รายงานผลการพัฒนางานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2566) โดย นางสาววิลาสินี แทนทวี ตําแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ พิเศษ /2566 วันที่ 15 กันยายน 2566 เรื่อง แบบสรุปผลการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA) เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ ด้วยข้าพเจ้า นางสาววิลาสินี แทนทวีตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ ปฏิบัติ หน้าที่สอนรายวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ซึ่งตามมติ ก.ค.ศ. ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินตำแหน่ง และวิทยฐานะข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู ตามหลักเกณฑ์ของสำนักงาน ก.ค.ศ. หนังสือราชการที่ ศธ 0206.3/ว9 เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 เพื่อให้การประเมินเป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการดังกล่าว ข้าพเจ้าจึงได้จัดทำแบบสรุปผลการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA) สำหรับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ประจำปีงบประมาณ 2566 ซึ่งเป็นแบบสรุปผลการ ประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA) ระหว่าง นางสาววิลาสินี แทนทวีตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ และนายสมเจตน์ ไชยเมือง ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดทำเอกสารแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ตามรายละเอียด ดังแนบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และพิจารณา ( นางสาววิลาสินี แทนทวี) ตำแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชำนาญการ ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ ❑ เห็นควร ❑ ไม่เห็นควร เพราะ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. (นายสมเจตน์ ไชยเมือง) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ
แบบรายงานผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชำนาญการ (ทุกสังกัด) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2566 ผู้จัดทำข้อตกลง ชื่อ นางสาววิลาสินี นามสกุล แทนทวี ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ สถานศึกษา โรงเรียนฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช รับเงินเดือนในอันดับ คศ.2 อัตราเงินเดือน 26,260 บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้(สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัดการเรียนรู้จริง) ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน ห้องเรียนปฐมวัย ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ห้องเรียนสายวิชาชีพ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าได้แสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ซึ่งเป็น ตำแหน่งและวิทยฐานะที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา บัดนี้การพัฒนางานตามข้อตกลง สำหรับ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว จึงขอรายงานผลการปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ข้าพเจ้ามีภาระงาน เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ไม่เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 17 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ (ค23102) จำนวน 7 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์ รายวิชาคณิตศาสตร์ (ค31102) จำนวน 3 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์ รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 (ค31202) จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์ รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.3 (ค23202) จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์ ลูกเสือ – เนตรนารี, ชุมนุม, ประชุมนักเรียน/หน้าที่พลเมือง จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ รวมจำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ สร้าง/พัฒนาหลักสูตร จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ออกแบบหน่วยและเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ สร้างสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ จัดทำเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รวมจำนวน 3 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์ ผู้ช่วยฝ่ายบริหารงานบุคคล จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น รวมจำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ โครงการเสริมสร้างสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมการบริหารงานบุคคล จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาบุคลากร จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ รวมชั่วโมงภาระงานทั้งหมด 29 ชั่วโมง 10 นาที/สัปดาห์ เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด (ชั่วโมงสอนตามตารางสอนไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวนชั่วโมงภาระงานขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง/สัปดาห์) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ข้าพเจ้ามีภาระงาน เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ไม่เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์(ค23101) จำนวน 5 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ รายวิชาคณิตศาสตร์ (ค31101) จำนวน 5 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 (ค31201) จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์ รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.3 (ค23201) จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์ ลูกเสือ – เนตรนารี, ชุมนุม, ประชุมนักเรียน/หน้าที่พลเมือง จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ รวมจำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ สร้าง/พัฒนาหลักสูตร จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ออกแบบหน่วยและเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ สร้างสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ จัดทำเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รวมจำนวน 3 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์ ผู้ช่วยฝ่ายบริหารงานบุคคล จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น รวมจำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ โครงการเสริมสร้างสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมการบริหารงานบุคคล จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาบุคลากร จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ รวมชั่วโมงภาระงานทั้งหมด 28 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์ เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด (ชั่วโมงสอนตามตารางสอนไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง/สัปดาห์จำนวนชั่วโมงภาระงานขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง/สัปดาห์)
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู ข้าพเจ้า นางสาววิลาสินี แทนทวีครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ได้รับมอบหมตำแหน่งครู และมีภาระสอนเป็นไปตาม กคศ.กำหนด มีการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ โดยแสดงให้เห็นว่าเน้นผู้เรียนเป็และประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง เพื่อแก้ไขปัญหาให้คุณภาพการจัดการเรียนรู้พัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อคุณภาพผู้เรียน ดังต่อลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการสร้าง และหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัดการ เรียนรู้การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้การสร้างและหรือ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้การวัดและ ประเมินผลการจัดการ เรียนรู้การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้การ จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตรรายวิชาและ หน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ตาม หลักสูตร บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และ ท้องถิ่นเพื่อแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะ และการ เรียนรู้เต็มตามศักยภาพ จัดทำแผนการ จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษาและผู้เรียน นำแผนการจัดการ เรียนรู้ไปใช้ในการปฏิบัติการสอนจริง ดังนี้ - วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ผลสัมฤทธิ์ทางรายวิชาคณิตศ(ค31102) มีเฉลี่ยร้อยละ 6ตามค่าเป้าหมสถานศึกษากำ
มายปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบ และลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐาน มาตรฐานวิทยฐานะ มีความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงานด้านการจัดการ ป็นสำคัญ มีกระบวนการคิด ค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง สร้างแรงบันดาลใจ วัด รู้สูงขึ้น พัฒนาตนเอง พัฒนาวิชาชีพ นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการ อไปนี้ dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน งการเรียน ศาสตร์ คะแนน 60 เป็นไป ายที่ ำหนด -หลักสูตรสถานศึกษา/ หลักสูตรกลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ - โครงสร้าง/ออกแบบ หน่วยการเรียนรู้ - ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์(ค31102) - ผู้เรียนได้รับการจัดการ เรียนรู้ตามหลักสูตรและ มีความรู้ตามมาตรฐาน และตัวชี้วัด ได้รับการ พัฒนาคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ การอ่าน การ เขียน คิดวิเคราะห์ สมรรถนะ สำคัญของ ผู้เรียน - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์ (ค31102) สูงขึ้นมีคะแนนเฉลี่ย 85.96 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อตและพัฒนาผู้เรียน และ การอบรมและพัฒนา คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน - จัดทำคำอธิบายรายวิชาที่ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ที่กำหนดไว้ในผลการเรียนรู้ - กำหนดหน่วยการเรียนรู้ - กำหนดเวลาเรียนของแต่ละหน่วยการ เรียนรู้ - จัดลำดับหน่วยการเรียนรู้ - จัดทำโครงสร้างรายวิชา เพื่อแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนรู้ ทำให้ ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้เต็ม ตามศักยภาพ ส่งผลให้คุณภาพการจัดการ เรียนรู้สูงขึ้น 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ สามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนา คุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น โดยใช้ รูปแบบ Active learning ร่วมกับเทคนิคการ สอนแบบโค้ชในรายวิชาคณิตศาสตร์ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพการ จัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะคุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญตาม หลักสูตร มีกระบวนการคิดและค้นพบ - ผลสัมฤทธิ์ทารายวิชาคณิตศ(ค31102) มีเฉลี่ยร้อยละ 6ตามค่าเป้าหมสถานศึกษากำ
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน างการเรียน ศาสตร์ คะแนน 60 เป็นไป ายที่ ำหนด - หลักสูตรสถานศึกษา/ หลักสูตรกลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ - โครงสร้าง/ออกแบบ หน่วยการเรียนรู้ - ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์(ค31102) - ผู้เรียนได้รับการจัดการ เรียนรู้ตามหลักสูตรและ มีความรู้ตามมาตรฐาน และตัวชี้วัด ได้รับการ พัฒนาคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ การอ่าน การเขียน คิดวิเคราะห์ สมรรถนะ สำคัญของ ผู้เรียน - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์(ค31102) (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อตองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสร้างแรง บันดาลใจโดยจัดการออกแบบจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 1. กำหนดเป้าหมายของหน่วย (มาตรฐาน และตัวชี้วัด) 2. กำหนดสาระสำคัญของหน่วย 3. กำหนดสาระการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ 4. กำหนดชิ้นงานหรือภาระงาน ตลอดจน กำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน 5. กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนา คุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น เพื่อให้ ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ สมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร มีกระบวนการคิดและค้นพบองค์ความรู้ด้วย ตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน สูงขึ้นมีคะแนนเฉลี่ย 85.96
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถแก้ไข ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนได้ พัฒนาเต็มตามศักยภาพเรียนรู้และทำงาน ร่วมกัน มีกระบวนการคิดและค้นพบองค์ ความรู้ด้วยตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ โดยศึกษา แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอน วิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการสอน แบบ Active Learning ร่วมกับเทคนิคการ สอนแบบโค้ช สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. นำรูปแบบการสอนที่สร้างขึ้นไปให้ ผู้เชี่ยวชาญประเมินความสอดคล้องของ รูปแบบการสอนกับวัตถุประสงค์ในการสร้าง 2. นำรูปแบบการสอนที่สร้างขึ้นไปให้ ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ 3. นำไปสู่การใช้ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบการสอน แบบ Active Learning ร่วมกับเทคนิคการ สอนแบบโค้ช ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพเรียนรู้และทำงานร่วมกัน มี กระบวนการคิด และค้นพบองค์ความรู้ด้วย ตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ - ผู้เรียนร้อยละมีทักษะการทำงและแลกเปลี่ยนรวมถึงมีแรงบันการเรียนรู้ - ผู้เรียนร้อยละมีทักษะกระบวการแก้ปัญหา แสรุปองค์ความรู้ได้ - ผลสัมฤทธิ์ทารายวิชาคณิตศมีคะแนนเฉลี่ย60 เป็นไปตามเป้าหมายที่สถกำหนด
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ะ 75 งานร่วมกัน นเรียนรู้ นดาลใจใน ะ 65 นการคิด และสามารถ รู้ด้วยตนเอง างการเรียน ศาสตร์ ยร้อยละ มค่า านศึกษา - แผนการจัดการ เรียนรู้ - สื่อ นวัตกรรม (ใบงาน/แบบฝึก ทักษะ/ผลงาน นักเรียน) - ผู้เรียนร้อยละ 80 มีทักษะการทำงาน ร่วมกัน และแลกเปลี่ยน เรียนรู้รวมถึงมีแรง บันดาลใจในการเรียนรู้ - ผู้เรียนร้อยละ 70 มีทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหา และ สามารถสรุปองค์ความรู้ ด้วยตนเองได้ - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์ (ค31102) สูงขึ้นมีคะแนนเฉลี่ย 85.96 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ สร้างสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่ง เรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถแก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและสามารถ สร้างนวัตกรรมได้ดังนี้รูปแบบการสอน เชิงรุก Active Learning แหล่งเรียนรู้ ภายใน ภายนอก - จัดทำสื่อที่ส่งเสริมพัฒนานักเรียนโดยใช้ เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ เรียนรู้ - พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้สะอาด มีสื่อ ประกอบการศึกษาป้ายนิเทศและพร้อม ให้บริการ - นักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน ได้แก่อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์Google site - ผู้เรียนร้อยละมีทักษะการทำงและแลกเปลี่ยนรวมถึงมีแรงบันการเรียนรู้ - ผู้เรียนร้อยละมีทักษะกระบวการแก้ปัญหา แสรุปองค์ความรู้ได้ - ผลสัมฤทธิ์ทารายวิชาคณิตศมีคะแนนเฉลี่ย60 เป็นไปตามเป้าหมายที่สถกำหนด
