The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2560-คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มงานนโยบายและแผนปี2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr, 2019-11-17 03:56:30

2560-คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มงานนโยบายและแผนปี2560

2560-คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มงานนโยบายและแผนปี2560

คำนำ

โรงเรียนวชั รวิทยา เปน็ สถานศกึ ษาขนาดใหญ่มีดาเนนิ การจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาผเู้ รียนตามมาตรฐาน
การศกึ ษา นโยบายและจุดเน้นของหนว่ ยงานตน้ สังกดั และของโรงเรียน กา้ วสู่ความเปน็ WorldClass Standard
School และประชาคมอาเซยี น (Association of South East Asian Nations : ASEAN) โรงเรยี นมคี ุณภาพ
นกั เรยี นไดร้ บั การพฒั นาและส่งเสรมิ ตาม ด้วยความร่วมมอื ของทุกฝา่ ยจึงทาใหโ้ รงเรียนประสพความสาเร็จเป็นที่
ปรากฏชัดอยา่ งในปัจจบุ นั ได้

กลุ่มงานนโยบายและแผนโรงเรยี นวชั รวิทยา ซึ่งประกอบดว้ ย งานแผนงาน งานประกนั คุณภาพการศึกษา
งานควบคมุ ภายใน งานสารสนเทศและงานโรงเรียนสจุ รติ ถอื เปน็ กลไกในการขับเคลื่อนการดาเนนิ งานของโรงเรียน
วชั รวิทยาใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยและมีการพฒั นาอย่างตอ่ เนือ่ งเอกสารฉบับนจี้ ะเปน็ แนวทางในการดาเนินงานและ
พฒั นางานของกลุ่มงานนโยบายและแผนตอ่ ไป

กลุ่มงานนโยบายและแผน
โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

สำรบญั หน้า
1
สารสนเทศพ้ืนฐานของโรงเรียนวชั รวิทยา 6
กล่มุ งานนโยบายและแผน 6
งานแผนงาน 11
งานประกนั คุณภาพ 18
งานควบคมุ ภายใน 23
งานโรงเรยี นสุจรติ 31
งานสารสนเทศ

คมู่ อื กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 1

ขอ้ มลู สารสนเทศพ้ืนฐานของโรงเรยี นวชั รวิทยา

โรงเรยี นวัชรวิทยา อาเภอเมือง จังหวดั กาแพงเพชรเปน็ โรงเรียนมัธยมศกึ ษาสงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
มัธยมศึกษา เขต41 (กาแพงเพชร—พิจติ ร)กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั การเรียนการสอนแบบสหศึกษาโดยประกาศของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารเรือ่ ง ต้ังโรงเรียนรฐั บาล กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศจดั ต้ังขึ้นเมื่อวันที่ 26 เดือนพฤษภาคม
พ.ศ. 2521 ในระยะแรกไดใ้ ชอ้ าคารสถานท่ี ของโรงเรียนวดั คยู าง อาเภอเมอื งกาแพงเพชร จังหวดั กาแพงเพชร เปน็ สถาน
ท่เี รยี นโดยมี นายสมรวม พลู เขยี ว อาจารย์ใหญ่โรงเรยี นวัดคยู าง มารักษาการในตาแหนง่ ครูใหญ่โรงเรยี นวชั รวิทยาอกี
ตาแหน่งหน่ึง ได้รบั โอนนักเรียนมธั ยมศกึ ษามัธยมศึกษาจากโรงเรียนวดั คยู าง จานวนนกั เรยี น 580 คน ครู- อาจารย์ 17 คน
นกั การภารโรง 2 คน โรงเรียนวชั รวิทยา ต้งั อยู่เลขที่ 93 ถนนเทศบาล 2 ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร
หมายเลขโทรศพั ท์ 055 711 901 หมายเลขโทรสาร 055 716 817 เว็บไซต์ http://www.wr.ac.th
มเี นื้อทท่ี ้งั หมด 44 ไร่ 1 งาน 83 7/10 ตารางวา

โรงเรียนวชั รวิทยา
เลขท่ี 93 ถนนเทศบาล 2
ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง
จังหวดั กาแพงเพชร 62000
หมายเลขโทรศัพท์ 055 711901
หมายเลขโทรสาร 055 716 817
เว็บไซต์ http://www.wr.ac.th

