The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by najmi949, 2020-02-26 10:04:17

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

วดั อรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณสร้างมาตั้งแต่สมยั อยธุ ยา ต้ังอยทู่ างทิศตะวันตกของฝ่ังแมน่ ้า
เจา้ พระยา เดิมเรยี กว่า "วัดมะกอก" ตามชอ่ื ตา้ บลบางมะกอกซงึ่ เป็นตา้ บลทต่ี งั้ วัด ภายหลงั
เปลย่ี นเปน็ "วัดมะกอกนอก" เพราะมวี ดั สร้างขนึ้ ใหม่ในตา้ บลเดียวกนั แต่ อยลู่ กึ เขา้ ไปในคลอง
บางกอกใหญ่ชือ่ "วดั มะกอกใน" ต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เมอื่ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราชมพี ระ
ราชประสงคจ์ ะยา้ ยราชธานีมาต้ัง ณ กรุงธนบุรจี งึ เสด็จกรีฑาทพั ลอ่ งลงมาทางชลมารคถึงหนา้ วัด
มะกอกนอกนเี้ มอื่ เวลารุ่งอรุณพอดี จงึ ทรงเปลีย่ นชื่อวดั มะกอกนอกเปน็ "วดั แจ้ง" เพ่อื เปน็ อนสุ รณ์
แหง่ นมิ ติ ที่ไดเ้ สดจ็ มาถึงวัด นเี้ มื่อเวลาอรณุ รุ่ง

เมอ่ื พระเจา้ ตากสินมหาราชโปรดให้ย้ายราชธานจี ากกรุงศรอี ยุธยามาตั้ง ณ กรงุ ธนบุรแี ละไดท้ รง
สรา้ งพระราชวังใหม่ มีการขยายเขตพระราชฐาน เป็นเหตใุ ห้วัดแจง้ ต้ังอยกู่ ลาง พระราชวังจงึ ไม่
โปรดให้มพี ระสงฆ์จ้าพรรษา นอกจากนนั้ ในชว่ งเวลาที่กรุงธนบรุ ีเป็น ราชธานี ถอื กนั วา่ วัดแจง้ เป็น
วดั ค่บู ้าน คู่เมอื ง เนื่องจากเป็นวดั ท่ีประดษิ ฐาน พระแกว้ มรกตและพระบาง ซึ่งสมเด็จ พระยามหา
กษตั รยิ ศ์ ึก (พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) ได้ อญั เชญิ พระพุทธรปู ส้าคัญ ๒
องคน์ มี้ าจากลาวในคราวทเี่ สดจ็ ตเี มืองเวียงจันทร์ ไดใ้ นปี พ.ศ. ๒๓๒๒โดยโปรดใหอ้ ัญเชิญ พระ
แกว้ มรกตและพระบางขึ้นประดิษฐาน

เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก มหาราช รัชกาลท่ี ๑ เสด็จเถลิงถวลั ราชสมบตั ิ ได้
โปรดใหส้ รา้ งพระนครใหม่ฝั่งตะวนั ออก ของแม่น้าเจา้ พระยา และร้อื ก้าแพงพระราชวังกรงุ ธนบรุ ี
ออก วัดแจ้งจึงไม่ได้อยใู่ นเขตพระราชวังอกี ตอ่ ไป พระองค์จงึ โปรดให้วัดแจ้งเป็นวัดทมี่ ี พระสงฆ์
จา้ พรรษาอีกครัง้ หน่ึง นอกจากนัน้ พระองค์ทรงมอบหมายใหส้ มเดจ็ พระเจ้าลกู ยาเธอเจ้าฟ้ากรม
หลวงอิศรสนุ ทร (ร. ๒) เปน็ ผ้ดู า้ เนินการปฏิสังขรณ์วดั แจง้ ไวใ้ นมณฑป และมีการสมโภชใหญ่ ๗
คืน ๗ วัน(ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ พระแกว้ มรกตไดย้ ้ายมาประดิษฐาน ณ วัด พระศรรี ตั นศาสดาราม
ในพระบรมหาราชวัง สว่ นพระบางนน้ั สมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกได้โปรด พระราชทานคนื ไป
นครเวียงจนั ทร)์ แต่ส้าเรจ็ เพยี งแค่กฎุ สี งฆ์ก็สิน้ รชั กาลท่ี ๑ ใน พ.ศ. ๒๓๕๒ เสยี กอ่ น