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ะ 75 งานร่วมกัน นเรียนรู้ นดาลใจใน ะ 65 นการคิด และสามารถ รู้ด้วยตนเอง างการเรียน ศาสตร์ ยร้อยละ มค่า านศึกษา - แผนการจัดการ เรียนรู้ - สื่อ นวัตกรรม (ใบงาน/แบบฝึก ทักษะ/ผลงาน นักเรียน) - ผู้เรียนร้อยละ 80 มี ทักษะการทำงานร่วมกัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมถึงมีแรงบันดาลใจใน การเรียนรู้ - ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหา และ สามารถสรุปองค์ความรู้ ด้วยตนเองได้ - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์(ค31102) สูงขึ้นมีคะแนนเฉลี่ย 85.96 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ รูปแบบการวัด และประเมินผลการ เรียนรู้ตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ และนำผลการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ มาใช้แก้ไข ปัญหาการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน พัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เป็น แบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับ ผู้อื่น ในการวัดและประเมินผลการเรียน -สร้างรูปแบบการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับผู้เรียน วัดและประเมินผลตามสภาพจริง นำผล การวัดมาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยกำหนด ชิ้นงาน /ภาระงาน เครื่องมือการวัด เกณฑ์การประเมิน โดยดำเนินการ ดังนี้ - ออกแบบการวัดและประเมินผลโดย กำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับ ปลายปี 70 : 30 กำหนดน้ำหนักคะแนน ระหว่างเรียนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ - ผลสัมฤทธิ์ทารายวิชาคณิตศค31102 มีคร้อยละ 60 เป็ค่าเป้าหมายที่ศึกษากำหนด
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน างการเรียน ศาสตร์ ะแนนเฉลี่ย ป็นไปตาม สถาน - แบบทดสอบ, แบบ วัดและประเมินผลการ จัดการเรียนรู้ - ใบงาน/แบบฝึก ทักษะ/ผลงานนักเรียน - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์(ค31102) สูงขึ้นมีค่าเฉลี่ยคะแนน เท่ากับ 85.96 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อตกำหนดชิ้นงาน/ภาระงาน กำหนดวิธีการ เครื่องมือและเกณฑ์การประเมินในแต่ละ หน่วย ดังนี้ - ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงาน - วิธีการวัด ตรวจใบงาน/ แบบทดสอบ - เครื่องมือวัด แบบทดสอบ - เกณฑ์การประเมิน Rubrics 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อ แก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อแก้ไข ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ คุณภาพผู้เรียน และนำผลการศึกษาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ มาใช้แก้ไขปัญหา หรือพัฒนา คุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น ดังนี้ -ศึกษาสภาพปัญหา วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียนจากทุกหน่วยการ เรียนรู้ในรายวิชาคณิตศาสตร์ ค31102 ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖2 – ๒๕๖4 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนใน หน่วยที่ 1 เรื่องเลขยกกำลัง มีค่าเฉลี่ย - ผลสัมฤทธิ์ทารายวิชาคณิตศค31102 มีคร้อยละ 60 เป็ค่าเป้าหมายที่ศึกษากำหนด - ผลสัมฤทธิ์ทาของผู้เรียนหน่เรื่อง เลขยกกำมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 57.89
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน างการเรียน ศาสตร์ ะแนนเฉลี่ย ป็นไปตาม สถาน างการเรียน วยที่ 1 ำลัง ยสูงกว่า 9 - แบบวิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคล - วิจัยในชั้นเรียน - ใบงาน/แบบฝึก ทักษะ/ผลงานนักเรียน - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาคณิตศาสตร์ (ค31102) มีค่าเฉลี่ย คะแนนเท่ากับ 85.96 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนหน่วยที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 71.40 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อตร้อยละ 57.89 ซึ่งเป็นหน่วยที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ำสุดและมาเป็นจุดพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ โดย - กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จเป็นเชิง ปริมาณ และเชิงคุณภาพ - ศึกษา รูปแบบ และเทคนิคการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ รูปแบบการสอนเชิงรุก -ออกแบบหน่วยการเรียนรู้และเขียนแผนการ จัดการเรียนรู้ - สร้างสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี - ออกแบบการวัดและประเมินผล - นำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้จัดกิจกรรม การเรียนรู้ในชั้นเรียน - สรุปผลการจัดการเรียนรู้ - เปรียบเทียบผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัด ความสำเร็จที่กำหนดไว้ - เขียนรายงานผลการพัฒนา 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียน จัดบรรยากาศที่เหมาะสมกับวัยของ นักเรียน เช่น มีการจัดบรรยากาศที่เป็น กันเอง นักเรียนรู้สึกสนุก เร้าใจ และช่วย กระตุ้นให้นักเรียนต้องการมีส่วนร่วมกับ - ผู้เรียนร้อยละเกิดทักษะกระบและมีทักษะกานวัตกรรม
