ ไป

- การสร้างปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Socialization) การสร้างความรู้แบบฝังลึก เช่น ฝึกอบรม หรือการ
แนะนำ สงั เกต การลอกเลยี นแบบ

- การปรับเปลี่ยนสู่ภายนอก (Externalization) การพูดหรือบรรยายความรู้แบบฝังลึกให้เป็นความรู้ชัด
แจง้ โดยการใชอ้ ุปมาอุปมยั การเปรียบเทยี บ และการใชต้ วั แบบ

- การผสมผสาน (Combination) การรวบรวมความรู้ชัดแจ้งให้เป็นความรู้ที่ขยายวงกว้างออกไป เช่น
การสนทนา การประชมุ เป็นต้น

- การปรับเปลี่ยนสู่ภายใน (Internalization) การสร้างความรู้แบบชัดแจ้งให้เป็นความรู้แบบฝังลึก โดย
การเรียนรู้จากการปฏิบัตจิ ากคู่มือ เอกสาร
แนวทางการสร้างความรจู้ าก SECI Model

1. ส่วนของ Socialization (S) ได้ประยุกต์โดยการสร้างระบบกระดานสนทนาเพื่อเป็นที่แลกเปลี่ยน
ความรูร้ ะหวา่ งผู้เชยี่ วชาญกับบคุ คลทั่วไป

2. ส่วนของ Externalization (E) เป็นส่วนของการรวบรวมเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการสร้าง
ระบบจัดเก็บงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสุนัข และการจัดทำระบบฐานข้อมูลที่ผู้เชี่ยวชาญสามารถเข้ามาทำ
การเพิ่มหรอื แกไ้ ขข้อมูลได้

3. ส่วนของ Combination(C) เป็นการสร้างระบบการวิเคราะห์ข้อมูลโรคจากอาการของสุนัขและการ
แสดงรายละเอียดของโรคที่วเิ คราะหไ์ ด้

4. ส่วนของ Internalization (I) เป็นส่วนที่ใช้ในการวัดสถิติการเข้าใช้งานของผู้ใช้งานโดยทั่วไป เช่น การ
วัดจำนวนครั้งในการดาวน์โหลดงานวิจัย, การวัดสถิติการเข้าชมวีดีโอที่เกี่ยวข้องและการเก็บสถิติชื่อโรคที่ผู้ใช้เข้า
มาทำการค้นหา เป็นตน้

หรือ การเรียนในห้องเรียน จดบันทึกและนำมาอ่านทำความเข้า หรือการดูสื่อจากภายนอกและภายใน
การเรียนการสอน หนังสือวารสารต่างๆ แล้วนำมาแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนๆ และคนอื่นๆ หรือจะนำความรู้ท่ี
ไดม้ ามาลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง เพอ่ื ท่ีให้จะเกดิ การเรยี นรู้ ความรู้ และมีประสบการณ์ในชวี ิตจรงิ

ยกตัวอย่างพร้อมภาพประกอบ ดังน้ี
โมเดลปลาทู เป็นโมเดลอยา่ งง่าย ท่เี ปรยี บการจดั การความรู้เหมอื นกับปลาทูตัวหน่งึ ที่มี3ส่วน

1.ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนทีเ่ ปน็ เปา้ หมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของ
การจัดการความรู้ โดยกอ่ นท่จี ะทำจดั การความรู้ ตอ้ งตอบใหไ้ ดว้ า่ “เราจะทำ KM ไปเพอื่ อะไร ?” โดย “ หวั ปลา”
นี้จะต้องเป็นของ “ คุณกิจ” หรือ ผู้ดำเนินกิจกรรม KM ทั้งหมด โดยมี “ คุณเอื้อ” และ “ คุณอำนวย” คอย
ช่วยเหลือ

2. ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วน
สำคัญ ซึ่ง “คุณอำนวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ “ คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้

โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “ คุณกิจ”พร้อมอำนวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้เกิด
การหมนุ เวยี นความรู้ ยกระดับความรู้ และเกดิ นวัตกรรม