พ.ศ.2543 ได้รับการคดั เลือกเปน็ ศนู ย์ สอวน. จังหวัดกาแพงเพชร มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
พ.ศ.2544 โรงเรยี นแกนนาปฏิรูปการศกึ ษาดีเดน่ กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ.2544 ไดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ปน็ โรงเรยี นนารอ่ งการใช้หลักสตู รการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2544 กรมวิชาการ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พ.ศ.2545 โรงเรยี นแกนนาปฏริ ปู การศึกษาดเี ดน่ กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ.2545 ได้รับคัดเลือกเปน็ ศนู ยส์ ่งิ แวดลอ้ มศึกษา กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม
พ.ศ.2545 โครงการโรงเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพตดิ จงั หวดั กาแพงเพชร ศนู ย์ป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ จังหวัดกาแพงเพชร
พ.ศ.2546 รางวลั ดเี ดน่ ระดับเขตตรวจราชการ โครงการสานสายใยครแู ละศษิ ย์ เขตตรวจราชการท่ี 8 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
พ.ศ.2546 ได้รบั โลร่ างวลั ชนะเลิศสถานศกึ ษาเขม้ แขง็ เอาชนะยาเสพตดิ ตามโครงการ “กาแพงเพชรนา่ อยู่เชดิ ชคู ุณธรรม”
พ.ศ.2546 ได้รบั รางวัลโรงเรยี นพระราชทาน สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
พ.ศ.2546 ไดร้ บั โล่รางวลั ชนะเลิศการปฏบิ ัตติ ามยทุ ธศาสตร์พลังแผ่นดินขจัดสน้ิ ยาเสพตดิ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
พ.ศ.2546 โรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพดีเดน่ ด้านอนามัยและส่งิ แวดลอ้ ม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ
พ.ศ.2547 ได้รับแตง่ ต้ังให้เปน็ โรงเรียนต้นแบบ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
พ.ศ.2547 โรงเรยี นสองภาษา (English Program) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
พ.ศ.2547 ได้ผ่านการรบั รองมาตรฐานสุขานา่ ใชใ้ นโรงเรียนกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ.2548 โรงเรียนสง่ เสรมิ สุขภาพเครอื ขา่ ย (ต้นแบบ) กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2549 รางวัลการพัฒนาการจดั การคณุ ภาพเชิงระบบจนไดว้ ธิ ปี ฏิบัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ในระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
พ.ศ.2551 การพฒั นาการจัดการคุณภาพเชิงระบบจนได้วิธีปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) ในระบบการเรยี นรู้
พ.ศ.2551 โรงเรียนนารอ่ งหลักสตู รแกนกลางกลดั สตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ.2551
พ.ศ.2551 โรงเรยี นดใี กล้บา้ น ตน้ แบบในฝนั
พ.ศ.2553 โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 2

พระพทุ ธรปู ประจาโรงเรียน พระพุทธวิสุทธิโมลี ศรีวชั รินทร์

สญั ลกั ษณ์เปน็ รูปวชิราวธุ ล้อมรอบดว้ ยชอื่ โรงเรียนและปรชั ญา ความหมายของตราประจาโรงเรยี น วชริ าวธุ คอื
อาวธุ ของพระอินทรเ์ ป็นรูปตรสี ามงา่ มซึ่งแทนสายฟ้าฟาดบังเกิดเปน็ แสงสว่างอันเจิดจา้ เปรยี บเสมอื นความรู้คือแสง

สวา่ งแห่งปัญญา เราชาววัชรวิทยาจงึ เป็นผ้มู ปี ญั ญาแขง็ แกร่งประดจุ เพชร

“ สจฺจเว อมตาวาจา ”
ทางไปส่เู กียรติศักด์ิอยู่ท่คี วามซอื่ สัตยแ์ ละจริงใจต่อกัน

ดอกไม้ประจาโรงเรียน
ดอกเฟ่ืองฟา้

ตน้ ไมป้ ระจาโรงเรียน
ต้นสตั ตบรรณ
สีประจาโรงเรียน
ฟา้ - ชมพู

สฟี า้ เป็นสีประจาวันเกิดของโรงเรียน คอื วันศกุ ร์ ท่ี 26 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2521
หมายถึง ความร่มเย็น กวา้ งขวาง สูงสง่ และกว้างไกล

