The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาต้นแบบ(01)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by alisaracim, 2022-05-06 02:51:16

รายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาต้นแบบ

รายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาต้นแบบ(01)

รายงานการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศึกษาตน้ แบบ

หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
กอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ำรงตำแหนง่ รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕

แหง่ ท่ี ๑ วนั ท่ี ๒๕ - ๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาลพบุรี

แหง่ ที่ ๒ วันที่ ๒ – ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี

โดย

นางอลิสรา สุขสม
กลมุ่ ๖ เลขท่ี ๖

สำนกั พฒั นาสมรรถนะครูและบคุ ลากรอาชวี ศึกษา

สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
รว่ มกับ สถาบนั พฒั นาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา

สังกดั สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

รายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาเลม่ นเ้ี ปน็ ส่วนหน่ึงของการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากร
ทางการศกึ ษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา สังกัดคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ในการ
ฝึกประสบการณ์ครง้ั นี้ ข้าพเจ้าไดฝ้ กึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษา ๒ แห่ง แห่งท่ี ๑ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาลพบรุ ี ตง้ั แต่
วนั ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ ถงึ วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๕ และแห่งท่ี ๒ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี พชรบุรี ตั้งแต่
วนั ท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕

การฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาครงั้ น้ี เน้นการฝึกปฏบิ ตั งิ านในสถานการณจ์ ริงทำให้เห็น
คุณลกั ษณะในการดำรงตนของรองผู้อำนวยการสถานศึกษา ไดเ้ รยี นรูภ้ าวะผู้นำทางวชิ าการและวิชาชพี อาชีวศึกษา
การบริหารจัดการสถานศึกษา โดยการวเิ คราะหบ์ ริบทสถานศึกษา ในการบรหิ ารจัดการการพัฒนาภารกิจในทกุ ๆ
ด้าน การใชเ้ ทคโนโลยี นวัตกรรม การแก้ปัญหา เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาสคู่ วามเปน็ เลิศ

ขา้ พเจา้ ขอขอบพระคณุ ท่านวิทยากรพี่เล้ียง ๑)ทา่ นดร.อนิ ดา แตงอ่อน ๒)ทา่ นดร.อรพิน ดวงแก้ว และ
ทา่ นผู้อำนวยการวทิ ยาลยั ทง้ั ๒ แหง่ ๑)ผอ.สมชาย อนิ ทร์ปรางค์ ๒)ผอ.นรินทร์ แก้วทอง ทช่ี ว่ ยใหค้ ำแนะนำใน
การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาของข้าพเจ้าไดส้ ำเร็จลุล่วง ตามจุดประสงค์ของหลักสตู ร ผลจากการฝึก
ประสบการณ์ในสถานศึกษาคร้ังนี้ ขา้ พเจ้าจะนำไปใช้ประโยชน์ในการดำรงตนในตำแหนง่ รองผู้อำนวยการ
สถานศึกษา ตลอดจนนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏิบัตงิ านต่อไป

นางอลิสรา สุขสม
๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕

สารบญั หนา้

คำนำ ข
สารบญั
รายงานการฝึกประสบการณ์ แห่งท่ี ๑ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาลพบรุ ี ๑

๑ ขอ้ มูลพน้ื ฐานสถานศึกษา ๒
๒ ขอ้ มูลคา่ นิยม วัฒนธรรมท้องถน่ิ ๓
๓ วิเคราะหบ์ ริบทสถานศึกษา ๓

๑) กลยุทธ์ในการขับเคล่ือน Future Skill ๔
๒) การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกบั สถานประกอบการ
๓) ระบบการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ ๖
๔) การขบั เคลื่อนระบบงานวชิ าการ ๗
รายงานการฝกึ ประสบการณ์ แหง่ ที่ ๒ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี พชรบรุ ี ๗
๑ ขอ้ มูลพนื้ ฐานสถานศึกษา ๘
๒ ขอ้ มูลคา่ นยิ ม วัฒนธรรมท้องถ่นิ ๙
๓ วเิ คราะห์บริบทสถานศกึ ษา ๙
๑) กลยทุ ธ์ในการขับเคล่ือน Future Skill ๑๐
๒) การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของระบบความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ
๓) ระบบการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ ๑๒
๔) การขับเคลอ่ื นระบบงานวชิ าการ ๑๕
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ภาพประกอบการฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษาแห่งที่ ๑
ภาคผนวก ข ภาพประกอบการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษาแหง่ ที่ ๒

รายงานการฝึกประสบการณในสถานศกึ ษา
แหงที่ ๑ วนั ที่ ๒๕ - ๒๙ เมษายน ๒๕๖๕

ณ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาลพบุรี

๑. ขอ้ มูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา
ท่ีอยู่ วิทยาลยั อาชีวศึกษาลพบุรี ต้งั เลขที่ ๑๓๙ หมู ๖ถนนสระแกว้ -ปา่ หวาย ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมือง

จงั หวัดลพบรุ ี โทรศพั ท์ ๐๓๖-๔๒๑๒๔๕ โทรสาร ๐๓๖-๔๒๑๒๔๕ Website http://www.lbvoc.ac.th เนือ้ ที่
ของสถานศกึ ษา ๒๒ ไร่ ๑ งาน ๓๙ ตารางวา