3.ส่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นสว่ นของ “คลังความรู้” หรอื “ขุมความร”ู้ ที่ได้จาก
การเก็บสะสม “เกร็ดความรู้” ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “หาง
ปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรู้ที่เด่นชัด นำไปเผยแพร่ และ
แลกเปล่ียนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดบั ต่อไป

3. จงวิเคราะห์กระบวนการจัดการความรู้ โดยอธิบายว่าแตกต่างระหว่างกระบวนการจัดการความรู้ ที่

ประยุกต์ใช้ในภาคองค์กร และกระบวนการจัดการความรใู้ นชมุ ชน อยา่ งละเอยี ด

ตอบ “การจัดการความรู้” สำหรับนักปฏิบัติ การจัดการความรู้คือ เครอ่ื งมือ เพ่ือการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4

ประการไปพรอ้ มๆ กัน ได้แก่

1. บรรลเุ ปา้ หมายของงาน

2. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน

3. บรรลุเป้าหมายการพฒั นาองค์กรไปเป็นองค์กรเรยี นรู้ และ

4. บรรลคุ วามเป็นชมุ ชน เปน็ หม่คู ณะ ความเอ้ืออาทรระหวา่ งกนั ในที่ทำงาน

ต้ังเป้าหมายการจดั การความรเู้ พื่อพฒั นา

งาน พฒั นางาน คน พฒั นาคน องค์กร เป็นองคก์ รการเรยี น

ชุมชนแห่งการเรียนรู้: Community of Practice หมายถึง ชุมชนนักปฏิบัติ หรือชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่

รวบรวมกลุ่มคนที่มีความรู้ ความสนใจในเรื่องเดียวกัน มาร่วมแลกเปลี่ยน แบ่งปัน เรียนรู้ในเรื่องนั้นๆ ร่วมกัน

ประเภทของ COP

• Helping Communities เพอื่ แกไ้ ขปัญหาประจำวันและแลกเปล่ียนแนวคดิ ในกลุ่มสมาชกิ

• Best Practice Communities เนน้ การพฒั นา ตรวจสอบและเผยแพร่แนวปฏบิ ตั ิทเี่ ปน็ เลิศ

• Knowledge-Stewarding Communities เพื่อจัดระเบียบ ยกระดับ และพัฒนาความรู้ที่สมาชิกใช้เป็น

ประจำ

• Innovation Communities เพื่อพัฒนาแนวคิด โดยเน้นการขา้ มขอบเขต เพื่อผสมผสานสมาชิกท่ีมุมมอง

ตา่ งกัน

ใจของการจัดการความรู้ คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นำมารวบรวม และประมวลอย่างเป็นระบบ ในการจัดการ

ความรู้ คนเปน็ องค์ประกอบที่สำคญั ท่สี ุด

- “องค์กร” การกล่าวถึง องค์กร ในที่นี้หมายถึง สถาบันการศึกษา (มหาวิทยาลัย ฯลฯ) องค์กรภาครัฐ
(กระทรวง กรม ฯลฯ) องคก์ รภาคเอกชน (กลุม่ บรษิ ทั บรษิ ทั หา้ ง ฯลฯ) และองค์กรภาคประชาสังคม
(มูลนิธิ เครือข่าย กลุ่ม ฯลฯ) ส่วนคำว่า ความรู้นั้น หมายถึง ความรู้ที่ใช้ในการทำงานภายในองค์กร
เหล่านั้น ดังนั้น ผู้ใดทำงานในองค์กรใดไม่ว่าจะเป็นผู้ปฏิบัติงานหรือผู้บริหารก็ต้องมีส่วนในการ
จัดการความรู้ อาจจะอยู่ในฐานะที่เป็นเครื่องมือ หรือ “ตัวช่วย” ให้สามารถทำงานได้มากขึ้นและดี
ขึ้นโดยการสร้างความมั่นใจ สะดวก ง่าย รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งผลที่ตามมาคือ องค์กรอยู่รอดและ
เตบิ โตอยา่ งย่งั ยืนในสถานการณ์ที่มกี ารแขง่ ขันสูงอย่างในปัจจบุ ัน

