The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การอบรมให้ความรู้เรื่อง ความปลอดภัยในการสัญจรบนท้องถนน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ice_brownie, 2021-11-24 04:23:13

การอบรมให้ความรู้เรื่อง ความปลอดภัยในการสัญจรบนท้องถนน

การอบรมให้ความรู้เรื่อง ความปลอดภัยในการสัญจรบนท้องถนน

ความปลอดภัยในการสัญจรบนท้องถนน

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

หัวข้อการให้ความรู้ในวนั นี้ สถานการณ์ความปลอดภยั ทางถนนในประเทศไทย
5 เทคนิคการมอง “ขณะขบั รถ” ช่วยลดอุบตั เิ หตุ
©KEMET Corporation. All Rights Reserved. การระงับอารมณ์บนท้องถนน ไม่ให้เกดิ ความรุนแรง
วธิ ีการรับมือกบั สถานการณ์ฉุกเฉินบนท้องถนน

กฎหมาย หรือ กฎระเบยี บทผี่ ู้ขบั ขค่ี วรรู้

สถานการณ์ความปลอดภยั ทางถนนในประเทศไทย

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

สถานการณค์ วามปลอดภัยทางถนนในประเทศไทย

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

สถานการณค์ วามปลอดภัยทางถนนในประเทศไทย

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

สถานการณค์ วามปลอดภัยทางถนนในประเทศไทย

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

สถานการณค์ วามปลอดภัยทางถนนในประเทศไทย

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

5 เทคนิคการมอง “ขณะขบั รถ” ช่วยลดอบุ ัตเิ หตุ

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

เทคนิคการขบั รถปลอดภัยเชิงป้องกนั อุบตั เิ หตุ 5 เทคนิคการมอง “ขณะขับรถ”

ข้อท่ี 1 การมองไกล

ขอ้ ที่ 2 หมนั่ มองกระจกมองหลัง

ขอ้ ท่ี 3 การตง้ั มมุ กระจกมองขา้ งใหถ้ ูกต้อง

ขอ้ ท่ี 4 อ่านเกม

ขอ้ ที่ 5 หนั หน้าดว้ ย ไม่ใช่แค่เหลอื บมอง

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

เทคนิคการขับรถปลอดภัยเชิงป้องกนั อุบัตเิ หตุ 5 เทคนิคการมอง “ขณะขับรถ”

ข้อที่ 1 การมองไกล การมองไกลไปข้างหนา้ 15 วนิ าที หรือ 30 วนิ าที
มองไกลและเห็นใกล้ มองใกลจ้ ะเหน็ ไกล

แม้ว่าคุณกาลังขบั รถตามคนั หน้าอยู่ แต่เทคนิคการขบั รถทป่ี ลอดภยั คอื
คุณควรมองข้ามคนั หน้าแล้วมองคนั ทอี่ ยถู่ ัดไปด้วย เพราะกระแสการจราจร

มักจะมคี วามสัมพนั ธก์ ัน เช่น ถ้าคนั ทอี่ ยถู่ ดั ไปข้างหน้าเบรค คันทอี่ ยู่
ข้างหน้าเรายอ่ มเบรคตาม เพราะฉะนั้น เพยี งแค่คุณคอยสังเกต หากไฟเบรค
คนั ถดั ไปสวา่ งขนึ้ เม่ือไหร่ คุณกเ็ ตรียมแตะเบรคได้เลย นอกจากจะปลอดภยั
แล้ว ยังชว่ ยใหค้ ุณเป็ นคนขบั รถน่ิมนวลลด ปัญหาการเบรกหวั ทมิ่ และการ

ถกู ชนทา้ ยเพราะคนั หลังเบรกไม่ทันดว้ ยนะคะ

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

เทคนิคการขบั รถปลอดภยั เชิงป้องกนั อุบตั เิ หตุ 5 เทคนิคการมอง “ขณะขับรถ”

ข้อท่ี 2 หมัน่ มองกระจกมองหลงั

การทเี่ ราหม่ันมองกระจกมองหลังถอื วา่ มคี วามสาคญั มาก
เพราะในบางครั้งหากมีรถขบั มาจากด้านหลังดว้ ยความเร็วแล้วเปลี่ยนเลน

แซงกะทันหนั กท็ าให้เรามองไม่เหน็ ถา้ จังหวะนั้นเราเปลีย่ นเลนพอดี
กอ็ าจจะเกดิ อุบตั เิ หตุได้ !!!!