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ะ 65 บวนการคิด รเรียนรู้และ - แบบวิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคล (SDQ) - วิจัยในชั้นเรียน - ใบงาน/แบบฝึก ทักษะ/ผลงานนักเรียน - ผู้เรียนร้อยละ 70 เกิดทักษะกระบวนการคิด และมีทักษะการเรียนรู้และ นวัตกรรม (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อตกิจกรรม ส่งเสริมนักเรียนทุกคนให้มีโอกาส นำเสนอความคิดเห็น และออกมานำเสนอ หน้าชั้นเรียนเป็นประจำ สร้างแรงบันดาล ใจในการเรียน และเชื่อมโยงภาษากับ ชีวิตประจำวัน เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าใน การเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์และประโยชน์ ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ตลอดจนมีเทคนิค การสอนแบบเชิงรุก กระบวนการเรียนการ สอนในห้องเรียนเป็นทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ ฝึกแก้โจทย์ปัญหา และประยุกต์ ใช้จริง การใช้สื่อ เทคโนโลยี เพื่อช่วยลดระยะเวลา ในการเรียนรู้/ทำให้บทเรียนง่ายขึ้น ส่งเสริม คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน คือ ความรับผิดชอบในการส่งภาระงาน และ มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ในการทำงาน ใน รายวิชาคณิตศาสตร์ ตลอดจนส่งเสริมให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน - ผู้เรียนร้อยลมีทักษะชีวิต ทัทำงาน และทักสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยี
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ะ 80 ทักษะการ กษะด้าน อและ - ผู้เรียนร้อยละ 80 มีทักษะชีวิต ทักษะการ ทำงาน และทักษะด้าน สารสนเทศ สื่อและ เทคโนโลยี (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ ผู้เรียน - อบรมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ คือ ด้านใฝ่เรียนรู้ และมีวินัย โดยใช้ รูปแบบการสอดแทรกในกิจกรรมการเรียน การสอน วัดโดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม - จัดกิจกรรมสอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - อบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนดโดย ดำเนินการ - สอดแทรกในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา - อบรมหน้าเสาธงหลังเคารพธงชาติ - อบรมในการประชุมระดับเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ - ผู้เรียนร้อยลมีลักษณะใฝ่เรีระดับดีเยี่ยม - ผู้เรียนร้อยลมีวินัย อยู่ในระ
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ะ 80 รยนรู้ อยู่ใน ะ 80 ะดับดีเยี่ยม - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - ใบงาน/แบบฝึก ทักษะ/ผลงานนักเรียน - ผู้เรียนร้อยละ 80 มีลักษณะใฝ่เรียนรู้ อยู่ใน ระดับดีเยี่ยม - ผู้เรียนร้อยละ 80 มีวินัย อยู่ในระดับดีเยี่ยม (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต2. ด้านการส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการ เรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการจัดทำ ข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา การ ดำเนินการตามระบบ ดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน การ ปฏิบัติงานวิชาการ และ งานอื่น ๆ ของสถานศึกษา และการประสานความ ร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี เครือข่าย และหรือสถาน ประกอบการ 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและ รายวิชา จัดทำ ข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและ รายวิชา ให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการ ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดังนี้ 1. ข้อมูลผู้เรียน ทำการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล ดังนี้ - ด้านความรู้ ศึกษาผู้เรียนรายบุคคลและ แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 4 กลุ่ม - ความพร้อมด้านสติปัญญา - ความพร้อมด้านพฤติกรรม - ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ - ความพร้อมด้านสังคม ในรายวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้ Google Form, Microsoft Excel, Microsoft Word ในการจัดเก็บข้อมูล สะท้อนกลับ ให้ผู้เรียน ได้ร่วมตรวจสอบข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ 2. ข้อมูลรายวิชา - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 - 2564 - ทักษะทางด้านภาษาของผู้เรียน - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การอ่าน การเขียน คิดวิเคราะห์ - ผู้เรียนมีผลสัทางการเรียนรคณิตศาสตร์(คสูงขึ้น - ผู้เรียนทุกคนคุณลักษณะอันประสงค์อยู่ในขึ้นไป - ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถอ่าน การเขียนวิเคราะห์อยู่ในขึ้นไป