สชี มพู เป็นสคี ู่มิตรกบั สฟี ้า หมายถงึ ความรกั สุภาพ บริสุทธ์ิ และนุ่มนวล

คตพิ จน์
ชือ่ เสียงดี ดนตรดี ัง กีฬาเดน่ เน้นความรู้ เชิดชูจริยะ

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวิทยา

คู่มอื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 3

วิสัยทศั น์
พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น โดยการจัดการเรียนรู้ การบริหารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพและ
ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย

พันธกิจ
1. ส่งเสริมและพัฒนาผ้เู รยี นให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล
2. ส่งเสริมและพัฒนาครูใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชพี ครสู ู่มาตรฐานสากล
3. พัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพเพื่อความเป็นเลศิ โดยเน้นหลกั การกระจาย

อานาจส่กู ารเปน็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล
4. ส่งเสรมิ ให้ชุมชนมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา

เป้าประสงค์
1. นกั เรียนไดเ้ รียนรูอ้ ย่างมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สพฐ. และเกณฑโ์ รงเรยี น

มาตรฐานสากล
2. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชพี ครสู ่มู าตรฐานสากล
3. โรงเรียนบรหิ ารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพ
4. สถานศกึ ษาเป็นทย่ี อมรับของชมุ ชน

กลยทุ ธ์
1. พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานโรงเรยี นมาตรฐานสากล
2. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางศึกษา
3. การบริหารจัดการดว้ ยระบบคุณภาพ
4. การสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือข่าย

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คู่มือกลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หน้า 4

กลยทุ ธ์ที่ 1 พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรยี นมาตรฐานสากล

ลาดบั ท่ี ชอื่ โครงการ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

1 โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะท่ีดีและความสามารถทางด้านกีฬา กลมุ่ ฯสขุ ศึกษา/งานพยาบาล

2 โครงการสง่ เสริมพฒั นาทางด้านดนตรี ศิลปะ และนาฏศลิ ป์ กลุ่มฯศิลปะ

3 โครงการพฒั นาผู้เรยี นให้มีทักษะในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง กลมุ่ ฯภาษาไทย/งานห้องสมดุ

รักการเรียนรู้และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง /งานทศั นศึกษา

4 โครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน กลุ่มฯภาษาไทย/งานหอ้ งสมดุ

5 โครงการสง่ เสริมการเรียนรตู้ ามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง กลมุ่ ฯสังคมศึกษาฯ

6 โครงการพัฒนาความสามารถในการคิดอยา่ งเปน็ ระบบ กลมุ่ ฯวิทยาศาสตร/์
คิดสร้างสรรค์ ตดั สินใจ แก้ปัญหาอยา่ งมีสติ สมเหตุสมผล กลุม่ คณิตศาสตร์

7 โครงการส่งเสรมิ ทักษะในการทางาน รกั การทางาน สามารถ กลุ่มฯการงานอาชีพ/

ทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ และมีเจตคตทิ ีด่ ตี ่ออาชีพสจุ ริต งานแนะแนว

8 โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้การศึกษาด้วยตนเอง (IS) กลุ่มฯการงานอาชีพ

9 โครงการสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพอ่ื เตรียมความ กล่มุ ฯภาษาตา่ งประเทศ

พรอ้ มสปู่ ระชาคมอาเซียน

10 โครงการจดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รกระทรวงศึกษาธิการ โครงการสองภาษา

เปน็ ภาษาอังกฤษ (EP)

11 โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนหอ้ งเรยี น E-SMAT หอ้ งเรียนพเิ ศษ E-SMAT

12 โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรยี นหอ้ งเรียน สสวท. ห้องเรยี นพเิ ศษ สสวท.