ประวตั สิ ถานศกึ ษา
กรมอาชีวศึกษา ได้จัดทำโครงการแยกวิทยาลัยเทคนิคลพบุรี ซึ่งมีขนาดใหญ่มาก โดยแยกประเภทวิชา
พาณิชยกรรม คหกรรม และศิลปกรรม เป็นสถานศึกษาแห่งใหม่ ใช้ชื่อว่า “วิทยาลัยอาชีวศึกษาลพบุรี”
เพือ่ ให้สถานศึกษาท้ังสองแห่งมีความคล่องตัว ในการบริหารงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยได้รับการสนับสนุน
จากผ้บู ัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๓ ในขณะนัน้ เพ่ือขอใช้ท่รี าชพสั ดุในความครอบครองของกองทัพบก บริเวณ
ตดิ กบั คา่ ยวชริ าลงกรณ์ ด้านทิศใต้ ต.ปา่ หวาย อ.เมือง จ.ลพบรุ ี มขี นาดเนื้อที่ ๒๒ ไร่ ๑ งาน ๓๙ ตารางวา เป็น
สถานที่จัดตั้ง กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาลพบุรี เป็นสถานศึกษาสังกัดส่วนกลาง
กองวิทยาลัยอาชีวศกึ ษา กรมอาชีวศึกษา เมือ่ วันท่ี ๑๖ กนั ยายน ๒๕๓๖
ปีการศึกษาพ.ศ. 2539 เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชา
พณิชยการ กลุ่มวชิ าการบญั ชี กลมุ่ วิชาคอมพิวเตอรแ์ ละกลมุ่ วิชาการขาย โดยรับนักเรยี นจำนวน 400 คน เปิดทำ
การสอนครัง้ แรก เมือ่ วันท่ี 11 มถิ ุนายน 2539
การจดั การศกึ ษา
วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาลพบรุ ี ทำการเปิดสอน ๒ ระดับ คอื
๑. ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) จำนวน ๘ สาขางาน ดังน้ี ๑) สาขางานการบญั ชี ๒)สาขางาน
การตลาด ๓) สาขางานคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ๔) สาขางานธรุ กิจคา้ ปลกี ๕) สาขางานอาหารและโภชนาการ ๖) สาขา
งานวิจิตรศลิ ป์ ๗) สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิก และ ๘) สาขางานการโรงแรม

๒. ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) จำนวน ๖ สาขางาน ดงั นี้ ๑) สาขางานการบญั ชี ๒) สาขา
งานธรุ กจิ ดจิ ิทัล ๓) สาขางานธุรกจิ ค้าปลกี สมัยใหม่ ๔) สาขางานอาหารและโภชนาการ ๕) สาขางานดิจทิ ัลกราฟิก
และ ๖) สาขางานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
๒. ขอมูลคานิยม วัฒนธรรมทองถนิ่

สภาพชุมชน อำเภอเมืองลพบุรีเป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การบริหารเศรษฐกิจ การคมนาคม
ของจังหวัดลพบุรี เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการสำคัญ สถานศึกษา สาธารณสุข และค่ายทหารอยู่หลายแห่ง
จนได้ชือ่ ว่าเป็น "เมอื งขา้ ราชการ เมืองการศึกษา และเมืองทหาร”

สภาพสังคม เป็นอำเภอท่ีมีบริการด้านการศึกษาระดับดีพอสมควรมีสถานศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลถึง
ระดบั ปรญิ ญาตรี จำนวน ๑๒ แห่ง ส่วนมากอย่ใู นเขตอำเภอเมือง

วิทยาลัยอาชีวศึกษาลพบุรี เป็นวิทยาลัยในอำเภอ ซึ่งจัดการเรียนการสอนและบริการวิชาชีพแก่ชุมชน
โดยมีพื้นที่ให้บริการในอำเภอต่างๆ ของจังหวัดลพบุรีและจังหวัดใกล้เคียงบางส่วน ปัจจุบันมีนักเรียน นักศึกษา
จำนวน ๒๘๙ คน บคุ ลากร จำนวน ๔๕ คน
๓.วิเคราะห์บริบทของสถานศกึ ษา

จดุ เด่น
เป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ซึ่งสถานศึกษาสามารถผลิตกำลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการกับตลาดแรงงาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบทวิภาคีซึ่งนักเรียน นักศึกษา สามารถเข้าทำงานไ ด้ทันที
เมื่อสำเร็จการศกึ ษา สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการหลักสูตรที่หลากหลายสอดคล้อง
กับความต้องการของชุมชนมีการทำความร่วมมือกับสถานประกอบการเพื่อส่งนักเรียน นักศึกษาเข้าฝึก
ประสบการณต์ รงตามสาขาที่ตอ้ งการ เป็นสถานศึกษาแห่งเดยี วในจงั หวดั ลพบรุ ที จ่ี ดั การเรียนการสอนประเภทวิชา
อุตสาหกรรมการท่องเทย่ี ว ครผู สู้ อนมีวุฒิการศึกษาตรงตามสาขาทีส่ อน รอ้ ยละ ๑๐๐ มกี ารจดั ทำแผนการเรียนรู้
สมรรถนะอาชีพ รอ้ ยละ ๑๐๐ มกี ารจัดระบบการดแู ลผู้เรียนอย่างใกลช้ ิดสง่ ผลใหผ้ เู้ รียนมผี ลการเรียน เป็นที่น่า
พอใจ การบริหารจัดการสถานศึกษา เป็นสถานศึกษาที่มีความพร้อม อาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ ที่เพียงพอ มี
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมในการจัดการเรียนการสอนและมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยใี ห้มคี วามทันสมัยท่ีรองรับ
การใชง้ านของผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
จุดทค่ี วรพฒั นา
สถานศกึ ษามีการปรบั เปลย่ี นผู้บรหิ ารบอ่ ยคร้ังทำให้การปฏิบตั งิ านและการพัฒนาสถานศกึ ษาไม่ต่อเนื่อง

