The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วันพุธ ที่ 31 พฤษภาคม 2566 ณ สนามกีฬากลาง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Puncharat Thanaphumsiriphong, 2023-08-16 23:56:11

โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ)

วันพุธ ที่ 31 พฤษภาคม 2566 ณ สนามกีฬากลาง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

พิธีบายศรีสู่ขวัญ น้องใหม่ 2566 (โฮมช่อ ช่ กัน กั เกรา ฮ่ว ฮ่ มเข้า ข้ สายแนน ม่า ม่ ยแขนจ่อ จ่ งขวัญ วั ) องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 31 พฤษภาคม 2566 ณ สนามกีฬกีากลาง มหาวิทวิยาลัยลัอุบอุลราชธานี


ค ำน ำ พิธีบายศรีสู่ขวัญเป็นขนบธรรมเนียม ของชาวอีสานที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อ ความเป็นสิริมงคลแก่ผู้เข้าร่วมงานหรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง ดังนั้น องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัย อุบลราชธานี จึงได้จัดโครงการพิธีบายศรีสู่ขวัญนักศึกษาใหม่ขึ้น เพื่อความเป็นสิริมงคล เพื่อท านุบ ารุงศิลปะ และวัฒนธรรมท้องถิ่นให้เป็นส่วนหนึ่งที่ส าคัญในการพัฒนานักศึกษา คณาจารย์และบุคลากร และเพื่อเป็นการ รับขวัญ ตลอดจนสร้างขวัญก าลังใจแก่นักศึกษาใหม่ที่ได้เข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อีกทั้งเป็น การแสดงความยินดีแก่รุ่นน้องที่จะได้เริ่มเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ทั้งสถานที่ใหม่ เพื่อนใหม่ หรือสิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ ซึ่ง ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นในการปรับตัวเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงจัดโครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) ขึ้น เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมไทย เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง ซึ่งได้ติดตามการด าเนินงานให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และตามตัวชี้วัดความส าเร็จของผลผลิตโครงการ โดยจัดท ารายงานผลการ ประเมินโครงการนี้ขึ้น เพื่อวัดระดับความส าเร็จของโครงการและน าผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนากิจกรรม โครงการนี้ต่อไป คณะผู้จัดท า กรกฎาคม 2566


สำรบัญ รำยละเอียดโครงกำร 1 กำรด ำเนินงำนโครงกำร ▪ ก าหนดการ 6 ▪ ค าสั่งแต่งตั้ง 7 ▪ แผนการจัดกิจกรรม 13 ▪ การประชาสัมพันธ์ 15 กำรติดตำมประเมินผลโครงกำร ▪ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1 6 ▪ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 1 6 ▪ การวิเคราะห์ข้อมูล 1 7 ▪ สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1 7 กำรวิเครำะห์ผลกำรประเมินโครงกำร 1 8 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 20 ภำคผนวก▪ แบบประเมินโครงการ 2 2 ▪ ภาพกิจกรรม 2 3 คณะผู้จัดท ำ 27


| 1 โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) รายละเอียดโครงการ โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) ได้ ก าหนดให้มีรายละเอียดโครงการเพื่อใช้เป็นแนวทางการด าเนินงานเพื่อให้สามารถให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ดังนี้ ชื่อโครงการ โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) สถานภาพของโครงการ โครงการต่อเนื่อง โครงการเดิม โครงการใหม่ รูปแบบโครงการ โครงการภายนอก โครงการภายใน หน่วยงานที่รับผิดชอบ องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผู้รับผิดชอบโครงการ นายณัฐวุฒิ ศรีชนะ ประธานฝ่ายศิลปวัฒนธรรม อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ รศ.ดร.ชวลิต ถิ่นวงศ์พิทักษ์ ผศ.ดร.ณัฏฐ์ ดิษเจริญ ผศ.ดร.ศุภชัย วรรณเลิศสกุล นางสาวเพ็ญพักตร์ ไชยสงเมือง นายครรคิด เครือวัลย์ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน วันพุธ ที่ 31 พฤษภาคม 2566 กลุ่มเป้าหมาย จ านวนทั้งสิ้น 2,195 คน ประกอบด้วย • นักศึกษา จ านวน 2,000 คน • อาจารย์ที่ปรึกษา จ านวน 5 คน • บุคลากรภายใน จ านวน 100 คน • ศิษย์เก่าและบุคคลภายนอก จ านวน 90 คน สถานที่ปฏิบัติงาน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จ านวนหน่วยชั่วโมง 6 ชั่วโมง ลักษณะของกิจกรรม การศึกษานอกสถานที่ อบรมเชิงปฏิบัติการ ออกแบบส ารวจพื้นที่ จัดนิทรรศการ สัมมนา การแข่งขัน กิจกรรมสัมพันธ์ อื่น ๆ พิธีบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่


2| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) อัตลักษณ์ของนักศึกษา (ระบุได้เพียง 1 ด้านเท่านั้น) สร้างสรรค์ (Knowledge Creation) สามัคคี (Unity) ส านึกดีต่อสังคม (Integrity) ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนานักศึกษา แบ่งออกเป็น 5 ด้าน ดังนี้(ระบุได้เพียง 1 กิจกรรมเท่านั้น) กิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์(ให้เลือกกิจกรรมย่อยตามจ านวนที่มีการบูรณาการ) เสริมสร้างสติปัญญาทักษะความคิดและการเรียนรู้ และทักษะวิชาการและวิชาชีพ (Smart Learning and Smart Brain) ทักษะนวัตกรรม ส่งเสริมความเป็นผู้ประกอบการ (Smart Innovation and Smart Entrepreneurship) เสริมสร้างความเป็นประชาธิปไตย และความภูมิใจในสถาบัน (Smart Character) พัฒนาบุคลิกภาพและพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้น า (Smart Character) ส่งเสริมความเป็นนานาชาติและเสริมสร้างสมรรถนะสากล (ทักษะดิจิทัล (Smart IT), ทักษะ ภาษาอังกฤษ (Smart English) กิจกรรมกีฬา หรือการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งสุขภาพทางกายและสุขภาวะทางจิตใจ (Well being) และ ส่งเสริมกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ (Smart health) กิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม (Smart Heart) กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม (Smart Mind) เพื่อสร้างบัณฑิตสู่การเป็นพลเมืองโลก กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม (Smart Heritage) สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่ 1 บัณฑิตมีคุณภาพอย่างโดดเด่น และพัฒนาการเรียนรู้ส าหรับคนทุกช่วงวัย เป้าประสงค์ 1.1) บัณฑิตมีความโดดเด่น ตรงความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศหรือเป็น ผู้ประกอบการ แผนปฏิบัติการ 1.1.5) แผนส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตร แผนปฏิบัติการ 1.1.7) แผนพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี แผนปฏิบัติการ 1.1.8) แผนพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรีให้มีสมรรถนะและทักษะที่จ าเป็นใน อนาคต Future skills แผนปฏิบัติการ 1.1.9) แผนส่งเสริมนักศึกษาและศิษย์เก่าให้สามารถเข้าร่วมแข่งขันในระดับชาติ และนานาชาติ อื่นๆ ส่งเสริมกิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม (Smart Heritage) มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาแต่ละชั้นปี(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 ขึ้นไป ทุกชั้นปี