ตอ่ มาในรชั กาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั รัชกาลท่ี ๒ พระองค์ทรงด้าเนินการ
ปฏสิ งั ขรณต์ อ่ จนเสรจ็ ท้งั ไดท้ รงปน้ั หนุ่ พระพุทธรูปดว้ ยฝีพระหัตถ์ และโปรดใหห้ ลอ่ ขึน้
ประดิษฐานเป็นพระประธาน ในพระอโุ บสถ และโปรดให้มีมหรสพสมโภชฉลองวัดในปี พ.ศ.
๒๓๖๓ แล้วโปรดพระราชทาน พระนามวดั ว่า "วดั อรุณราชธาราม"

ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อยูห่ ัว รัชกาลที่ ๓ ไดท้ รงปฏสิ ังขรณว์ ัดอรุณฯ ใหม่หมดท้ัง
วดั พรอ้ มทง้ั โปรดใหล้ งมอื ก่อสร้างพระปรางคต์ ามแบบที่ทรงคดิ ขนึ้ จนส้าเร็จเปน็ พระเจดียส์ งู ๑
เสน้ ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คืบ กบั ๑ น้วิ ฐานกลมวัดโดยรอบได้ ๕ เสน้ ๓๗ วา ซ่งึ การก่อสรา้ งและ
ปฏิสังขรณ์สงิ่ ต่าง ๆ ภายในวดั อรณุ ฯ นีส้ า้ เร็จลงแล้ว แตย่ ังไมท่ นั มีงานฉลองก็สนิ้ รัชกาลที่ ๓ ในปี
พ.ศ. ๒๓๙๔

เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว รชั กาลท่ี ๔ เสด็จเถลิงถวลั ราชสมบัติ พระองค์ได้โปรด
ใหส้ รา้ งและปฏสิ ังขรณ์ ส่ิงต่าง ๆ ในวดั อรณุ ฯ เพิม่ เติมอีกหลายอยา่ ง ทงั้ ยังได้อญั เชญิ พระบรมอฐั ิ
ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มาบรรจุไว้ทพี่ ระพทุ ธอาสนข์ อง พระประธานในพระ
อุโบสถท่ีพระองค์ ทรงพระราชทานนามวา่ "พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตดุ ลิ ก" และเมื่อได้ทรง
ปฏิสังขรณ์เสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว จงึ ได้พระราชทานนาม วดั เสียใหมว่ ่า "วดั อรุณราชวราราม" ดังที่
เรียกกนั มาจนถงึ ปัจจบุ นั

ครั้นถึงสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เกดิ เพลิงไหม้พระอุโบสถ จึง
โปรดเกล้าฯ ใหป้ ฏิสงั ขรณพ์ ระอโุ บสถใหมเ่ กือบท้ังหมด โดยได้โปรดให้กรมหมื่นปราบปรปกั ษ์เปน็
แมก่ องในการบูรณะ และโปรดเกล้าฯให้นา้ เงิน ท่ีเหลือจากการบรจิ าคของพระบรมวงศานุวงศ์ไป
สร้างโรงเรยี นตรงบรเิ วณกุฎีเก่า ด้านเหนือ ซึง่ ชา้ รุดไมม่ ีพระสงฆอ์ ยู่เป็นตกึ ใหญแ่ ล้วพระราชทาน
นามว่า "โรงเรียนทวธี าภิเศก" นอกจากนั้นยงั ไดโ้ ปรดใหพ้ ระยาราชสงครามเปน็ นายงาน
อ้านวยการปฏสิ ังขรณพ์ ระปรางค์ องคใ์ หญ่ และเม่ือเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ จงึ โปรดใหม้ ีการฉลองใหญ่
รวม ๓ งานพรอ้ มกนั เปน็ เวลา ๙ วัน คือ งานฉลองพระไชยนวรัฐ งานบา้ เพ็ญพระราชกุศล
พระชนมายุสมมงคล คือ มีพระชนมายุเสมอพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย และ งาน
ฉลองพระปรางค์

ตอ่ มาในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ มกี าร
บรู ณะปฏิสังขรณห์ ลายอยา่ ง โดยเฉพาะพระปรางค์วัดอรณุ ฯ ได้รับการปฏสิ งั ขรณ์ เปน็ การใหญ่มี
การประกอบพิธบี วงสรวงกอ่ นเรม่ิ การบูรณะพระปรางค์ใน วนั พธุ ที่ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๑๐ และการ
บรู ณะก็สา้ เรจ็ ดว้ ยดีดังเหน็ เป็นสงา่ งามอยู่จนทกุ วนั นี้