การศกึ ษากลยทุ ธ์และกระบวนการพฒั นาทีเ่ ปน็ แนวทางสู่การปฏิบตั ใิ นการบริหารสถานศกึ ษา
ประเดน็ ที่ ๑ กลยุทธใ์ นการขบั เคล่อื น Future Skill ของสถานศกึ ษา

การสร้างผู้เรียนสูค่ วามเป็นเลิศในยุคดิจิทลั ด้านการออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์กราฟิก โดยมีหลักในการ
ดำเนินงานตามกระบวนการ PDCA ดงั นี้

การวางแผนการดำเนนิ งาน (P : Plan )
สถานศึกษามีการประชุม ผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องเพี่อร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์ในการพัฒนา
ผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศในยุคดิจทิ ัลด้านการออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์กราฟิก โดยทุกคนมีส่วนร่วมในการ วางแผน
กำหนดกลยทุ ธ์

การดำเนนิ งานตามแผน (D : Do )
สถานศกึ ษามีการเตรยี มความพร้อมในด้านต่างๆ ดังน้ี ๑)พัฒนาครผู ้สู อนให้มีความรูค้ วามสามารถเฉาะ
ทางมากย่งิ ข้นึ โดยการส่งครผู ู้สอนเข้ารว่ ม อบรมเพิ่มเตมิ ความรู้ ๒)พัฒนาหลักสตู รรายวิชา พร้อมกระบวนการ
จดั การเรยี นการสอนใหม้ ีความทนั สมยั ๓)จดั หาวัสดุ ครุภณั ฑ์ ให้มีความพร้อมและทันสมยั เหมาะสำหรบั การ
จัดการเรียนการสอน
การตรวจสอบ (C : Check)
สถานศกึ ษามีการนิเทศตดิ ตามกระบวนการจดั การเรยี นการสอน มีการสรปุ ข้อดี ข้อเสีย จุดออ่ น และจดุ
แข็ง และปัญหา ในการจดั การเรียนการสอนในสาขาวิชาการออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์กราฟิก
การปรับปรุงแกไ้ ข (A : Action)
นำผลทไี่ ดจ้ ากการสรุปผลการนเิ ทศตดิ ตามมาแกไ้ ข ปรับปรุง พฒั นา ให้มปี ระสทิ ธภิ าพสำหรบั โดยนำ
ปัญหาท่ีพบมามาแก้ไข และดำเนินการอีกครัง้ เพื่อใหก้ ารดำเนินงานมปี ระสิทธภิ าพ

ประเด็นท่ี ๒ การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความรว่ มมอื กับสถานประกอบการ
การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan:P)
สถานศึกษามีการวางแผนความร่วมมือในการจัดการศึกษา เพื่อผลิตกำลังคนให้สอดคลอง กับความ

ต้องการของตลาดแรงงาน อีกทั้งสถานประกอบการยังมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายแผนงาน และเป้าหมาย
การจัดการศึกษาวิชาชีพร่วมกันกบั สถานศึกษา สอดคลองกับยุทธศาสตร์ที่ ๕ ของสถานศึกษา สร้างความเขม้ แข็ง
เครอื ขา่ ย และส่งเสรมิ ความร่วมมือ โดยการดำเนนิ การดงั น้ี ๑.พัฒนาเครอื ข่ายความร่วมมือการแลกเปลี่ยนเรียนรู
ระหว่างครูบุคลากรของสถานศึกษา ร่วมกับสถานประกอบการ ๒.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร
การเรียนการสอน ๓.พฒั นาเครอื ขา่ ยการมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการศึกษาร่วมกนั ๔.สร้างและพฒั นาเครือข่าย
การมีสว่ นรว่ มในการฝึกงาน สรา้ งเสริมทกั ษะ ประสบการณแกผู้เรียน

การดำเนนิ งานตามแผน (Do:D)
สถานศึกษากำหนดโครงสร้างคณะทำงาน กำหนดวิธีการและการดำเนินงานไว้อย่างชัดเจน จัดทำบันทึก
ความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพเพื่อผลิตกำลังคน โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนได้รับความรู้
ทกั ษะและประสบการณจ์ รงิ จากสถานประกอบการในสาขาทเี่ กีย่ วขอ้ งทกุ แผนกวชิ า
การตรวจสอบ (Check:C)
มีการกำหนดปฏิทินในการนิเทศนักเรียน นักศึกษาที่ฝึกอาชีพในสถานประกอบการอย่างสม่ำเสมอ เพื่ อ
ติดตามผลการฝึกอาชีพ ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน จุดเด่น จุดด้อยของสถานประกอบการอย่างเป็นระบบ
เพื่อเป็นการวัดและประเมินผลตามรายวิชาที่ฝึกอาชีพร่วมกับสถานประกอบการอย่างเป็นระบบและเป็นแนว
เดียวกนั หากพบปัญหาใด ก็จำนำไปเสนอผอู้ ำนวยการและหาแนวทางแกไ้ ข
การปรับปรงุ แก้ไข (Action:A)
มีการสรุป รายงานผลการดำเนินงานจากการนิเทศนักเรียน นักศึกษา จุดเด่น จุดด้อยของผู้ฝึกอาชีพหรอื
ฝกึ ประสบการณ์ หรือจดุ เด่น จดุ ด้อยของสถานประกอบการ แก้ไขขอ้ บกพร่องท่ีเกิดข้ึนในขณะดำเนินงานเพ่ือเป็น
การพัฒนาปรับปรงุ หลกั สูตรและการจัดการเรียนการสอนให้ไดต้ ามมาตรฐาน