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน สัมฤทธิ์ รายวิชา ค31102) นมี นพึง นระดับดี น ถในการ น การคิด นระดับดี - แบบบันทึกผลการ จัดการเรียนรู้, ปพ.5 - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - ใบงาน/แบบฝึก ทักษะ/ผลงานนักเรียน - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์ (ค31102) สูงขึ้น - ผู้เรียนทุกคน มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ อยู่ในระดับดี ขึ้นไป - ผู้เรียนทุกคน มีความสามารถในการ อ่าน การเขียน การคิด วิเคราะห์อยู่ในระดับดี ขึ้นไป (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน รายบุคคล และประสานความร่วมมือกับผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา และแก้ไขปัญหา ผู้เรียน และริเริ่มโครงการหรือจัดกิจกรรม เชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายในการ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ใช้ข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลที่ได้มาจากการ วิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม SDQ และ แบบการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล ดังนี้ - ข้อมูลทางสถานะของครอบครัว - ข้อมูลทางเศรษฐกิจ - ข้อมูลเกี่ยวกับสารเสพติดและอบายมุข - ข้อมูลการมาโรงเรียน - ข้อมูลการเจ็บป่วยและโรคประจำตัว - ข้อมูลด้านการเรียน ประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนี้ - ผู้ปกครอง - ผู้นำชุมชน - คณะกรรมการสถานศึกษา - หน่วยงานราชการ และเอกชนเพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน - ผู้เรียนที่มีปัญร้อยละ 5 - ผู้เรียนที่มีกลุลดลง ร้อยละ - ผู้เรียนกลุ่มปการพัฒนา ร้อ
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ญหาลดลง ลุ่มเสี่ยง 5 ปกติได้รับ อยละ 80 - เอกสารการวิเคราะห์ ผู้เรียนรายบุคคล - เอกสารการเยี่ยมบ้าน นักเรียน - ผู้เรียนที่มีปัญหาลดลง ร้อยละ 8.9 - ผู้เรียนที่มีกลุ่มเสี่ยง ลดลง ร้อยละ 8.9 - ผู้เรียนกลุ่มปกติได้รับ การพัฒนา ร้อยละ 82.5 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการพัฒนา รูปแบบหรือแนวทางการดำเนินงานให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น ดังนี้ ๑. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O NET) ระดับชั้นม.3, ม.6 ๒. การนำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน ทักษะทางวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการ จัดการศึกษาของสถานศึกษา - ร้อยละ 80 ขวิชาการที่ได้รับได้ดำเนินการสวัตถุประสงค์ 2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี เครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อ ร่วมกันแก้ไขปัญหา และพัฒนาผู้เรียน - ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ดังนี้ 1. เบอร์โทรศัพท์ และกลุ่มไลน์ของ ผู้ปกครอง 2. เครือข่ายผู้ปกครองของห้องที่เป็นที่ ปรึกษา 3. สร้างกลุ่มไลน์นักเรียนที่เป็นครูที่ปรึกษา - ผู้เรียนร้อยลได้รับแก้ไขปัญเรียนโดยความระหว่างครู กับ- ผู้เรียนร้อยลคุณลักษณะอันประสงค์อยู่ในดีเยี่ยม
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ของงาน บมอบหมาย สำเร็จตาม - รายงานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน - รูปถ่ายการมาศึกษาดู งานจากหน่วยงานอื่น - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น - ผู้มาศึกษาดูงานมีความ พึงพอใจต่อการมาศึกษา ดูงาน ร้อยละ 93.27 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก ะ 80 ญหาทางการ มร่วมมือ บผู้ปกครอง ะ 80 มี นพึง ระดับ - ช่องทางการ ติดต่อสื่อสารกับ ผู้ปกครอง - แบบรายงานกิจกรรม ประชุมผู้ปกครอง - แบบรายงาน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบรายงานการ ประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน - ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับแก้ไขปัญหาทางการ เรียนโดยความร่วมมือ ระหว่างครู กับผู้ปกครอง - ผู้เรียนร้อยละ 80 มี คุณลักษณะอันพึง ประสงค์อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต4. ประชาสัมพันธ์ทางเว็บและเพจโรงเรียน ฉลองรัฐราษฎร์อุทิศ - ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และสถานประกอบการ ดังนี้ 1. ทางโทรศัพท์ 2. หนังสือราชการ 3. กลุ่มไลน์เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและ พัฒนาผู้เรียน 3. ด้านการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการพัฒนา ตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมใน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง วิชาชีพเพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้และการนำ ความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนา ตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน การพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ การศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและความ รอบรู้ในเนื้อหาวิชา และวิธีการสอน โดยการ พัฒนาตนเองโดยศึกษาเรียนรู้ผ่านระบบ ออนไลน์ การเข้ารับการอบรม สัมมนา เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะตาม สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ใน เนื้อหาวิชา และวิธีการสอน เพื่อใช้ในการ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน - มีการพัฒนาตทักษะภาษาไทภาษาอังกฤษเพสื่อสาร การใช้ดิจิทัล - สามารถนำกตนเอง มาพัฒเรียนรู้ของผู้เรี