- การจัดความรู้บนฐานทุนชมุ ชน โดยเฉพาะภูมิ ปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ความสามารถที่ได้รบั การสงั่
สมถ่ายทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึง ปัจจุบัน มีการนำความรู้และประสบการณ์ของตนเองมา
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ไม่ว่าจะภูมิปัญญาด้านอาชีพ ด้าน
การรักษาโรค ภูมิปัญญาด้านศิลปกรรม ด้านภาษาและวรรณกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นต้น
ซึ่งภูมิปัญญาเหล่านี้ ส่วนใหญ่มักจะเป็น ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) ซึ่งมาจากการ
ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น การบันทึกไว้ในคู่มือ หรือ จากการเรียนรู้ศึกษา นั่นเอง การจัดการความรู้บน
ฐานทุนชุมชนที่มีประสิทธิภาพนั้น จะสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้ดีขึน้ เช่น การ
ใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิมในการทอผ้า ลวดลายที่เป็น เอกลักษณ์ประจำถิ่น ให้ออกมาสวยสดงดงาม ตอบ
โจทย์กลุ่มผู้บริโภค ดังนั้น การจัดการความรู้บนฐานทุนชุมชนที่ดี จะเป็นการช่วยยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของพ่ี น้องประชาชนให้ดีขึ้นอย่างแน่นอน การจัดการความรู้ของชุมชน จึงเป็นการรวบรวมองค์
ความรขู้ องชุมชน เปน็ คลงั แหง่ ความรแู้ ละคลังแหง่ ปญั ญา ในการท่จี ะน าไปถ่ายทอดแกผ่ ู้คนในชุมชน
และนอกชุมชน เป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างความยั่งยืน ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ชุมชน และ
ประเทศชาตติ อ่ ไป

4. ในฐานะที่ท่านเป็นนักพัฒนานักสังคม จงอธิบายแนวทางการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนา บัณฑิต
สาขาวิชาการพัฒนาสังคม ในอนาคต ว่าควรมีรูปแบบ/แนวทางเป็นอย่างไรที่จะส่งผลให้ บัณฑิตสาขาวิชา
การพัฒนาสงั คม เปน็ บัณฑิตทีม่ ีคุณภาพ
ตอบ ควรจัดการเรียนการสอนและมีการจดสรุปสาระสำคัญเพื่อที่จะได้นำมาสังเคราะห์รู้หรือทำเป็นผังภาพ
Visual Thinking เพื่อความเข้าใจ มีรูปแบบการสอนสื่อดิจิตอลประกอบการสอนอาจจะมีนันทนาการก่อนเรียน
เพื่อกระตุ้นนักศึกษาให้มีการอยากเรียนมากยิ่งขึ้น มีการแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันมีการคิดเชิงวิเคราะห์ และมี
การเรียนนอกสถานท่เี พื่อสร้างบรรยากาศการเรียนที่ดี สามารถประมวลความรู้ในดา้ นตา่ ง ๆ เพือ่ นำมาประยุกตใ์ ช้
ในการปฏิบัติการเรียนได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมกับสถานการณ์รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้
ความสามารถสร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปล่ียนทัศนาคติของนักศกึ ษาใหเ้ ป็นบคุ คลที่มีประสิทธภิ าพและมีการเรยี นรู้
ร่วมกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติงานในอนาคตของนักศึกษาให้สอดคล้องกับส่วนของรายวิชาหรือการ
ออกไปฝึกประสบการณ์ในชีวิตจริง การบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่งสามารถกำหนดเป็นแผนปฏิบัติให้
นกั ศึกษาปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ยกตัวอย่าง การจดั การความรู้ ภเู ขาน้ำแข็งแห่งความรู้
สว่ นทอี่ ยเู่ หนอื น้ำ สามารถสงั เกตเหน็ ได้งา่ ย

1. ทักษะ (Skills) หมายถึง สิ่งที่บุคคลรู้และสามารถทำได้เป็นอย่างดี เช่น ทักษะการอ่าน ทักษะการฟงั
ทกั ษะในการขับรถ เปน็ ต้น