วัดประจ้ารัชกาลที่ ๒

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย

วัดอรณุ ราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

วัดประจ้ารัชกาลท่ี ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย คอื “วัดอรณุ ราชวราราม ราช
วรมหาวิหาร” หรือ “วดั แจง้ ” เม่ือคร้ังทพี่ ระองค์ท่านดา้ รงตา้ แหนง่ เป็นวงั หนา้ ในรัชกาลท่ี ๑ ท่ี
ประทับของท่านจะอยทู่ พ่ี ระราชวังเดิม ฝั่งธนบรุ ี และวัดท่อี ยูใ่ กลก้ ับ พระราชวังเดมิ ท่ีสุดกค็ ือวัด
อรุณราชวราราม พระองค์ทา่ นจึงได้โปรดเกล้าฯ ให้มกี ารบรู ณปฏิสงั ขรณว์ ดั อรุณฯ และยังได้ทรง
ลงมอื ปนั้ หุน่ พระพกั ตร์ ‘พระพุทธธรรมมศิ รราชโลกธาตดุ ิลก’ พระประธานในพระอโุ บสถ ดว้ ยฝี
พระหตั ถข์ องพระองค์เองอีกด้วย และเมอื่ พระองค์ท่านทรงเสด็จสวรรคต พระบรมอฐั ขิ อง
พระองค์ กถ็ กู น้ามาประดิษฐานไวท้ ่พี ระอุโบสถวดั อรุณราชวรารามแห่งน้ี

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชน้ั เอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เปน็ วดั
โบราณเก่าแกส่ รา้ งมาต้ังแตส่ มัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอย่ทู างด้านทิศตะวันตกของฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา
ไม่พบหลกั ฐานวา่ ใครเปน็ ผสู้ ร้างวดั ในสมัยโบราณ ตามหลักฐานเท่าทีป่ รากฏมเี พียงว่า เป็นวัดที่
สร้างขึ้นในสมยั กรงุ ศรีอยุธยา มมี าก่อนรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พุทธศักราช ๒๑๙๙-
๒๒๓๑) เพราะมีแผนทเ่ี มอื งธนบรุ ซี ่งึ เรอื เอก เดอ ฟอร์บัง (Claude de Forbin) กบั นายช่าง
เดอ ลามาร์ (de Lamare) ชาวฝร่ังเศส ทา้ ข้ึนไว้เป็นหลกั ฐานในรัชสมยั สมเด็จพระนารายณม์ หา
ราช อกี ท้ังวัดแห่งนี้ยงั มีพระอุโบสถและพระวหิ ารของเก่าท่ีตง้ั อยู่ ณ บริเวณหนา้ พระปรางค์ ซึง่
สนั นษิ ฐานว่าเป็นฝีมือชา่ งสมัยกรุงศรีอยุธยา

มลู เหตทุ เ่ี รยี กชอื่ วัดนี้แต่เดิมว่า “วดั มะกอก” น้ัน ตามทางสนั นษิ ฐานเข้าใจว่า คงจะเรียกคลอ้ ย
ตามชอ่ื ต้าบลทีต่ ง้ั วดั ซ่ึงสมัยนัน้ มชี ื่อว่า ‘ต้าบลบางมะกอก’ (เมือ่ น้ามาเรยี กรวมกับคา้ ว่า ‘วัด’ ใน
ตอนแรกๆ คงเรยี กวา่ ‘วัดบางมะกอก’ ภายหลังเสียงหดลงคงเรยี กสนั้ ๆ ว่า ‘วดั มะกอก’) ตามคติ
เรยี กช่อื วดั ของไทยสมัยโบราณ เพราะชอ่ื วัดทแ่ี ทจ้ รงิ มักจะไมม่ ี จงึ เรียกชอื่ วัดตามชอ่ื ต้าบลที่ตง้ั
ต่อมาเมอ่ื ไดม้ ีการสร้างวดั ข้ึนใหมอ่ ีกวดั หน่ึงในตา้ บลเดยี วกันน้ี แต่อยูล่ กึ เข้าไปในคลองบางกอก
ใหญ่ ชาวบ้านเรยี กช่อื วัดทส่ี รา้ งใหม่ วา่ “วดั มะกอกใน” (ในปจั จบุ นั คอื วดั นวลนรดศิ วรวิหาร)
แลว้ เลยเรียก ‘วดั มะกอก’ เดมิ ซึ่งอยตู่ อนปากคลองบางกอกใหญ่ ว่า “วัดมะกอกนอก” เพอ่ื ให้
ทราบวา่ เป็นคนละวดั