13 โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจนี เพ่ือเตรยี ม โครงการภาษาจีน

ความพร้อมสปู่ ระชาคมอาเซยี น

14 โครงการส่งเสริมการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ห้องเรยี นพิเศษ HUP

เป็นภาษาอังกฤษ

15 โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศทางดา้ นวชิ าการ บริหารงานวิชาการ

16 โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ บริหารงานวิชาการ

17 โครงการส่งเสรมิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา

คู่มือกลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 5

กลยุทธ์ที่ 2 พฒั นาครูและบุคลากรทางศึกษา

ลาดับที่ ชอ่ื โครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ

1 โครงการสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั บริหารงานวิชาการ/
ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง กลุ่มงานบุคลากร
บรหิ ารงานบุคคล
2 โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากร

กลยทุ ธท์ ่ี 3 การบรหิ ารจัดการดว้ ยระบบคณุ ภาพ

ลาดับที่ ชือ่ โครงการ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

1 โครงการพฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน งานดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน

2 โครงการสถานศึกษาสีขาว งานยาเสพตดิ

3 โครงการสง่ เสรมิ ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม งานกิจกรรมพเิ ศษ

4 โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม กลมุ่ งานกิจการนักเรยี น

5 โครงการปรบั ปรงุ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพอื่ งานสือ่ เทคโนโลยี

การเรียนรู้

6 โครงการพัฒนาประสิทธภิ าพระบบบริหารงานโรงเรยี น บริหารงบประมาณ

7 โครงการส่งเสรมิ พัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา กลมุ่ งานนโยบายและแผน

8 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มและการบริการทสี่ ่งเสริมให้ผูเ้ รยี น บริหารงานทั่วไป

พฒั นาเต็มศกั ยภาพ

9 โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรภู้ ายในสถานศึกษา บรหิ ารงานท่ัวไป

10 โครงการพัฒนาหลักสตู ร สถานศกึ ษา กระบวนการเรยี นรู้ บรหิ ารงานวิชาการ

11 โครงการส่งเสรมิ การดาเนินงานตามมาตรฐานโรงเรียนสุจริต กลุ่มงานนโยบายและแผน

กลยุทธ์ท่ี 4 การส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครอื ขา่ ย

ลาดบั ท่ี ชอ่ื โครงการ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

1 โครงการสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาของผู้มีส่วนได้ บริหารงานบคุ คล
สว่ นเสยี

กลุม่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวิทยา

คู่มือกลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 6

กลมุ่ งานนโยบายและแผน

งานแผนงาน

งานแผนงาน คือ สงิ่ ที่แสดงถึงความตัง้ ใจล่วงหนา้ ที่จะดาเนนิ การ
ใดๆ ภายในระยะเวลาหน่ึงเพ่ือใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์ทวี่ างไว้ ผลที่เกดิ จาก
การวางแผนสว่ นหน่งึ จะปรากฏในเอกสารเพ่ือใชเ้ ปน็ หลักฐานการตดั สนิ ใจ
ดา้ นการศึกษา

การวางแผน หมายถึง การกาหนดความต้องการวธิ กี ารดาเนนิ การ
และผลทีค่ าดว่าจะเกิดข้นึ ในอนาคต โดยใชห้ ลักวชิ า เหตุผล มีข้อมูล
ประกอบมีการนาเสนอปัญหา เพ่อื ขจดั อปุ สรรคทจ่ี ะเกิดกับเปา้ หมาย
ข้างหน้าทาใหผ้ ู้ปฏิบตั ิร้วู ่าจะทาอะไร ท่ีไหน เมอ่ื ใดกับใคร ทาอย่างไร และทาเพ่ืออะไรอยา่ ง
ชดั เจน ซง่ึ จะนาไปสู่การปฏบิ ัติงานอย่างถูกต้องและบรรลุวัตถปุ ระสงค์ การวางแผนที่ดมี คี วามสาคัญอยา่ งยง่ิ ต่อ
ความสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ขององค์กร เช่น การทางานเกิดการประสานกนั เกิดการประหยัด การบรหิ ารท้งั
คน เงิน วัสดุ การปฏบิ ัติงานมคี วามสาเรจ็ อย่างรวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพเปน็ การกระจายงานสูค่ นรว่ มคดิ
รว่ มทา รว่ มรับผดิ ชอบ ทาใหท้ ราบถงึ ปัญหาการดาเนนิ การและสามารถดาเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันต่อเหตกุ ารณ์