ขอ้ แนะนาคอื ควรฝึ กกรอกสายตามองมาทก่ี ระจกมองหลังทุกๆ
5-10 วนิ าที ฝึ กจนเป็ นนิสัย เพอ่ื จะได้รู้สึกม่ันใจและทศั นวสิ ัย

ในการขบั รถของคุณดขี นึ้ นะคะ

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

เทคนิคการขับรถปลอดภยั เชิงป้องกนั อุบัตเิ หตุ 5 เทคนิคการมอง “ขณะขับรถ”

ข้อที่ 3 การตงั้ มมุ กระจกมองขา้ งให้ถกู ต้อง

การมองขา้ งก็สาคญั ไม่ตา่ งไปจากมองกระจกหลัง ต้องหดั มองทุกๆ 5-10
วนิ าที ขอ้ แนะนาคอื ใหต้ ัง้ มุมกระจกดา้ นในมองเหน็ แค่ “เฉียด” ตวั ถังรถ
อย่าตงั้ เหน็ ทัง้ บานประตู เพราะมากเกินความจาเป็ น ขณะเดยี วกันจะทาให้
มุมกระจกรอบนอกครอบคลุมเตม็ 1 เลน ถงึ 1 เลนคร่ึง เพอ่ื ป้องกันมุมอบั
สายตาให้มากทสี่ ุด เช่นกรณีตา่ งคนต่างเปลย่ี นช่องทาง รถเราอยู่เลนซ้าย
จะเปล่ียนไปเลนกลาง ขณะทอี่ กี คนั อยู่เลนขวา จะเปล่ียนมาเลนกลางเชน่ กัน
ถ้าตัง้ กระจกไม่ดอี าจเกิดอุบตั เิ หตุได้ ส่วนมุมด้านล่างตงั้ ให้เหน็ “เฉียด”

ของขอบฟุตบาต เพราะเวลาถอยรถจะได้ไม่เบยี ดนะคะ

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

เทคนิคการขับรถปลอดภยั เชิงป้องกนั อุบตั เิ หตุ 5 เทคนิคการมอง “ขณะขับรถ”

ขอ้ ที่ 4 อา่ นเกม

ถอื เป็ นประสบการณก์ ารขบั รถของแตล่ ะคน ทต่ี ้องคอยดูจังหวะของรถบน
ทอ้ งถนน เช่นถ้าคุณขบั อยู่เลนซ้าย แล้วเหน็ รถทก่ี าลังจะออกจากซอย
ดา้ นหน้าถดั ไปอกี 50 เมตร คุณควรจะอ่านเกมให้ออกว่าคนั ขา้ งหน้าของ
คุณมีโอกาสทจี่ ะเปลีย่ นเลย หรืออาจเบรคเพอ่ื ใหร้ ถออกจากซอยก่อน
คุณเองควรจะเตรียมพร้อมเชน่ กัน จะไดไ้ ม่ต้องเบรคกระทันหนั

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

เทคนิคการขับรถปลอดภยั เชิงป้องกนั อุบัตเิ หตุ 5 เทคนิคการมอง “ขณะขับรถ”

ขอ้ ที่ 5 หนั หนา้ ดว้ ย ไม่ใชแ่ คเ่ หลือบมอง

กรณีทคี่ ุณต้องถอยหลัง หรอื เลีย้ วรถทแ่ี ยก จาไวเ้ ลยต้องหนั หน้ามาดว้ ย
ไม่ใช่แค่เหลอื บมอง แม้รถยนตป์ ัจจุบนั จะนาเทคโนโลยตี า่ งๆมาใช้ไม่ว่าจะ
เป็ นกล้องมองหลัง หรือเซน็ เซอรเ์ ตอื นหากมีรถมาด้านขา้ ง ก็ถอื ว่าเป็ นตัว
ช่วยในการขับรถของคุณ แต่พนื้ ฐานการขบั รถทสี่ าคัญคอื คุณต้องหนั หน้า

ไปมอง สายตาของคุณย่อมช่วยในการตัดสินใจไดด้ ที สี่ ุด

เทคนิคเหลา่ นรี้ วบรวมมาจากผทู้ มี่ ีประสบการณใ์ นการขับรถมาหลาย 10 ปี รวมถงึ เทคนิคชั้นสูงของนกั ขับรถแข่งมอื อาชพี
ซ่ึงเราสามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการขับรถใหป้ ลอดภัยได้ เพราะการ “ขบั รถได้” กบั “ขับรถเก่ง” ไม่เหมือนกนั นะคะ : )