ตอ่ มาในปีพทุ ธศักราช ๒๓๑๐ เมอื่ สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช หรอื สมเดจ็ พระเจ้ากรงุ ธนบรุ ี
ทรงมีพระราชประสงค์จะยา้ ยราชธานี มาต้ัง ณ กรุงธนบุรี จึงเสดจ็ กรีฑาทพั ลอ่ งลงมาทางชลมารค

ถึงหนา้ ‘วัดมะกอกนอก’ แหง่ น้เี มอ่ื เวลารุง่ อรุณพอดี จงึ ทรงเปลีย่ นช่ือวดั มะกอกนอก เปน็ ‘วดั
แจ้ง’ เพือ่ เปน็ อนสุ รณถ์ ึงการได้เสดจ็ มาถึงวัดน้เี ม่ือเวลาอรณุ รงุ่

เม่ือพระเจา้ ตากสินมหาราชโปรดใหย้ ้ายราชธานีจากกรงุ ศรีอยธุ ยา มาต้ัง ณ กรุงธนบุรี ในปี พ.ศ.
๒๓๑๑ และได้ทรงสรา้ งพระราชวงั ใหม่ มกี ารขยายเขตพระราชฐาน เปน็ เหตุให้วดั แจ้งตกเขา้ มา
อยกู่ ลางพระราชวงั จึงโปรดไมใ่ ห้มพี ระสงฆ์อยู่จา้ พรรษา การท่ีเอาวดั แจ้งเปน็ วดั ภายใน
พระราชวังนั้น คงจะทรงถอื แบบอย่างพระราชวงั ในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา ทมี่ วี ัดพระศรีสรรเพชญ์อยู่
ในพระราชวงั การปฏสิ ังขรณ์วดั เทา่ ท่ปี รากฏอยูต่ ามหลกั ฐานในพระราชพงศาวดาร กค็ ือ
ปฏสิ ังขรณ์พระอุโบสถ และพระวิหารหลังเก่าท่ีอยู่หน้าพระปรางค์ กบั โปรดให้สร้างก้าแพง
พระราชวังโอบลอ้ มวัด เพอื่ ใหส้ มกบั ทีเ่ ป็นวัดภายในพระราชวัง แต่ไม่ปรากฏรายการว่า ได้ทรง
บรู ณปฏสิ งั ขรณ์หรือก่อสร้างส่ิงใดขึ้นบา้ ง

ในสมยั กรงุ ธนบุรีเปน็ ราชธานี ถือกันวา่ วัดแจ้งเป็นวัดคูบ่ า้ นค่เู มือง เนื่องจากเป็นวัดทีป่ ระดิษฐาน
พระแกว้ มรกตและพระบาง ซ่งึ สมเด็จพระยามหากษัตรยิ ์ศึก (พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลกมหาราช รชั กาลที่ ๑) ไปตีเมอื งเวียงจันทนไ์ ดใ้ นปกี ุน เอกศก จลุ ศักราช ๑๑๔๑ (พ.ศ.
๒๓๒๒) แล้วอญั เชิญพระพทุ ธรปู สา้ คญั ๒ องค์คือ พระแกว้ มรกตและพระบาง ลงมากรุงธนบุรี
ดว้ ย และมกี ารสมโภชเป็นเวลา ๒ เดอื น ๑๒ วนั จนกระท่งั ถึงวันวสิ าขปณุ ณมี วันเพญ็ กลางเดือน
๖ ปชี วด โทศก จุลศักราช ๑๑๔๒ (พุทธศกั ราช ๒๓๒๓) โปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ัญเชิญพระแก้วมรกต
และพระบางขน้ึ ประดิษฐานไว้ในมณฑป ซง่ึ ต้ังอย่ดู ้านหลังพระอุโบสถเก่าและพระวิหารเกา่ หน้า
พระปรางค์ อยใู่ นระยะกึ่งกลางพอดี มกี ารจัดงานสมโภชใหญ่ ๗ คืน ๗ วันดว้ ยกนั