แนวทางบรหิ ารงานนโยบายและแผน
1.การวางแผนพฒั นาโรงเรียน
การกาหนดทิศทางการพฒั นาโรงเรียน, วิเคราะหส์ ภาพปจั จุบันปัญหาของโรงเรยี น, กาหนดวสิ ัยทศั น์

พันธกิจ และเป้าหมายของโรงเรียน, การมสี ว่ นรว่ มเกดิ การกาหนดวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ และเป้าประสงค,์ จัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการการจัดการศึกษาระยะ 4 ปี และจดั ทาแผนปฏิบตั ิการโรงเรียน

2.การจดั องค์กร
จัดทาแผนภมู ิบริหารโรงเรยี น, การกาหนดหน้าที่ความรับผดิ ชอบและมอบหมายงาน

3.การจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
การดาเนินงานดา้ นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ, การพัฒนาระบบสารสนเทศ, การจัดระบบและพฒั นา

เว็บไซตโ์ รงเรยี น
4.การจัดระบบประกันคณุ ภาพภายใน
แตง่ ต้งั คณะกรรมการรับผดิ ชอบและมีแผนการดาเนินงาน, จัดทามาตรฐานคุณภาพระดับโรงเรยี น

สอดคลอ้ งมาตรฐานของหน่วยงาน, พัฒนาสมู่ าตรฐานและประเมินผล
5.การคานวณต้นทนุ ผลผลิต
มีการคานวณต้นทุนผลผลติ แต่งตั้งผูร้ ับผดิ ชอบ นาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการคานวณต้นทนุ ผลผลิต

วิเคราะห์ความคมุ้ ค่าและนาไปปรับปรุงพฒั นา
6.การควบคุมภายใน
จดั ระบบควบคมุ ภายในแต่งตง้ั กรรมการ ดาเนนิ การควบคุมตามหลักเกณฑ์ มีหลักฐานให้ตรวจสอบได้
7.การประเมนิ ผลการดาเนินงานแผนงานและประกัน
มกี ารประเมินผลการดาเนินงานแผนงานและประกันคณุ ภาพโดยมหี ลกั ฐานตรวจสอบได้ นาผล

การวิเคราะห์ไปใชป้ รับปรงุ พัฒนาการดาเนนิ งานแผนงานและประกันคณุ ภาพ

8.แผนงานโรงเรยี นมาตรฐานสากล

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คมู่ ือกลุม่ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 7

ศึกษากรอบงาน จดั ทาแผน นาเขา้ สแู่ ผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นสรรหาบคุ ลากรชาวต่างชาตเิ พอื่ สู่
การปฏิบัตกิ ารสอนตามโครงการติดตามผลและประเมนิ ผลรายภาคเรียน

หนา้ ที่รับผิดชอบดังนี้
จดั ทาแผนกลยุทธ์และแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียน เพอื่ ใหโ้ รงเรยี นดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ สนองตอบความ

ต้องการของนกั เรียน ผ้ปู กครอง ครู และชมุ ชน จัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 4 ปี เพื่อวางเป้าหมาย
การดาเนินงานของโรงเรียนเป็นระยะและจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี งบประมาณ เพ่อื ใหก้ ารใชเ้ งินงบประมาณ
และนอกงบประมาณเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ท่วี างไว้ ตรวจสอบตดิ ตาม การดาเนินงาน/
โครงการ / กิจกรรม ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ ดาเนนิ การเก่ียวกบั การประกนั คุณภาพใน
โรงเรยี นตามโครงการพฒั นาเชิงระบบเพื่อปฏริ ูปการเรยี นรู้และคุณภาพของโรงเรียนโดยเน้นกระบวนการPDCA
P( วางระบบ) D (ทาตามระบบ) C (การตรวจสอบติดตาม) A ( ปรบั ปรงุ แก้ไข) สรา้ งความเข้าใจ ปรบั ปรุงแนวทาง
การประเมินมาตรฐานอย่างต่อเนื่องมปี ระสิทธภิ าพ เพ่อื นาไปสูก่ ารพัฒนาผลสมั ฤทธอิ์ ยา่ งยง่ั ยนื ในทุกระบบตาม
มาตรฐานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มาตรฐานสมศ. มาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล
จดั ระบบฐานข้อมูลโรงเรยี นเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการ การนาเสนอ เผยแพร่ต่อสารธารณชนและนาผลมาพัฒนา
ปรบั ปรงุ ระบบข้อมูลสารสนเทศของโรงเรยี นในทุกๆด้านและมคี วามสมบรู ณ์ และเปน็ ปัจจุบนั คานวณต้นทุนผลผลติ
ของงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผนฏบิ ตั ิงานท่ีกาหนดให้มีผลสัมฤทธิเ์ กิดประสิทธิภาพสงู สุดและคุ้มค่าแห่งการลงทนุ
มผี ลแหง่ กาไรให้มากทสี่ ุด รายงานผลการดาเนนิ งานต่อคณะครู นักเรียน ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาและ
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งต่อไป