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 3 หลักการและเหตุผล พิธีบายศรีสู่ขวัญเป็นขนบธรรมเนียม ของชาวอีสานที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อความเป็น สิริมงคลแก่ผู้เข้าร่วมงานหรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง ดังนั้น องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึง ได้จัดโครงการพิธีบายศรีสู่ขวัญนักศึกษาใหม่ขึ้น เพื่อความเป็นสิริมงคล เพื่อท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ท้องถิ่นให้เป็นส่วนหนึ่งที่ส าคัญในการพัฒนานักศึกษา คณาจารย์และบุคลากร และเพื่อเป็นการรับขวัญ ตลอดจนสร้างขวัญก าลังใจแก่นักศึกษาใหม่ที่ได้เข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อีกทั้งเป็นการแสดง ความยินดีแก่รุ่นน้องที่จะได้เริ่มเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ทั้งสถานที่ใหม่ เพื่อนใหม่ หรือสิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ ซึ่งถือได้ว่า เป็นจุดเริ่มต้นในการปรับตัวเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง แผนและปฏิทินการปฏิบัติงาน – วิธีด าเนินการและแผนการปฏิบัติงาน กิจกรรมและวิธีด าเนินการ วงจรคุณภาพ PDCA กิจกรรม/การด าเนินการ การวางแผน (Planning) - ประชุมคณะกรรมการด าเนินงานฯ เพื่อวางแผน - มอบหมายภาระงานในการเตรียมด าเนินการ - จัดท าโครงการน าเสนอเพื่อขอรับการพิจารณา การด าเนินการ (Doing) - ประสานงานความร่วมมือคณะ/ส านัก/วิทยาลัย - จัดประชุมเพื่อด าเนินการ - แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ - แจ้งเวียนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ด าเนินการตามแผนการปฏิบัติงาน การประเมินผล (Checking) - ความคิดเห็น/ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ - รายงานผลการด าเนินงาน การปรับปรุง (Acting) - น าผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ปฏิทินการปฏิบัติงาน กิจกรรม พ.ศ. 2566 มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน แผนงาน : ด าเนินโครงการ 1. วางแผน/ประชุม /ประชาสัมพันธ์ 2. จัดท าข้อเสนอโครงการ/ขออนุมัติจัดท า 3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. ด าเนินโครงการตามแผน 5. ประเมินผลการด าเนินงาน 6. รายงานผลการด าเนินงานปัญหาอุปสรรคและเสนอแนะ 7. เบิกจ่ายโครงการ


4| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) ผลผลิต (Output) : ผลที่เกิดขึ้นทันที ผลโดยตรงจากการด าเนินโครงการเสร็จสิ้น 1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย 2.ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง ตัวชี้วัดความส าเร็จของผลผลิต (Output) ผลผลิต ผลผลิตที่ 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ผลผลิตที่ 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ตัวชี้วัด จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณีและศิลปวัฒนธรรมไทยก่อให้เกิดมีความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง วิธีการประเมิน การลงทะเบียนเข้าร่วม โครงการ 1.แผนการจัดกิจกรรมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทย 2.แบบสอบถามความคิดเห็นโครงการ เป้าหมายของ โครงการ มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 ของ กลุ่มเป้าหมาย 1.ได้ด าเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมสืบสาน ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทยที่ได้ก าหนดไว้ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความคิดเห็นในภาพรวมโครงการ มี ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 ผลลัพธ์ (Outcome) : 1. นักศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ด้านศิลปะและวัฒนธรรม 2. นักศึกษามีขวัญก าลังใจในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและได้ร่วมรักษาวัฒนธรรมไทย ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักศึกษามีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย 2. รุ่นพี่และรุ่นน้องเกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน การบริหารความเสี่ยง ปัจจัยแห่งความเสี่ยง แนวทางการแก้ไข สภาพภูมิอากาศ ปรับเปลี่ยนสถานที่ในการด าเนินโครงการให้เหมาะสมตามสภาพ ภูมิอากาศ จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ ส ารวจความต้องการในการเข้าร่วมกิจกรรมและเพิ่มความถี่การ ประชาสัมพันธ์ให้ต่อเนื่องและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 5 งบประมาณในการด าเนินโครงการ ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมนักศึกษา จ านวนทั้งสิ้น 320,000 บาท (สามแสนสองหมื่นบาทถ้วน) ดังรายการต่อไปนี้ หมวด รายการ รวม ก.ค่าตอบแทน 1. ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการเจ้าหน้าที่ 5,000.00 2. ค่าตอบแทนพราหมณ์ 4,000.00 3. ค่าตอบแทนพิธีกร 2,000.00 ข.ค่าใช้สอย 1.ค่าสนับสนุนการแสดงชมรม 2,000.00 2. ค่าจ้างเหมาเวทีพร้อมเครื่องเสียงและระบบไฟแสงสี 35,000.00 3. ค่าอาหารนักศึกษา 98,000.00 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 3,500.00 5. ค่าจ้างเหมาจัดท าพานบายศรี พร้อมเครื่องบูชา 20,000.00 6. ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่ 10,000.00 7. ค่าจ้างเหมาแต่งหน้า ท าผม ผู้เข้าร่วมขบวนแห่พานบายศรี 12,000.00 8. ค่าเช่าชุดผู้เข้าร่วมขบวนแห่พานบายศรี 20,000.00 9. ค่าสนับสนุนขบวนสโมสรนักศึกษา 33,000.00 10.ค่าจ้างเหมาท าวีดีทัศน์เพลงร าต้อนรับน้องใหม่ 12,000.00 11.จ้างเหมาจอ LED 20,000.00 12.ค่าจ้างเหมาวงศิลปิน 50,000.00 ค. ค่าวัสดุ 1. ค่าวัสดุในโครงการ 8,500.00 รวมเป็นเงิน 320,000.00 หมายเหตุทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้โดยไม่เกินอัตราตามระเบียบของทางราชการและภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ


6| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) การด าเนินโครงการ ก าหนดการ ก าหนดการ โครงการพิธีบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) วันที่ 31 พฤษภาคม 2566 ณ สนามกีฬากลาง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เวลา 15:00-16:00 น. นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ทั้ง 11 คณะ รวมกันบริเวณศูนย์กีฬาอเนกประสงค์ เวลา 16:00-17:00 น. น านักศึกษาชั้นปีที่ 1 ทั้ง 11 คณะ เข้าสู่ลานพิธีบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ณ สนามกีฬากลาง เวลา 17:00-17:30 น. ผู้บริหาร คณาจารย์ ผู้น านักศึกษา และแขกผู้มีเกียรติพร้อมกัน ณ สนามกีฬากลาง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เวลา 17:30–18:00 น. การแสดง ชมรม UBU Cheerleader เวลา 18:00–18:30 น. พิธีเปิด กล่าวรายงาน โดย นายกองค์การนักศึกษา นายชัชนันท์ ก าจร กล่าวเปิดงาน โดย อธิการบดี ผศ.ดร.ชุตินันท์ ประสิทธิ์ภูริปรีชา เวลา 18:30–19:30 น. ขบวนแห่พานบายศรี เข้าสู่บริเวณงาน ผู้เข้าร่วมโครงการรับประทานอาหาร เวลา 19:30–20:30 น. พิธีบายศรีสู่ขวัญรับน้องใหม่ กันเกราช่อที่ 36 โดย ผอ.บุญมี เครือพันธ์ เป็นผู้ประกอบพิธีพราหมณ์ เวลา 20:30–22:00 น. ผูกข้อต่อแขนน้องใหม่โดย ผู้บริหาร คณาจารย์ ผู้น านักศึกษาฯ ชมการแสดงคอนเสิร์ตจากศิลปิน เสร็จพิธี หมายเหตุ ก าหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม การแต่งกาย - ผู้บริหาร คณาจารย์ และแขกผู้มีเกียรติแต่งกายชุดผ้าไทยหรือผ้าพื้นเมือง - ผู้น านักศึกษา แต่งกายชุดผ้าไทยหรือผ้าพื้นเมืองหรือชุดประจ าคณะ - นักศึกษาชั้นปีที่ 1 แต่งกายชุดนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัยฯ - คณะผู้บริหารและแขกผู้มีเกียรติรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม ที่เต็นท์ลงทะเบียนและต้อนรับ


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 7 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานโครงการพิธีบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566


8| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ)


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 9


10| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ)


| 11 โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ)


12| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ)


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 13 แผนการจัดกิจกรรม


14| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ)