ประเดน็ ที่ ๓ ระบบการบรหิ ารจัดการส่คู ุณภาพ
การวางแผนการดำเนินงาน (Plan:P)
มกี ารเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานในครั้งก่อนมาเป็นแนวทาง มีการ

แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนนิ งาน มกี ารประชมุ เพ่ือวางแผนงานและมอบหมายใหง้ านแต่ละฝ่ายจดั ทำแผนงาน
โครงการ เพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาพิจารณาแผนงาน/โครงการในแต่ละปงี บประมาณ เพอื่
เปน็ การพัฒนางานในดา้ นต่างๆ ทำให้ระบบบริหารจัดการ ไปสคู่ ุณภาพได้อย่างมีมาตรฐาน

การดำเนนิ งานตามแผน (Do:D)
สถานศกึ ษาเชญิ ประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา ประชมุ พิจารณาแผนงาน/โครงการของสถานศึกษาให้
มีความเหมาะสมในทุกๆ ดา้ น โดยมงุ่ ทจ่ี ะพฒั นาสถานศึกษาให้มีศักยภาพ จัดสรรงบประมาณตามแผนงาน/
โครงการใหม้ ีความเหมาะสมและเป็นไปตามระเบยี บ ผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมายตามหนา้ ท่ี ลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับ
มอบหมาย โดยมุ่งเน้นในด้านการจดั การเรยี นการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั
การตรวจสอบ (Check:C)
สถานศกึ ษามีการนิเทศ กำกับ ติดตามผลการดำเนนิ งาน และรายงานผลการดำเนินงาน อยา่ งชัดเจน เมอ่ื
สน้ิ สุดการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุปผลการดำเนนิ โครงการเพ่ือเสนอตามลำดบั
ต่อผบู้ งั คบั บัญชา และสอบถามความพึงพอใจจากการดำเนินงาน พร้อมข้อเสนอแนะตา่ งๆ
การปรบั ปรุงแก้ไข (Action:A)
หลังสรุปผลการดำเนินงานต่อผู้บังคับบัญชานำข้อเสนอแนะ หรือข้อที่ควรพัฒนามาใช้ในการดำเนินงาน
เพื่อตั้งข้อสังเกตในการดำเนินงาน แก้ไขข้อบกพร่องและส่งเสริมจุดเด่นในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป เพื่อนำ
สถานศึกษาไปส่รู ะบบการบรหิ ารจดั การสูค่ ณุ ภาพ

ประเด็นท่ี ๔ การขับเคลื่อนระบบงานวิชาการ
การวางแผนการดำเนินงาน (Plan:P)
จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานของฝ่ายวิชาการอย่างเป็นรูปธรรม จัดทำคำสั่งการปฏิบัติงาน ประชุมร่วม

วางแผนในฝ่ายวิชาการ มีการจัดทำแผนการเรียนรู้ให้ได้มาตรฐานเป็นไปตามสมรรถนะมีการส่งเสริมให้ครู และ
บุคลากรทางการศึกษา มีภาวะผู้นำทางวิชาการ โดยยึดปรัชญาการศึกษาของชาติ หลักการจัดการศึกษา บริหาร
จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ส่งเสริมให้มีการวิจัยเพือ่
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ทักษะการใชภ้ าษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร และบรกิ ารวิชาการสู่ชุมชน

การดำเนินงานตามแผน (Do:D)
ฝ่ายวิชาการได้ดำเนนิ การตามแผนปฏิบัตกิ าร และแผนพัฒนาสถานศึกษามุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏบิ ัตงิ าน
ให้บรรลุเป้าหมายทีต่ ั้งไว้ เช่น แผนกวิชามีการจัดแผนการเรียนการสอนตามหลักสตู ร ควบคุม กำกับ ติดตามและ
ปรับปรุงแผนการสอนของครูให้มีความสอดคล้องกับสมรรถนะของนักเรียน นักศึกษาแต่ละระดับชั้น งานพัฒนา
หลักสูตรการเรียนการสอน มีการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้กับบริบทของชุมชน งานวัดผลและประเมินผล
พัฒนาการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ โดยใช้ ศธ.02 มาบริหารจัดการในงานวัดผลและประเมินผลของนักเรียน
นกั ศกึ ษา งานวทิ ยบริการและหอ้ งสมุด มีการจดั หาทรัพยากรเพ่ืออำนวยความสะดวกในการสืบคน้ ข้อมูล จัดหาสื่อ
ประกอบการเรียนการสอน งานอาชีวศึกษาและระบบทวิภาคี มีการจัดทำบันทึกความร่วมมือกับสถาน
ประกอบการทุกสาขาวิชา เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกอาชีพและประสบการณ์จริง และงานสื่อการเรียนการสอน ได้มีการ
จัดหาส่ือการเรยี นการสอนที่สอดคล้องกับรายวชิ า