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

การระงบั อารมณ์บนท้องถนนไม่ให้เกดิ ความรุนแรง

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

การระงบั อารมณบ์ นท้องถนน ไม่ใหเ้ กดิ ความรุนแรง ▪ โทสะบนถนน (road rage) เกดิ ขนึ้ เม่ือคุณอารมณ์เสีย
จนขาดสติในสถานการณ์ทขี่ ้องเกย่ี วกบั การจราจร และจะ
©KEMET Corporation. All Rights Reserved. แสดงพฤตกิ รรม เช่น ทากริ ิยาท่าทางทห่ี ยาบคายหรือกวน
โทสะ ตะโกน สบถด่าและขบั รถจีท้ ้าย มนั ยงั รวมไปถึงการ
หยดุ รถแล้วลงเดินไปตะโกนด่าผู้ขบั ขค่ี นอ่ืน ในบางกรณี
อาจรวมถึงการเกดิ ความรุนแรงทางร่างกายซึ่งคุณคง
อยากทจี่ ะหลกี เลย่ี ง

▪ ดงั น้ันแล้วการเรียนรู้วธิ ีสงบสติอารมณ์และใน
ขณะเดยี วกนั กต็ ้องรู้จกั ผ่อนโทสะของผู้ขบั ขคี่ นอ่ืนให้เบา
ลง จะช่วยป้องกนั อบุ ตั เิ หตุและเหตุการณ์ความรุนแรงบน
ท้องถนนได้

การระงับอารมณบ์ นทอ้ งถนน ไม่ใหเ้ กดิ ความรุนแรง

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

วธิ ีการรับมือกบั สถานการณ์ฉุกเฉินบนท้องถนน

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

วธิ ีการรับมือกบั สถานการณ์ฉุกเฉินบนท้องถนน หรอื 1669

©KEMET Corporation. All Rights Reserved. (แพทย์ฉุ กเฉิ น)

วธิ ีการรับมือกบั สถานการณ์ฉุกเฉินบนท้องถนน

หัดสังเกตุรอยหยดนา้ มนั
บางคร้ังเราอาจไม่ใช่คนช่างสังเกตุ แต่อาการผดิ ปกติของรถจะเป็ นสาเหตุทนี่ าไปสู่ภยั ร้าย
น่ันเอง โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การพบรอยนา้ มนั หยด นา้ มนั ร่ัวจะมโี อกาสทจ่ี ะทาให้เกดิ อบุ ัตเหตุ
หรืออนั ตรายได้ นอกจากนี้ การมกี ลน่ิ ทผ่ี ดิ ปกติกม็ โี อกาสทจ่ี ะเป็ นสาเหตุของการเกดิ
อบุ ตั เิ หตุหรือภัยอนั ตรายอกี ด้วย
ไฟตดิ จะรุกไว หนีได้ควรหนี!
รถยนต์เป็ นพาหนะทม่ี เี ชื้อเพลงิ ในตัวมนั เอง ฉะน้ันหากสามารถออกจากตัวรถกรณเี กดิ เหตุ
ได้แล้ว ควรจะอยู่ให้ห่างจากตัวรถดีทส่ี ุด เพราะไฟจะลกุ ขนึ้ อย่างรวดเร็วเนื่องจากมี
เชื้อเพลงิ น่ันเอง

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

วธิ ีการรับมือกบั สถานการณ์ฉุกเฉินบนท้องถนน

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

วธิ ีการรับมือกบั สถานการณ์ฉุกเฉินบนท้องถนน

เบอร์โทรส่ือสารภายในองค์กร

063-426-3615 คุณวนิดา

หน่ วยงานทรพั ยากรมนษุ ย์

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

กฎหมาย หรือ กฎระเบยี บทผ่ี ู้ขบั ขค่ี วรรู้

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

กฎหมาย หรือ กฎระเบียบทผ่ี ้ขู บั ข่คี วรรู้

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.