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ที่คาดหวังมาก ตนเองด้าน ทย พื่อการ ช้เทคโนโลยี การพัฒนา นาการ ยน - เกียรติบัตรหรือคำสั่ง ในการพัฒนาตนเอง ทางวิชาชีพ - ภาพการแนะนำ การ พัฒนาผู้เรียนให้เกิด การเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ - มีการพัฒนาทักษะด้าน ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง - ผู้เรียนเกิดทักษะการ สื่อสาร การใช้เทคโนโลยี รู้เท่าทันสื่อระดับดีขึ้นไป (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อตผู้เรียน และการพัฒนา นวัตกรรมการจัดการ เรียนรู้ 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาและ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ นำผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง วิชาชีพมาใช้ เพื่อแก้ไขปัญหา และสร้างหรือ ปรับเปลี่ยนนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้เพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพสูงขึ้น เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษา กับผู้อื่นได้ โดยการเข้าร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพกับเพื่อนครู (PLC) เพื่อ แก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน 1. นำประเด็นที่เป็นปัญหา ที่เกิดจากการจัด กิจกรรมการเรียนรู้มาประชุมแลกเปลี่ยนใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. วิเคราะห์ปัญหาพร้อมเลือกปัญหาที่จะ นำมาในการแก้ปัญหา 3. หาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน 4. นำแนวทางการแก้ไขปัญหานั้นสู่การจัด กิจกรรมการการเรียนรู้ 5. เยี่ยมชั้นเรียน 6. สะท้อนในระดับชั้นเรียน - ผู้เรียนร้อยลได้รับแก้ไขปัญเรียนรู้ - ผู้เรียนมีผลสัทางการเรียนรคณิตศาสตร์(คมีคะแนนเฉลี่ย60
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน ะ 80 ญหาทางการ สัมฤทธิ์ รายวิชา ค31102) ยร้อยละ - บันทึกข้อความการ จัดตั้งกลุ่ม PLC - แบบรายงานการเข้า ร่วมการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) - คำสั่งมอบหมายงาน ตามโครงสร้างการ บริหารงานโรงเรียน - ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับแก้ไขปัญหาทางการ เรียนรู้ - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่อง เซต มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 71.40 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน ตัวชี้วัด (Indที่กำหนดในกตามข้อต 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้ จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ - การเข้าร่วมการอบรม/การประชุมรูปแบบ ต่าง ๆ ทั้งแบบ Online และแบบเข้าร่วม อบรม ที่สามารถนำความรู้มาพัฒนาการจัด การศึกษาให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงใน สถานการณ์ปัจจุบัน - การทำกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพกับกลุ่มสาระอื่น ๆ เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละ ชั้นที่รับผิดชอบ - ผู้เรียนมีผลสัทางการเรียนรคณิตศาสตร์(คมีคะแนนเฉลี่ย60
dicators) การพัฒนา ตกลง ร่องรอยหลักฐานของ ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด ร้อยละของผลลัพธ์/ ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ตนเองตามข้อตกลง ในการพัฒนางาน สัมฤทธิ์ รายวิชา ค31102) ยร้อยละ -วิจัยในชั้นเรียน - สื่อ นวัตกรรม (ใบงาน/แบบฝึก ทักษะ/ผลงาน นักเรียน) - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์(ค31102) ) มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 85.96 (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ไขปัญหาทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับเทคนิคการสอนแบบโค้ช 1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และและคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน จากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖2 - ๒๕๖4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ดังปรากฏในตารางที่ ๑ ตารางที่ ๑ แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖2 – ๒๕๖4 ชื่อหน่วย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ค่าเฉลี่ยร้อยละ) ปีการศึกษา ค่าเฉลี่ยร้อยละ ๒๕๖2 ปีการศึกษา ๒๕๖3 ปีการศึกษา ๒๕๖4 เลขยกกำลัง 58.70 58.56 58.42 58.56 ฟังก์ชัน 66.76 66.72 66.74 66.74 จากตารางที่ ๑ แสดงให้เห็นว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖2 - ๒๕๖4 ในรายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง เลขยกกำลัง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำสุด มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 58.56 จึงนำเรื่องเลขยกกำลัง มากำหนดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์ของผู้เรียน