2. ความรู้ (Knowledge) หมายถึง สิ่งที่บุคคลรู้และเข้าใจในหลักการ แนวคิดเฉพาะด้าน เช่น มีความรู้
ดา้ นบญั ชี มคี วามรดู้ ้านการตลาด การเมือง เป็นต้น
ส่วนท่ีอยใู่ ตน้ ำ้ สงั เกตเหน็ ได้ยาก

3. บทบาททางสังคม (Social Role) หมายถึง สิ่งที่บุคคลต้องการสื่อให้บุคคลอื่นในสังคมเห็นว่าตัวเขามี
บทบาทอยา่ งไรตอ่ สังคม เชน่ ชอบชว่ ยเหลือผูอ้ ่ืน เปน็ ตน้

4. ภาพพจน์ที่รับรู้ตัวเอง (Self Image) หมายถึง ภาพพจน์ที่บุคคลสมองตัวเองว่าเป็นอย่างไร เช่น เป็น
ผู้นำ เปน็ ผู้เช่ยี วชาญ เป็นศิลปิน เปน็ ตน้

5. อุปนิสัย (Traits) หมายถึง ลักษณะนิสัยใจคอของบุคคลที่เป็นพฤติกรรมถาวร เช่น เป็นนักกีฬาที่ดี
เป็นคนใจเย็น เปน็ คนออ่ นนอ้ มถ่อมตน เป็นต้น

6. แรงกระตุ้น (Motive) หมายถึง พลังขับเคลื่อนที่เกิดจากภายในจิตใจของบุคคล ที่จะส่งผลกระทบต่อ
การกระทำ เช่น เป็นคนที่มีความต้องการผลสำเร็จ การกระทำสิ่งต่างๆ จึงออกมาในลักษณะของการมุ่งไปสู่
ความสำเรจ็ ตลอดเวลา

บรรณานกุ รม

ดรักเกอร์ ปเี ตอร์ เอฟ. การจัดการความรู้. (2556) พิมพ์คร้ังที่ 2. แปลโดย ณัฐยา สินตระการผล. กรงุ เทพฯ:
เอก็ ซเปอรเ์ นท็ ,

บญุ ดี บญุ ญากจิ และคณะ. การจัดการความรู้ จากทฤษฎีส่กู ารปฏบิ ัติ. (2549) กรงุ เทพฯ : จิรวฒั น์ เอก็ เพรส
จำกัด, ความสำคัญของ KM วนั ท่ี 12 ตลุ าคม 2565

ประพนธ์ ผาสุขยืด, "การจดั การความรู้ ฉบบั ขับเคลือ่ น" (2550) สำนักพมิ พ์ใยไหม, กรุงเทพฯ, สบื คน้ เมือ่
วันท่ี 12 ตุลาคม 2565 http://www.thaiall.com/km/indexo.html

พรธดิ า วิเชียรปัญญา. การจดั การความรู้ : พื้นฐานและการประยุกตใ์ ช้. (2547) กรงุ เทพฯ : เอ็กซเปอรเ์ นต็ ,
โลกของการทำงาน

พรรณี สวนเพลง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และนวัตกรรมสำหรับการจัดการความร.ู้ (2552) กรงุ เทพฯ:
ซีเอด็ ยเู คชั่น, สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 12 ตุลาคม 2565
https://mynurdeefaa1.blogspot.com/p/blogpage_28.html

เกศรา รักชาต,ิ "องค์กรแห่งการตน่ื รู้ : Awakening Organization", (2549) บรษิ ทั ซเี อ็ดยูเคช่นั จำกัด, กรุงเทพฯ
เทคโนโลยสี ำหรับการบริหารจดั การความรู้ นรู ดฟี า สามะ วชิ าเทคโนโลยีสำหรับการบรหิ ารจดั การความรู้

วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษายะลา ปกี ารศึกษา 2562
โมเดลปลาทู (Tuna Model ) ประพนธ์ ผาสขุ ยดื (2547) สบื คน้ เม่อื วันที่ 12 ตลุ าคม 2565

https://mynurdeefaa1.blogspot.com/p/seci-model.html


Click to View FlipBook Version