เม่ือพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ เสด็จเถลิงถวลั ยราชสมบตั ิ ได้
โปรดใหส้ ร้างพระนครใหม่ข้างฝ่ังตะวนั ออก ของแม่น้าเจา้ พระยา และร้อื กา้ แพงพระราชวงั กรงุ
ธนบุรอี อก ด้วยเหตุนวี้ ดั แจ้งจึงไมไ่ ด้อยใู่ นเขตพระราชวังอีกต่อไป พระองค์จึงโปรดให้วัดแจง้ เปน็
วัดที่มพี ระสงฆ์จ้าพรรษาอกี คร้ังหนง่ึ โดยนิมนต์ พระโพธิวงศาจารย์ จากวัดบางหญ้าใหญ่ (วัด
ระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ) มาครองวัด พร้อมท้ัง พระศรสี มโพธิและพระภิกษสุ งฆจ์ ้านวนหนง่ึ มา
เป็นพระอนั ดบั

นอกจากนน้ั พระองค์ทรงมอบหมายให้ สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ กรมหลวงอิศรสนุ ทร
(รชั กาลท่ี ๒) เป็นผดู้ า้ เนนิ การปฏสิ งั ขรณ์วัดแจง้ แต่การปฏสิ ังขรณ์คงส้าเร็จเพียงกุฏิสงฆ์ สว่ น
พระอโุ บสถและพระวิหาร ยังไม่ทันแลว้ เสร็จ ก็พอดีสิน้ รัชกาลที่ ๑ ในปี พ.ศ.๒๓๕๒ เสียก่อน
(เมือ่ ปี พ.ศ.๒๓๒๗ พระแกว้ มรกตได้ยา้ ยมาประดษิ ฐาน ณ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม ใน

พระบรมมหาราชวัง ส่วนพระบางนน้ั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ไดโ้ ปรด
พระราชทานคนื ไปยงั นครเวยี งจันทร์ ประเทศลาว)

ต่อมาในรชั กาล พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั รชั กาลที่ ๒ พระองค์ทรงด้าเนนิ การ
ปฏสิ ังขรณต์ ่อจนเสรจ็ มกี ารจดั งานสมโภชใหญ่ถงึ ๗ วนั ๗ คืน แล้วโปรดพระราชทานพระนาม
วดั ว่า ‘วดั อรณุ ราชธาราม’

ส่วนยอดสดุ ขององค์พระปรางค์ใหญ่ เป็น ‘ยอดนภศูล’ ครอบด้วยมงกฎุ ปิดทองอีกชั้นหนึ่ง

ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ ๓ ได้ทรงปฏิสงั ขรณว์ ัดอรณุ ฯ ใหมห่ มด
ทัง้ วดั พร้อมทงั้ โปรด ใหล้ งมอื กอ่ สรา้ งพระปรางค์ตามแบบทที่ รงคิดขึ้นดว้ ย ซ่งึ การกอ่ สร้างและ
ปฏิสังขรณส์ ่ิงต่างๆ ภายในวัดอรุณฯ นส้ี ้าเร็จลงแล้ว แต่ยงั ไม่ทนั มีงานฉลองกส็ ้ินรัชกาลท่ี ๓ ในปี
พ.ศ.๒๓๙๔

เมื่อ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี ๔ เสดจ็ เถลงิ ถวัลยราชสมบัติ ในปี พ.ศ.
๒๓๙๔ พระองคไ์ ด้โปรดให้สร้างและปฏสิ ังขรณส์ ่ิงตา่ งๆ ในวัดอรุณฯ เพิม่ เติมอีกหลายอย่าง อกี
ทงั้ ยังได้อญั เชญิ พระบรมอฐั ขิ องพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย มาบรรจไุ วท้ ี่ พระพทุ ธ
อาสนข์ องพระประธานในพระอโุ บสถ ทีพ่ ระองค์ทรงพระราชทานนามว่า ‘พระพุทธธรรมมิศรราช
โลกธาตดุ ิลก’ และเม่ือไดท้ รงปฏิสังขรณ์เสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ จงึ ได้พระราชทานนามวัดเสียใหม่วา่
‘วัดอรุณราชวราราม’ ดังที่เรียกกันมาจนถึงปัจจุบัน

** สา้ นกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ


Click to View FlipBook Version