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 8

การกาหนดกลยทุ ธ์

ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง

ยทุ ธศาสตร์ สพฐ.
ยุทธศาสตร์ สพท.

กลยุทธ์ รร.

การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

1.วิเคราะห์สภาพปญั หา / แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี
2.กาหนดวิสัยทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมาย
3.กาหนดวิธีการดาเนนิ งาน

4.เสาะหาและประสานสัมพนั ธ์กบั แหลง่ วิทยากรภายนอก

5.กาหนดบทบาทหนา้ ที่ให้บคุ ลากร
6.กาหนดบทบาทหนา้ ที่ผปู้ กครองและชมุ ชน

7.การใช้งบประมาณ และทรพั ยากร
8.ประเมนิ ผลและนาผลไปใช้ในการพฒั นา

กลFุ่มlงoานwนโยCบาhยแaลrะtแผรนะโบรงบเรียยนุทวชั ธรวศิทายาสตร์ งานแผนงานโรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 9

ศกึ ษาวเิ คราะห์
สภาพปัจจุบนั ของ
กาหนด วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ
จัดทาแผนปฏบิ ัติการ
ปฏบิ ตั งิ านตามแผน

นิเทศติดตามประเมินผล

บรรลวุ ัตถุประสงค์ No ปรับปรุง / แกไ้ ขวิธกี าร
หรอื ไม่ ดาเนนิ งาน

Yes

ปฏบิ ตั งิ านตามแผน (ต่อ)

สรุป/รายงานผลการ
ดาเนนิ งาน

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คูม่ ือกล่มุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หน้า 10

ขัน้ ตอนการดาเนินการงานแผนงานโรงเรยี นวัชรวิทยา

การเสนอโครงการ/กจิ กรรมของบประมาณในแผนปฏิบัติการประจาปี (กันยายน )
1. วิเคราะห์ความสอดคล้องของโครงการ/กจิ กรรมกับมาตรฐานการศึกษา(สพฐ./สพม.41/ร.ร.)/นโยบาย/จดุ เน้น/

โครงการพิเศษทโี่ รงเรยี นเข้าร่วม
2. รบั แบบประมาณการจัดซ้อื /จัดจา้ งทงี่ านแผนงาน / E-mail. ครูทุกท่าน
3. ครูผรู้ ับผดิ ชอบกิจกรรมสง่ แบบประมาณการจดั ซ้ือ/จดั จา้ งทีต่ ามสายงานโครงสรา้ งการบรหิ าร
4. หวั หนา้ กลมุ่ งาน 8 กลุ่มงาน/หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ/หวั หน้าโครงการพิเศษ สง่ แบบสรุปงบประมาณ และ

แบบประมาณการจดั ซ้ือ/จดั จ้าง ภายในวนั ที่ทีก่ าหนด
5. งานแผนงานเสนอคณะกรรมการพิจารณาอนุมตั งิ บประมาณ
6. งานแผนงานแจง้ ผลการอนุมัติ ( ตลุ าคม : วันประชุมเตรียมการ)
7. ครูผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ/กจิ กรรมที่ไดร้ ับการอนุมตั เิ ขยี นโครงการ/กิจกรรมฉบับสมบูรณ์