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 15 การประชาสัมพันธ์


16| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) การติดตามประเมินผลโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่าย แขนจ่องขวัญ) ด าเนินการเพื่อติดตามการด าเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้และตามตัวบ่งชี้ ความส าเร็จของโครงการทั้งด้านปริมาณ และด้านคุณภาพ ซึ่งระบุไว้ตามรายละเอียดโครงการแล้วนั้น โดยมี การติดตามประเมินผลโครงการ ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา บุคลากร ศิษย์เก่าและบุคคลภายนอก ตามเป้าหมายที่ ก าหนดจ านวนทั้งสิ้น 2,195 คน มีจ านวนขนาดของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 250 - 350 คน โดยคิดประมาณ 15% จากประชากร ทั้งนี้ในการก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ได้ใช้วิธีการใช้เกณฑ์ หรือการประมาณจากจ านวน ประชากร ในการก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งมีเกณฑ์ในการประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่าง (บุญชม ศรี สะอาด, 2535: 38) ดังนี้ จ านวนประชากร ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จ านวนประชากรทั้งหมดเป็นหลักร้อย 15-30% จ านวนประชากรทั้งหมดเป็นหลักพัน 10-15% จ านวนประชากรทั้งหมดเป็นหลักหมื่น 5-10% 2. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ เป็นแบบประเมินโครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อ กันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) สร้างขึ้นตามกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบประเมิน ออนไลน์ ผ่าน Google form : https://forms.gle/5zxjUxxfSRe5oyAx9 โดยแบ่งประเด็นเนื้อหาในแบบประเมินเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ▪ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน ▪ ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบประเมิน ▪ ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม https://forms.gle/5zxjUxxfSRe5oyAx9


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 17 3. การวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ โดยแจก QR code แบบประเมินให้กับผู้เข้าร่วมโครงการบายศรีสู่ขวัญ น้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) เพื่อขอความร่วมมือในการให้ข้อมูล ณ สถานที่และระยะเวลาการจัดโครงการซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมาย ทั้งนี้ ในกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบ ประเมินโครงการ มีผู้ตอบแบบประเมิน จ านวนทั้งสิ้น 686 คน คิดเป็นร้อยละ 31.3 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์การ ประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ก าหนดไว้ได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี้ 3.1 ตรวจสอบความถูกต้องและสมบูรณ์ของแบบประเมิน 3.2 ข้อมูลที่ได้จากแบบประเมิน น ามาถอดรหัส และน ามาวิเคราะห์ข้อมูล สาระส าคัญตามแบบ ประเมิน ซึ่งเป็นแบบมาตราประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามเทคนิคการวัดทัศนคติของลิเกิรต์ (Rensis A.Likert) ซึ่งเป็นก าหนดน้ าหนักคะแนนการตอบของแต่ละตัวเลือก คือ 5, 4, 3, 2, 1 (พวงรัตน์ ทวี รัตน์, 2543: 107) โดยให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็นในประเด็นการประเมินผลดังนี้ ระดับ 1 มีความพึงพอใจ/เห็นด้วยน้อยที่สุด ระดับ 2 มีความพึงพอใจ/เห็นด้วยน้อย ระดับ 3 มีความพึงพอใจ/เห็นด้วยปานกลาง ระดับ 4 มีความพึงพอใจ/เห็นด้วยมาก ระดับ 5 มีความพึงพอใจ/เห็นด้วยมากที่สุด แล้วน าค่าเฉลี่ยมาจัดอันดับ ตามแนวคิดของเบสท์ (Best) โดยถือเกณฑ์ ดังนี้ (อ้างถึงในบุญธรรม กิจปรีดา บริสุทธิ์ 2543, 62) ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด 4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามใช้สถิติเชิงบรรยาย โดยการแจกแจง ความถี่ (Frequency) และหาค่าร้อยละ(Percentage) 2. สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจโครงการฯ โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)


18| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) การวิเคราะห์ผลการประเมินโครงการ การวิเคราะห์ผลการประเมินโครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) ได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ที่ครอบคลุมเนื้อหา ได้แก่ 1) ข้อมูล ทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน 2) ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมิน และ 3) ข้อเสนอแนะ โดยมี รายละเอียดผลการประเมินดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน ตารางที่ 1 จ านวน ร้อยละ ของข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน (N=686) จ านวน ร้อยละ 1.เพศ 1.1 ชาย 1.2 หญิง 1.3 LGBTQ 221 464 1 32.2 67.6 0.2 รวม 686 100.0 2.นักศึกษาชั้นปี 2.1 ชั้นปีที่ 1 2.2 ชั้นปีที่ 2 2.3 ชั้นปีที่ 3 2.4 ชั้นปีที่ 4 683 - 2 1 99.6 - 0.3 0.2 686 100.0 2.สังกัด 3.1 คณะวิทยาศาสตร์ 3.2 คณะเกษตรศาสตร์ 3.3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3.4 คณะศิลปศาสตร์ 3.5 คณะเภสัชศาสตร์ 3.6 คณะบริหารศาสตร์ 3.7 คณะพยาบาลศาสตร์ 3.8 วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ฯ 3.9 คณะศิลปประยุกต์ฯ 3.10คณะนิติศาสตร์ 3.11คณะรัฐศาสตร์ 79 87 97 17 2 94 101 32 166 11 11.5 12.7 14.1 2.5 0.3 13.7 14.7 4.7 24.2 1.6 รวม 686 100.0 จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ านวน 464 คน คิดเป็นร้อยละ 67.6 เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1จ านวน 683คน คิดเป็นร้อยละ 99.6 จากผู้ตอบแบบประเมินทั้งหมด จ านวน 686คน


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 19 ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบประเมิน ความหมายของค่าคะแนน ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมิน รายการ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ความหมาย 1.ท่านได้มีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย 2.กิจกรรมนี้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง 3.กิจกรรมนี้สร้างขวัญก าลังใจในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี 4.ท่านได้รับการพัฒนาสมรรถนะด้านศิลปะและวัฒนธรรม 5.รูปแบบการจัดกิจกรรมมีความน่าสนใจ 6.ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัดกิจกรรมโครงการนี้ 7.ความเหมาะสมของสถานที่ในการจัดกิจกรรมโครงการนี้ 8.ความพึงพอใจต่อการแสดงโชว์ก่อนพิธีเปิด 9.ความพึงพอใจต่อพิธีบายศรีสู่ขวัญรับน้องใหม่ 10.ความพึงพอใจต่อการแสดงคอนเสิร์ตจากศิลปิน 11.ความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการ 4.34 4.33 4.34 4.24 4.23 4.00 4.12 4.29 4.29 4.23 4.29 0.760 0.754 0.751 0.793 0.863 1.074 0.968 0.846 0.841 0.879 0.791 มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก รวม 4.24 0.858 มาก จากตารางที่ 2 จะเห็นได้ว่า ผู้ตอบแบบประเมิน มีความคิดเห็นภาพรวมต่อโครงการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 อยู่ในระดับมาก ซึ่งหากจัดเรียงล าดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบประเมิน พบว่า กิจกรรมนี้สร้างขวัญ ก าลังใจในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 ท่านได้มีส่วนร่วมสืบ สานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 กิจกรรมนี้สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 ความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการ ความพึงพอใจต่อพิธี บายศรีสู่ขวัญรับน้องใหม่ ความพึงพอใจต่อการแสดงโชว์ก่อนพิธีเปิด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 ท่านได้รับการ พัฒนาสมรรถนะด้านศิลปะและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 รูปแบบการจัดกิจกรรมมีความน่าสนใจ ความพึงพอใจต่อการแสดงคอนเสิร์ตจากศิลปิน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 ความเหมาะสมของสถานที่ในการจัด กิจกรรมโครงการนี้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.12 และความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัดกิจกรรมโครงการนี้มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 ตามล าดับ ข้อเสนอแนะ ▪ สถานที่จัดงาน อากาศร้อนมาก ไม่มีร่ม ให้รอก่อนเข้างาน (50) ▪ ควรบริหารจัดการเวลานัดหมาย ไม่ควรนัดก่อนงานมากเกินไป จัดสรรเวลาการแสดงช่วงพิธีเปิด (15) ▪ จัดกิจกรรมได้ดี (18)


20| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) สรุปผลและข้อเสนอแนะ การติดตามประเมินผลโครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่าย แขนจ่องขวัญ) ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการ และประเมิน วัตถุประสงค์หลักของโครงการฯ โดยกลุ่มเป้าหมายเก็บรวบรวมข้อมูล นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา บุคลากร ศิษย์เก่าและบุคคลภายนอก ตามเป้าหมายที่ก าหนดจ านวนทั้งสิ้น 2,195 คน มีจ านวนขนาดของกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 250 - 350 คน โดยคิดประมาณ 15% จากประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้เป็นแบบ ประเมินออนไลน์ ผ่าน Google form โดยแจก QR code แบบประเมินให้กับผู้เข้าร่วมโครงการบายศรีสู่ขวัญ น้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) เพื่อขอความร่วมมือในการให้ข้อมูล ณ สถานที่และระยะเวลาการจัดโครงการซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมาย ซึ่งแบบประเมินสร้างขึ้นตามกระบวนการเก็บ รวบรวมข้อมูล โดยแบ่งประเด็นเนื้อหาในแบบประเมินเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบ ประเมิน ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมิน และส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการจ านวนทั้งสิ้น 3,404 คน คิดเป็นร้อยละ 155.1 (กลุ่มเป้าหมาย 2,195 คน) 2. มีผู้ตอบแบบประเมิน จ านวนทั้งสิ้น 686 คน คิดเป็นร้อยละ 31.3 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์การประมาณ ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ก าหนดไว้ 3. ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ านวน 464 คน คิดเป็นร้อยละ 67.6 เป็นนักศึกษาชั้น ปีที่ 1 จ านวน 683 คน คิดเป็นร้อยละ 99.6 4. ผู้ตอบแบบประเมิน มีความคิดเห็นภาพรวมต่อโครงการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 อยู่ในระดับมาก ซึ่งหากจัดเรียงล าดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบประเมิน พบว่า กิจกรรมนี้สร้างขวัญก าลังใจใน การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 ท่านได้มีส่วนร่วมสืบ สานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 กิจกรรมนี้สร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 ความพึงพอใจในภาพรวมของ โครงการ ความพึงพอใจต่อพิธีบายศรีสู่ขวัญรับน้องใหม่ ความพึงพอใจต่อการแสดงโชว์ก่อนพิธี เปิด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 ท่านได้รับการพัฒนาสมรรถนะด้านศิลปะและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.24 รูปแบบการจัดกิจกรรมมีความน่าสนใจ ความพึงพอใจต่อการแสดงคอนเสิร์ตจาก ศิลปิน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 ความเหมาะสมของสถานที่ในการจัดกิจกรรมโครงการนี้ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.12 และความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัดกิจกรรมโครงการนี้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 ตามล าดับ 5. ผู้ตอบแบบประเมินมีความคิดเห็นในประเด็นตามวัตถุประสงค์โครงการ สามารถสรุปได้ดังนี้ ▪ วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและ วัฒนธรรมไทย 1) ท่านได้มีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 2) ความพึงพอใจต่อพิธีบายศรีสู่ขวัญรับน้องใหม่ ความพึงพอใจต่อการแสดงโชว์ก่อนพิธี เปิด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 3) ท่านได้รับการพัฒนาสมรรถนะด้านศิลปะและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24