การตรวจสอบ (Check:C)
สถานศึกษามีการส่งเสริมและสนับสนุนในด้านการจัดการเรียนการสอน พัฒนาห้องเรียน มีการติดตาม
แผนงาน/โครงการอย่างต่อเนื่อง ให้คำแนะนำช่วยเหลือ อย่างเป็นระบบ มีการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการ
สอนทุกภาคเรยี น
การปรับปรุงแกไ้ ข (Action:A)
ฝ่ายวิชาการได้จัดทำ SWOT เพื่อหาข้อดี ข้อเสีย จุดเด่น จุดด้อยและจุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำมาทำการ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ร่วมกันกับคณะกรรมการ เพื่อเป็นการพัฒนาหลักสูตรและพัฒนาในด้านการจัดการเรียนการ
สอน สง่ ผลใหง้ านด้านวิชาการมีความเขม้ แข็ง

รายงานการฝกึ ประสบการณในสถานศกึ ษา
แหงท่ี ๒ วันท่ี ๒ – ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี

๑. ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา
ที่อยู่ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี พชรบุรี ต้ังอยเู่ ลขที่ ๕๙ หมู ๓ ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ

จงั หวดั เพชรบรุ ี โทรศัพท์ ๐๓๒-๗๗๒๘๕๕ โทรสาร ๐๓๒-๗๗๒๘๕๖ Website http://km.pkaset.ac.th
Email [email protected] เนอ้ื ที่ของสถานศึกษา ๔,๖๒๐ ไร่

ประวตั สิ ถานศึกษา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี สงั กดั คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีพ้ืนท่ี
ดำเนินการจรองในปัจจุบัน ๒.๖๒๐ ไร่ ซึ่งเคยเป็นพื้นที่ของท่านจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ โดยมีชื่อเริ่มก่อตั้งว่า
วทิ ยาลัยเกษตรกรรมเพชรบุรี และชอ่ื ที่เรยี กขานกนั ในศิษยเ์ กา่ ว่า “เกษตรจอมพล”
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี เป็นสถานศึกษาเกษตรเริ่มดำเนินการก่อตั้งเมื่อพุทธศักราช
๒๕๑๔ เพอ่ื สนองนโยบายของรัฐบาล ทีจ่ ะนำปรกึ ษาทางดา้ นเกษตรในจงั หวดั ทส่ี ำคัญ และขยายการศึกษาอาชีวะ
เกษตรใหก้ วา้ งยิ่งขึ้น เพ่ือผลิตบุคลากรในระดับท่ีมีความรู้ ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร โดยเฉพาะ
อยา่ งย่ิงในจังหวัดเพชรบุรปี ระชากรสว่ นใหญ่มอี าชพี หลกั คือ กสิกรรม คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๖.๒
การจดั การศึกษา
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี ทำการเปดิ สอน ๓ ระดบั คือ
๑. ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) ดงั น้ี ๑)สาขางานเกษตร(เกษตรปฏิรปู ) ๒)สาขางานเกษตร
(อาชวี ศกึ ษาเพ่ือการพฒั นาชนบท-อศ.กช.)
๒. ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ดังน้ี ๑)สาขาวิชาเกษตรศาสตร์(สมทบ) ๒)สาขาพชื สวน
(ปกติ) ๓)สาขาเพาะเลยี้ งสตั ว์นำ้ (ปกต,ิ ทวิภาค)ี ๔)สาขาการผลิตสตั ว์(ปกต,ิ ทวภิ าค)ี ๕)สาขาเทคโนโลยภี ูมิทศั น์
(ทวิภาค)ี จัดการเรยี นการสอนรว่ มกบั สนามกอลฟ์ สปินฟวิ ส์ อ.ชะอำ จ.เพชรบรุ ี
๓. ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายปฏบิ ัติการ (ทลบ.) ได้แก่ สาขาเทคโนโลยีการผลิตสตั ว์(หลักสูตรตอ่ เน่ือง)

๒. ขอมูลคานิยม วฒั นธรรมทองถนิ่
สภาพชุมชน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี สามารถเดินทางเข้าสู่วิทยาลัยฯได้หลายทาง คือ

เส้นทางที่๑ ทางรถยนต์ถนนทางเข้าเรียกว่า ถนนจอมพล วิทยาลัยอยู่ห่างจากตัวจังหวัดเพชรบุรี ๖๔ กิโลเมตร
เส้นทางที่ ๒ ทางรถยนต์ เส้นทางถนนเลี่ยงเมืองสายชะอำ-ปราณบุรี โดยห่างจากแยกหุบกะพงประมาณ ๒๕
กิโลเมตร เส้นทางที่ ๓ โดยรถไฟ ถา้ เปน็ ขบวนรถดว่ นตอ้ งมาลงทีส่ ถานีรถไฟชะอำ หรอื หวั หนิ