ส่งงานแผนงานเพ่ือจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี

การขอจัดซ้ือ/จัดจา้ ง ( 1 ตุลาคม – 30 กนั ยายน )

1. รบั แบบบันทกึ ข้อความขอจดั ซื้อ/จัดจ้าง (ห้องงบประมาณ / ห้องแผนงาน)
2. ส่งแบบบนั ทึกข้อความขอจัดซ้อื /จดั จ้าง ท่งี านแผนงาน
3. งานแผนงานเสนอผู้อานวยการโรงเรียนพจิ ารณาอนุมัติ
4. งานแผนงานแจง้ ผลการอนุมัติ (สาเนาแบบบันทึกขอจัดซ้อื /จัดจา้ ง)
5. ดาเนินการจัดซื้อ/จัดจ้างตามผลการอนมุ ัติ
6. ส่งใบเสรจ็ รบั เงิน หรือ ใบสง่ ของ หรือ ใบสาคัญรับเงนิ ที่งานพสั ดุ – การเงนิ

เพอื่ ดาเนนิ การเบิกจ่ายต่อไป

การรายงานผลโครงการ/กิจกรรม ( 30 วันหลังจากเสรจ็ ส้นิ โครงการ/กิจกรรม)
เม่ือดาเนินการตามโครงการ / กิจกรรม เรยี บรอ้ ยแล้ว ดาเนินการดงั น้ี

1. รบั แบบรายงานผลโครงการ/กิจกรรม ท่ีห้องแผนงาน หรือ E-mail
2. ส่งแบบรายงานผลโครงการ/กิจกรรมที่งานแผนงาน
3. งานแผนงานเสนอผู้อานวยการโรงเรยี น
4. งานแผนงานสรุปภาพรวมโครงการและแจ้งผลใหง้ านประกันคณุ ภาพการศึกษา

เพื่อประกอบการจดั ทารายงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ประจาปี (SAR)
5. งานแผนงานรายงานผลการดาเนินงานโครงการต่อผู้อานวยการโรงเรียน
6. โรงเรียนเสนอรายงานตอ่ ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คมู่ ือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 11

งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา

ระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกันคุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวง พ.ศ.2553

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 ได้

กาหนดจุดมงุ่ หมาย และหลักการของการจัดการศึกษา ที่ต้องมุ่งเน้นคณุ ภาพและ นายชวลติ เรือนจรสั ศรี

มาตรฐานการศึกษา โดยกาหนดรายละเอียดไว้ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศึกษา มาตรา 47

กาหนดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทกุ ระดับ ประกอบดว้ ย

ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกนั คุณภาพภายนอก และในวรรคสอง บัญญตั วิ ่า ระบบ

หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคณุ ภาพการศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี าหนดในกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และ

วธิ กี ารประกันคุณภาพการศึกษา ฉบับทผ่ี ่านมาเมื่อ พ.ศ. 2546 ได้ยกเลกิ ไปเม่ือประกาศกฎกระทรวง ว่าดว้ ยระบบ

หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 จงึ สรุปสาระสาคัญท่ีกาหนดไวใ้ นกฎกระทรวงดงั กล่าว

เพ่อื หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องโดยเฉพาะในระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานไดท้ ราบดังน้ี

กฎกระทรวง วา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 มี 3 หมวด

หมวด 1 บทท่ัวไป ว่าดว้ ยระบบประกันภายใน ประกอบด้วยการประเมินคณุ ภาพภายใน การตดิ ตาม

ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การพฒั นาคุณภาพการศึกษา และระบบประกันภายนอก ประกอบด้วยการประเมนิ

คุณภาพภายนอก การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา นอกจากน้ีก็กาหนดให้สถานศึกษาดาเนินการประกนั คณุ

ภาภายในตอ่ เน่ืองเปน็ ประจาทกุ ปโี ดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั และ การมีสว่ นรว่ ม ใหส้ ถานศกึ ษามีหนา้ ที่จดั ทารายงา

ประจาปที ี่เปน็ รายงานการประเมนิ คุณภาพภายในเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา และหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องและ