| 21 โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) ▪ วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง 1) กิจกรรมนี้สร้างขวัญก าลังใจในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 2) กิจกรรมนี้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 ข้อเสนอแนะ จากผลการประเมินโครงการ ผู้ตอบแบบประเมิน มีความพึงพอใจในประเด็นความเหมาะสมของ ระยะเวลาและสถานที่ในการจัดกิจกรรมโครงการนี้พบว่า เป็นรายการที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้ตอบแบบประเมินที่กล่าวไว้ข้างต้นเกี่ยวกับสถานที่และบริหารจัดการเวลาให้ดีกว่านี้ ผู้รับผิดชอบโครงการควรปรับปรุงพัฒนาเรื่องนี้ในการด าเนินงานปีต่อไป การประเมินความส าเร็จของผลผลิต (Output) โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายที่ระบุในแผนกิจกรรม/โครงการ ผลการด าเนินงานที่ปฏิบัติได้จริง จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ รวมทั้งสิ้น 3,404 คน ซึ่งผู้เข้าร่วม โครงการเกินจ านวนกลุ่มเป้าหมายที่ก าหนดไว้ *ข้อมูลจากการลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ (ผลการประเมินตามตัวชี้วัด : บรรลุเป้าหมาย) ได้ด าเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมสืบ สานขนบธรรมเนียมประเพณีและ วัฒนธรรมไทยที่ได้ก าหนดไว้ ได้ด าเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมไทยที่ได้ก าหนดไว้(หน้า 13-14) (ผลการประเมินตามตัวชี้วัด : บรรลุเป้าหมาย) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความคิดเห็นใน ภาพรวมโครงการ มีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความคิดเห็นในภาพรวมโครงการ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.24 และมีความคิดเห็นในประเด็นตามวัตถุประสงค์ โครงการ มีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 ทุกประเด็น (ผลการประเมินตามตัวชี้วัด : บรรลุเป้าหมาย) แนวทางการปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรม/โครงการ ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ /ปัญหาอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงพัฒนา ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัด กิจกรรมโครงการนี้ วางแผนการบริหารจัดสรรเวลาการนัดหมายและการแสดง พิธีเปิด การเลือกสถานที่ในการจัดกิจกรรม ร่วมกับสโมสร ความเหมาะสมของสถานที่ในการจัดกิจกรรม นักศึกษาและชมรมที่เกี่ยวข้อง โครงการนี้


22| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) ภาคผนวก 1. แบบประเมินโครงการ https://forms.gle/5zxjUxxfSRe5oyAx9


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 23 2. ภาพกิจกรรม


24| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ)


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 25


26| โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ)


โครงการบายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ 2566 (โฮมช่อกันเกรา ฮ่วมเข้าสายแนน ม่ายแขนจ่องขวัญ) | 27 คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา : รศ.ดร.ชวลิต ถิ่นวงศ์พิทักษ์ ผศ.ดร.ณัฏฐ์ ดิษเจริญ ผศ.ดร.ศุภชัย วรรณเลิศสกุล นางสาวเพ็ญพักตร์ ไชยสงเมือง นายครรคิด เครือวัลย์ หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ : องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผู้รับผิดชอบโครงการ : นายณัฐวุฒิ ศรีชนะ ประธานฝ่ายศิลปวัฒนธรรม ผู้ออกแบบ ติดตาม จัดเก็บรวบรวมแบบประเมินผล : นายณัฐวุฒิ ศรีชนะ นายวุฒิชัย ศรีตุ่น นายกิตติเกษม ศรีพรม นางสาวปรรัตน์ บุญชู นางสาวสุกัญญมาศ นาโล วิเคราะห์ข้อมูล และจัดท ารูปเล่มโครงการ : นายณัฐวุฒิ ศรีชนะ ประธานฝ่ายศิลปวัฒนธรรม ที่ปรึกษาการจัดท าการประเมินผลโครงการ : นางปุญชรัสมิ์ ธนภูมิศิริพงษ์ นักวิชาการศึกษาช านาญการ


(โฮมช่อ ช่ กันกัเกรา ฮ่ว ฮ่ มเข้า ข้ สายแนน ม่า ม่ ยแขนจ่อ จ่ งขวัญวั ) องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี น้องใหม่ 2566 พิธีบายศรีสู่ขวัญ


Click to View FlipBook Version