สภาพเศรษฐกิจ จังหวัดเพชรบุรี มีโครงสร้างทางเศรษฐกิจหลักอยู่ที่ภาคการเกษตร และการท่องเที่ยว
ในดา้ นการเกษตร มีผลผลติ หลักของจังหวัด คือ ข้าว สบั ปะรด กล้วยหอมทอง ชมพู่ มะนาว รวมถงึ การเพาะเลี้ยง
โคเน้อื โคนม สุกร ไก่เน้อื และกุ้ง

สภาพสังคม ลักษณะทางสังคม ในพื้นที่ของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี ตั้งอยู่ห่างจากตัว
จังหวดั เพชรบรุ ี และมีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ทำให้วิทยาลยั ต้องรับหน้าที่บริการ
การศึกษาท้ังสองจังหวัด ปัจจบุ นั มีนกั เรียน นักศึกษา จำนวน ๖๕๐ คน บคุ ลากร จำนวน ๖๐ คน
๓.วิเคราะหบ์ ริบทของสถานศกึ ษา

จดุ เดน่
๑.เป็นสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินองค์การเกษตรในอนาคตแห่งประเทศไทย(อกท.) ในพระบรม
ราชปู ถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า สยามบรมราชกุมารี
๒.เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็นสถานศึกษาต้นแบบด้านต่างๆ เช่น การพัฒนาระบบงานฟาร์มและ
โรงงานที่ได้มาตรฐานในการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ เครื่องรีดนมวัวระบบอัตโนมัติ ซึ่งเป็น Digital Smart
Farm โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นม นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกที่ร่วมจัดการเรียนการสอน
ในพืน้ ท่ีของวทิ ยาลยั ฯ ได้แก่ ฟารม์ กล้วยไม้เพอ่ื การส่งออก การวิจยั และพฒั นาการปลูกและสารสกดั จากพืชกัญชา
และกัญชง ซึ่งโครงการต่างๆ เหล่านีส้ ามารถสร้างรายได้ให้กับวิทยาลยั และนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจดั การเรียน
การสอน ดงึ ดดู ให้ผูเ้ รยี นสนใจมาเรียนสายเกษตรเพมิ่ มากขน้ึ
๓.มีการจัดระบบดูแลผู้เรียน เป็นอย่างดี ซึ่งจัดระบบดูแลผู้เรียนตลอด ๒๔ ชั่วโมง ในระดับปวช. ตาม
นโยบายเรยี นฟรี อยู่ฟรี มรี ายได้ ส่วนในระดับปวส. วิทยาลยั ฯไดย้ กเว้นคา่ หน่วยกติ และค่าหอพกั ให้กับนักศึกษา
๔.เป็นสถานศึกษาที่มีผู้บริหาร มีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการสถานศึกษา มีวิสัยทัศน์ มี
ภาวะผู้นำ มีความรอบรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษา มีความคิดริเริ่มและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างชัดเจน ใช้
หลกั การบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม มกี ารจดั หลกั สตู รอาชีวศึกษาเพ่อื การพฒั นาชนบท (อศ.กช.) ทำใหส้ ถานศึกษาเป็น
ตน้ แบบสำหรบั สถานศกึ ษาอาชวี เกษตรอ่นื ๆ
๕.เป็นสถานศึกษาที่มีการประสานการทำงานร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครอง ชุมชน สถาน
ประกอบการ และหน่วยงานต่างๆ ในการจดั การศกึ ษา โดยกำหนดเปา้ หมายอย่างชัดเจนในการพัฒนาผเู้ รยี น
พัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านการบริหารจัดการ ด้านอาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ งานฟาร์ม
ระบบสาธารณูปโภคพ้นื ฐาน ให้ครบถ้วน และสมบูรณ์

จุดที่ควรพฒั นา
๑.ทางวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบรุ ี ขาดการประชาสัมพนั ธ์วทิ ยาลัยกับหน่วยงานภายนอก เชน่
การประชาสัมพนั ธ์ผ่านเวบ็ ไซด์ การผลติ จดหมายข่าว
๒.ขาดแคลนบคุ ลากร จำนวนบคุ ลากรนอ้ ย ทำใหไ้ ม่เพียงพอกบั การปฏิบตั ิงาน

การศกึ ษากลยุทธแ์ ละกระบวนการพัฒนาท่เี ป็นแนวทางสู่การปฏิบตั ใิ นการบรหิ ารสถานศกึ ษา
ประเด็นที่ ๑ กลยุทธใ์ นการขับเคลอื่ น Future Skill ของสถานศกึ ษา

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี มีปัจจัยและนวัตกรรมท่สี ง่ ผลต่อความสำเร็จ กลยุทธ์ในการขบั เคลือ่ น
FUTURE SKILL ของวิทยาลัยเร่ิมจากผ้นู ำทด่ี ีและ Coach ทีมงานอยา่ งมือ โดยการขับเคลอื่ นผ่านการฝึกทกั ษะ ปฏิบตั ิ
จริงให้กบั นักศกึ ษาในสาขาวิชาสัตวศาสตร์ โดยมเี คร่อื งรดี นมววั ระบบอตั โนมัติ ซึ่งเปน็ Digital Smart Farm แห่งเดียว
ของวทิ ยาลัยเกษตรในประเทศไทย และมโี รงงานแปรรปู ผลิตภณั ฑ์นม ทผ่ี ลิตนมพลาสเจอรไ์ รซ์ส่งโรงเรียนในจงั หวัด
เพชรบุรี ซ่งึ ก่อให้เกิดรายได้

การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan:P)
สถานศึกษากำหนดนโยบาย วิสัยทศั น์ ให้ชัดเจนร่วมกัน จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วาง
กลยุทธ์ให้สอดคล้องกับสถานศึกษาเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ แต่งตั้งครู บุคลากรและเจ้าหน้าที่ ทำหน้าที่รับผิดชอบตามที่
ได้รับมอบหมายตามความเหมาะสมความสามารถ ภายใต้แนวความคิด การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและ
บุคลากรเข้าร่วมประชุมสัมมนา อบรมและศึกษาดูงานเพื่อสร้างความรู้ความเขา้ ใจความตระหนกั ในบทบาทหน้าที่ที่ได้รบั
มอบหมาย รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาชว่ ยในกระบวนการบรหิ ารจัดการ
การดำเนนิ งานตามแผน (Do:D)
สถานศกึ ษาจัดหาวสั ดคุ รุภณั ฑ์ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น ปฎบิ ตั ิตามแผนของสถานศกึ ษา ตามกลยทุ ธ์ตา่ งๆ ในพันธ
กิจของวิทยาลยั ท่ีวางไว้ พัฒนาระบบบริหารและจัดการศึกษาอยา่ งมีคุณภาพได้มาตรฐานพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของ
โลกในศตวรรษท่ี 21 ดำเนนิ การบริหารจดั การสถานศกึ ษาตามแนวทางของสถานศกึ ษาตา่ งๆที่ไดว้ างไว้ เชน่ พฒั นาครใู หม้ ี
ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ใช้เครื่องรีดนมวัวระบบอัตโนมัติ ในการจัดการเรียนการสอน บริหารจัดการหลักสูตร การ
จัดการเรียนรู้ สือ่ การเรียนการสอน การวดั ผลประเมินผล ให้มีคุณภาพตามเปา้ หมาย พฒั นาผูเ้ รียนและผู้สำเร็จการศึกษา
อาชวี ศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานตรงกับความตอ้ งการของสถานประกอบการ ส่งเสรมิ และพฒั นาการประกนั คณุ ภาพ
ภายในสถานศกึ ษา ปฏิรูปการจัดการศึกษาโดยจัดและส่งเสรมิ การอาชวี ศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพมาตรฐาน
ดว้ ยโครงการต่างๆ ร่วมมอื กับสถานประกอบการและภาคีเครอื ข่าย
การตรวจสอบ (Check:C)
มีการกำกับ และติดตามตรวจสอบการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ประเมินผลการดำเนินงาน
ของแตล่ ะโครงการ เพื่อนำผลมาปรับปรุงแก้ไข
การปรับปรงุ แกไ้ ข (Action:A)
นำข้อบกพร่องแตล่ ะโครงการมาปรบั ปรุงแก้ไข และพัฒนา

ประเดน็ ที่ ๒ การสร้างความเข้มแขง็ ของระบบความรว่ มมอื กับสถานประกอบการ
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบรุ ี ไดม้ ีความรว่ มมือกับสถานประกอบการหลายแห่ง โดยการให้

สถานประกอบการเข้ามาใชพ้ ื้นท่เี พ่ือการศกึ ษา การวจิ ัย ในการทำโครงการตา่ งๆ ทางด้านเกษตรกรรม เชน่
รว่ มกบั หน่วยงานอน่ื ขบั เคลอื่ นการวิจัยและพัฒนาการปลกู และสารสกดั จากพชื กญั ชา และกญั ชง สวนกล้วยไม้
มลู นธิ ิระพี - กัลยา สาครกิ เพื่อดำเนินการตามขอ้ ตกลงความรว่ มมือการสง่ เสริมความรู้ และฝกึ ประสบการณ์

การวางแผนการดำเนินงาน (Plan:P)
สถานศกึ ษามีการส่งเสรมิ สนบั สนุน ส่งเสรมิ ให้มีความร่วมมือกับสถานประกอบการ ผู้ประกอบการ
อาชีวศึกษา สนับสนุนการดำเนนิ การ พฒั นาศักยภาพผปู้ ระกอบการอาชวี ศึกษาและผูเ้ รยี น อบรม ศึกษาดงู าน
และพัฒนาศกั ยภาพผู้เรยี น ครูท่ีปรกึ ษาธรุ กิจ ครูทเ่ี กย่ี วข้อง พรอ้ มท้งั ส่งเสรมิ การประกอบธุรกิจ การดำเนนิ ตาม
แผนมกี ารวางแผนสร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมือกับกบั ทุกภาคสว่ น ในการจัดการศกึ ษาเพ่ือผลิตกำลังคนให้สอด

คลองกับความต้องการของตลาดแรงงาน ประสานงาน ความรว่ มมอื ท้ังแบบเปน็ ทางการและไมเป็นทางการในทุก
ระดบั ใหเ้ กิดเอกภาพในการบริหารงาน