กฎหมาย หรือ กฎระเบียบทผ่ี ้ขู บั ข่คี วรรู้

©KEMET Corporation. All Rights Reserved. การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย หรือ กทพ. กาหนดมาตรการแก้ไขปัญหารถยนต์ที่ยงั คงวงิ่ บนไหล่ทาง
บนทางด่วนพเิ ศษหลายเส้นทาง โดยห้ามรถวง่ิ ทบั ไหล่ทางซ้ายบนทางด่วน
เร่ิมมผี ลต้งั แต่วนั ที่ 5 เมษายน 2564 โดยตดิ ต้งั กล้องตรวจจบั จานวน 32 จดุ
เพื่อลดอบุ ตั เิ หตุบนไหล่ทางทางพเิ ศษ 4 สายทาง น่นั กค็ ือ
• ทางพเิ ศษกาญจนาภิเษก
• ทางพเิ ศษเฉลมิ มหานคร
• ทางพเิ ศษฉลองรัช
• ทางพเิ ศษบูรพาวถิ ี

ท้งั นี้ จะมกี ารจบั ความเร็วรถทก่ี ระทาความผดิ โดยจะส่งข้อมูลจากกล้องวงจรปิ ด
ทจี่ บั ภาพทะเบียนรถทก่ี ระทาความผดิ ส่งให้ตารวจออกใบส่ัง ส่งไปยงั บ้านเจ้าของรถ
โดยจะถูกปรับ 1,000 บาท ส่วนกรณี ขบั เร็วเกนิ 120 กม./ชม จะถูกปรับ 500 บาท

กฎหมาย หรือ กฎระเบียบทผ่ี ้ขู ับข่คี วรรู้ เวลาทที่ ่านเดนิ ทางโดยใช้รถใช้ถนน คงมกั จะพบเห็นกนั เป็ นประจาว่า มรี ถบางคนั ทชี่ อบขับขี่ แช่ ใน
ช่องทางเดินรถทางด้านขวา ซึ่งในวนั นีเ้ ราจะมาทาความเข้าใจกนั ว่า การขบั แช่ในช่องทางเดินรถด้านขวา
©KEMET Corporation. All Rights Reserved. น้ันสามารถทาได้หรือไม่ !

1. ส่ิงทผ่ี ู้ขับขร่ี ถทกุ คนั จะต้องปฎบิ ัติ คือ ต้องขับรถในทางเดนิ รถด้านซ้ายและต้องไม่ลา้ กึ่งกลางของทางเดนิ รถ

2. สามารถขบั ขใ่ี นช่องทางเดนิ รถด้านขวาได้ ในกรณใี ดบ้าง?

• ด้านซ้ายของทางเดนิ รถมสี ่ิงกดี ขวางหรือถูกปิ ดการจราจร
• ทางเดินรถน้ันหัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร*กาหนดให้เป็ นทางเดินรถทางเดียว
• ทางเดนิ รถน้ันกว้างไม่ถึงหกเมตร
• ในช่องเดินรถน้ันมสี ่ิงกดี ขวางหรือถูกปิ ดการจราจร
• ทางเดินรถน้ัน หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร*กาหนดให้เป็ นทางเดินรถทางเดยี ว
• จะต้องเข้าช่องทางให้ถูกต้องเมื่อเข้าบริเวณใกล้ทางร่วมทางแยกเม่ือจะแซงขนึ้

หน้ารถคันอื่น
• เมื่อผู้ขบั ข่ขี บั รถด้วยความเร็วสูงกว่ารถในช่องเดินรถด้านซ้าย
3.การขบั รถแช่ขวามคี วามผดิ อย่างไร? อาจมโี ทษประสูงสุด 1,000 บาท

กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง

พ.ร.บ. จราจร ฯ พ.ศ.2522 มาตรา 33,34,35 บทกาหนดโทษ มาตรา 151, 157
ท้งั นีโ้ ดยเจตนารมณ์ของกฎหมาย มเี จตนาให้ผ้ขู บั ขป่ี ฎบิ ัตติ ามเพื่อความปลอดภัยท้งั ส่วนตัว และต่อส่วนรวมนะคะ

กฎหมาย หรือ กฎระเบยี บทผี่ ู้ขับขี่ควรรู้

1 • การควบคุมความเร็วของรถ ซ่ึงได้ติดต้งั GPS ในการช่วยเตือน กรณที ผ่ี ู้ขบั ขใ่ี ช้ความเร็วเกนิ กว่ากาหนด (110 กม. / ชม.)
2 • การควบคุมอายุการใช้งานของยางรถโดยสาร ซ่ึงกาหนดมาตรฐานไว้ท่ี ไม่เกนิ 100,000 กม.
3 • กาหนดให้รถโดยสารต้องตดิ ต้งั เขม็ ขดั นิรภัยแบบ 3 จุด
4 • การควบคุมในการตรวจสอบสภาพของรถโดยสารเป็ นประจาทุกๆเดือน

©KEMET Corporation. All Rights Reserved.


Click to View FlipBook Version