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง วิธีการดำเนินการ ให้บรรลุผล พิจารณาจากการ ดำเนินการที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นไปตาม ระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ข้อตกลง และสะท้อนให้ เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่ คาดหวังตามตำแหน่ง และวิทยฐานะ ๒.๑ นำปัญหาการจัดการเรียนรู้เรื่อง เลขยก กำลัง เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพคณิตศาสตร์ ๒.๒ ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับการสร้างและพัฒนา สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ การจัดการ เรียนการสอนเลขยกกำลัง ทฤษฎีเกี่ยวการสอน แบบโค้ช ๒.๓ สร้างพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการจัดการเรียนรู้เรื่องเลขยกกำลัง ๒.๔ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้และเขียน แผนการจัดการเรียนรู้ ๒.๕ ออกแบบและสร้างเครื่องมือวัดและ ประเมินผล ๒.๖ นำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ๒.๗ ดำเนินการวัดและประเมินผล ๒.๘ สรุปผล ๒.๙ เขียนรายงานผลการดำเนินงาน - ผู้เรียนชั้นมัมีคะแนนเฉลีร้อยละ 71.4
ผลการดำเนินการ ร่องรอยหลักฐาน ผลการประเมิน ตนเอง มัธยมศึกษาปีที่ 4 ทั้งหมด 57 คน ลี่ยเรื่องเลขยกกำลัง คิดเป็น 40 - แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 เรื่อง เลขยกกำลัง - ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรายวิชา คณิตศาสตร์ (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง วิธีการดำเนินการ ให้บรรลุผล 3.1 เชิงปริมาณ พิจารณาจากการบรรลุ เป้าหมายเชิงปริมาณได้ ครบถ้วนตามข้อตกลง และมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ 3.1.๑ นำปัญหาการจัดการเรียนรู้เรื่อง เลขยก กำลัง เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพคณิตศาสตร์ 3.1.๒ ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับการสร้างและพัฒนา สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ การจัดการ เรียนการสอนเลขยกกำลัง ทฤษฎีเกี่ยวการสอน แบบโค้ช 3.1.๓ สร้างพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการจัดการเรียนรู้เรื่องเลขยกกำลัง 3.1.๔ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้และเขียน แผนการจัดการเรียนรู้ 3.1.๕ ออกแบบและสร้างเครื่องมือวัดและ ประเมินผล 3.1.๖ นำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ เรียนรู้ไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน 3.1.๗ ดำเนินการวัดและประเมินผล 3.1.๘ สรุปผล 3.1.๙ เขียนรายงานผลการดำเนินงาน - ผู้เรียนชั้นมัคน มีคะแนนร้อยละ 71.4
ผลการดำเนินการ ร่องรอยหลักฐาน ผลการประเมิน ตนเอง มัธยมศึกษาปีที่ 4 ทั้งหมด 57 นเฉลี่ยเรื่องเลขยกกำลัง คิดเป็น 40 - แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 เรื่อง เลขยกกำลัง - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์ (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง วิธีการดำเนินการ ให้บรรลุผล 3.2 เชิงคุณภาพ พิจารณาจากการบรรลุ เป้าหมายเชิงคุณภาพได้ ครบถ้วน ถูกต้อง เชื่อถือ ได้ และปรากฏผลต่อ คุณภาพผู้เรียนได้ตาม ข้อตกลง 3.2.1 จัดกิจกรรมการสอนโดยการแบ่งกลุ่ม ผู้เรียน ศึกษาเนื้อหาเรื่อง เลขยกกำลัง การสื่อสารนำเสนอ ออกมาในรูปแบบสื่อที่ น่าสนใจ เช่น Canva PowerPoint เป็นต้น ทำแผ่นพับสรุปองค์ความรู้ สร้างแบบทดสอบวัด ความรู้เพื่อนในห้อง 3.2.2 นำเสนองาน เลขยกกำลัง 3.2.3 วัดผลการเรียนรู้โดยการทำแบบทดสอบ 3.2.4 ครูประเมินผลการนำเสนอของผู้เรียน แต่ละกลุ่ม - ผู้เรียนระดัโรงเรียนฉลอคน มีทักษะผลงาน ร้อยล ลงชื่อ......................................... ( นางสาววิลาสินี แท ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำ ผู้รายงานข้อตกลงในการพั วันที่ 15 เดือนกันยายน พความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................... ( นายสมเจตน์ ไชย ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนฉล วันที่ 15 เดือนกันยายน พ
ผลการดำเนินการ ร่องรอยหลักฐาน ผลการประเมิน ตนเอง ดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 องรัฐราษฎร์อุทิศ จำนวน 57 ะกระบวนการคิดในการนำเสนอ ละ 71.40 - การนำเสนอของผู้เรียน - ผลแบบสังเกต - ผลการเรียนรู้ (4) ปฏิบัติได้ สูงกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (3) ปฏิบัติได้ ตามระดับฯ ที่คาดหวัง (2) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวัง (1) ปฏิบัติได้ ต่ำกว่าระดับฯ ที่คาดหวังมาก ..................... ทนทวี) ำนาญการ พัฒนางาน พ.ศ.2566 .......................................... ........................................................... ....................................... .................... ยเมือง ) ลองรัฐราษฎร์อุทิศ พ.ศ.2566
ภาคผนวก
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง 1. ภาระงาน 2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ 3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้