การดำเนินงานตามแผน (Do:D)
สถานศกึ ษาทำการสร้างเครือขา่ ยโดยอาศัยความรว่ มมือจากทกุ ฝ่าย สร้างการมสี ่วนรว่ มระหว่างภาครฐั
และภาคประกอบการในการจัดอาชวี ศกึ ษาเชิงรุก สร้างความเชอ่ื มัน่ จากผู้ปกครองและภาคสังคมเพื่อการสนับสนนุ
การเรยี นอาชวี ศึกษา สรา้ งเครือข่ายและผลติ นกั ศึกษาใหต้ อบสนองกับความต้องการของตลาดแรงงานในชมุ ชน
และกำหนดวิธกี ารและขน้ั ตอนในการดำเนนิ งาน เอาไวอย่างชดั เจน มีการลงนามความรว่ มมือกับสถาน
ประกอบการ ซ่ึงเพียงพอกับจำนวนผ้เู รยี นระบบทวภิ าคี และสอดคลองกบั สาขาวชิ าท่ีเปิดสอน
การตรวจสอบ (Check:C)
มีการกำกับ ตดิ ตาม ผลการดำเนนิ การอย่างต่อเน่ือง ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน เชน่ ประเมนิ ความสำเร็จ
อาชีวศึกษาจากโครงการตา่ งๆ
การปรบั ปรุงแกไ้ ข (Action:A)
สถานศึกษานำผลการสรุปรายงานการนิเทศ ผลการดำเนินงาน มาแบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงาน การ
ปรึกษาหารอื และการเข้ามามสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น ความร่วมมอื จดั การเรียนรูอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ
ประเดน็ ท่ี ๓ ระบบการบรหิ ารจัดการส่คู ุณภาพ
การวางแผนการดำเนินงาน (Plan:P)
สถานศึกษามีประชุมวางแผน ศึกษาแนวทางการจัดการสถานศึกษา สำรวจ ความพร้อมของสถานศึกษา
และภาคประกอบการในการจัดอาชีวศึกษา ดำเนินการประชุมคณะผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อ
ประชุมชี้แจงนโยบายการจัดการสถานศึกษา โดยกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๓ มาตรฐาน ๑๐
ประเด็นการประเมิน จัดทำคำสั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนินงานระดับสาขาวิชา และคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
เน้นการทำงานแบบมีสว่ นร่วม
การดำเนินงานตามแผน (Do:D)
ประสานการทำงานอยางเปน็ ระบบ มีการดาํ เนนิ งานตามคูมือประกนั คุณภาพ พฒั นาระบบบรหิ ารและจัด
การศึกษาอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐานพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 การปฏิบัติงานในทุก
ขน้ั ตอนอยู่ในรูปแบบ PDCA
การตรวจสอบ (Check:C)
สถานศึกษามีการวางกรอบในการประเมินผลที่ชัดเจน รวบรวมข้อมูลและสรุปรายงาน ทำการวิเคราะห
ข้อมูลและแปลความหมายสามารถนํามาใชประโยชนไดจริง มีการกำหนดผู้ประเมินผลไวอยาชัดเจน ดังรายงาน
การประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR)
การปรับปรุงแกไ้ ข (Action:A)
สถานศกึ ษามีการรวบรวมผลการดำเนินงานและผลการประเมนิ การประเมินทำใหส้ ามารถแกไขปรบั ปรุง
ไดถูกจุด มีการนำผลการประเมินมาใช้ประโยชนในการวางแผนในครั้งต่อไป
ประเด็นที่ ๔ การขับเคลื่อนระบบงานวิชาการ
การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan:P)
สถานศึกษามีการจัดทำแผนพัฒนาสถานศกึ ษา แผนปฏบิ ตั งิ านแบบม่งุ ผลสมั ฤทธ์ปิ ระจำปี มกี ารจัดทำ
โครงสร้างผ้รู ับผิดชอบงานวชิ าการในการดำเนนิ งาน ซึ่งประกอบด้วยงานต่างๆ ๖ งาน

การดำเนนิ งานตามแผน (Do:D)
สถานศกึ ษามีการดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั ิงานแบบม่งุ ผลสมั ฤทธิ์ประจำป
อยา่ งเป็นรูปธรรม เช่น งานพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นการสอน มกี ารจดั ทำหลกั สตู รตามโครงการอาชีวศกึ ษาเพ่ือ
การพัฒนาชนบท(อศ.กช.) รูปแบบการเรียนโดย๑)พบกลมุ่ ท่ศี ูนย์การเรียน ๒)เรยี นในแปลง ในฟาร์มของผูเ้ รยี น ๓)
ศกึ ษาดูงานจากกลมุ่ เกษตรกรท่ปี ระสบความสำเร็จ
การตรวจสอบ (Check:C)
สถานศึกษามีการกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ประเมินผลการเรียนด้วยระบบ ศธ.๐๒
หลักสูตรระยะสั้นประเมินผลตามสภาพจริงและจากชิ้นงานของผู้เรียน ประสานการทำงานอย่างเป็นระบบ การ
ปฏิบตั งิ านในฝา่ ยวิชาการอยใู่ นรปู แบบ PDCA
การปรับปรงุ แก้ไข (Action:A)
สถานศึกษามีการรวบรวมผลการดำเนินงานและผลการประเมนิ มีการนำผลการประเมินมาใช้ประโยชน
ในการวางแผนในระยะตอไป มีการนำเสนอปญหาและแนวทางแกปญหา

ภาคผนวก

ภาพประกอบการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
แหงที่ ๑ วนั ท่ี ๒๕ - ๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
ณ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาลพบุรี





ภาพประกอบการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
แหงที่ ๒ วนั ท่ี ๒ – ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี

เครื่องรดี นมวัวระบบอตั โนมัติ Digital Smart Farm

โรงงานแปรรูปผลติ ภัณฑน์ ม


Click to View FlipBook Version