เปิดเผยรายงานต่อสาธารณาชน รวมท้ังสถานศกึ ษาตอ้ งนาผลการประเมินทัง้ ในและนอกไปทาแผนพัฒนาคณุ ภาพ

ของสถานศกึ ษา

หมวด 2 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ในที่น้ีกล่าวเพียงส่วนที่ 1 ซ่ึงใช้

บงั คบั เฉพาะการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โดยสว่ นนีก้ ลา่ วถงึ คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ได้แก่ ส่วนประกอบของคณะกรรมการระดับกรม คุณสมบัติของคณะกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจาก

ตาแหน่ง รวมทั้งบทบาทหน้าที่สิ่งสาคัญในหมวดน้ีคือสถานศึกษาต้องจัดระบบประกันคุณภาพตามหลักเกณฑ์และ

แนวปฏบิ ัตโิ ดยดาเนินการดงั น้ี

(1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(2) จดั ทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา
(3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
(4) ดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
(5) จดั ให้มีการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา
(6) จดั ให้มีการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(7) จดั ทารายงานประจาปีท่เี ป็นรายงานประเมนิ คณุ ภาพภายใน
(8) จัดให้มกี ารพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนือ่ ง
การดาเนนิ การข้างต้นให้สถานศึกษายึดหลกั การมีส่วนรว่ มของชุมชนและหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องท้ังภาครัฐและ
ภาคเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุน และกากับดูแลของหนว่ ยงานตน้ สังกัด สาหรบั สถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐานท่ีไม่
สามารถปฏบิ ัติงานบางประการตามทีก่ าหนดได้ น้ัน หนว่ ยงานต้นสงั กัดหรือสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา แลว้ แต่

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวิทยา

ค่มู อื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 12

กรณี ประกาศผ่อนผันการปฏิบัติและวางแนวทางในการประกนั คุณภาพภายในให้เหมาะสมกบั สภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษานัน้ แลว้ รายงานให้รฐั มนตรที ราบ

การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ตอ้ งสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์
ของสถานศกึ ษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานตามท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกาหนด และ
ต้องครอบคลมุ สาระการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ รวมท้งั คานึงถึงศกั ยภาพของผูเ้ รียน ชุมชน และท้องถ่นิ ดว้ ย

การจัดทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ใหด้ าเนนิ การดังต่อไปน้ี
(1) ศกึ ษาสภาพปัญหาและความตอ้ งการทจี่ าเป็นของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ
(2) กาหนดวิสยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าหมาย และความสาเร็จของการพัฒนาไว้อยา่ งชดั เจน และเปน็ รปู ธรรม
(3) กาหนดวิธีดาเนินงานที่มีหลักวชิ า ผลการวจิ ัย หรือข้อมูลเชงิ ประจักษท์ ่ีอา้ งองิ ได้ ให้ครอบคลมุ การพฒั นา
หลักสูตรสถานศึกษาดา้ นการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ การสง่ เสริมการเรยี นรู้ การวดั และ
ประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อนาไปสมู่ าตรฐานการศกึ ษาท่ีกาหนด
(4) กาหนดแหลง่ วิทยาการภายนอกท่ีให้การสนบั สนนุ ทางวิชาการ
(5) กาหนดบทบาทหนา้ ทใี่ หบ้ ุคลากรของสถานศกึ ษาและผูเ้ รียนรบั ผดิ ชอบและดาเนนิ งานตามท่ีกาหนดไว้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
(6) กาหนดบทบาทหนา้ ท่แี ละแนวทางการมสี ว่ นร่วมของบดิ า มารดา ผปู้ กครอง และองค์กรชมุ ชน
(7) กาหนดการใชง้ บประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
(8) จัดทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี
หมวด 3 การประกันคุณภาพภายนอก จะครอบคลุมหลกั เกณฑ์ในเรื่อง ดังต่อไปนี้
(1) มาตรฐานทวี่ ่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
(2) มาตรฐานทว่ี า่ ดว้ ยการบริหารจดั การศึกษา
(3) มาตรฐานทวี่ ่าด้วยการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั
(4) มาตรฐานท่วี า่ ดว้ ยการประกนั คุณภาพภายใน
กรณีทผ่ี ลการประเมินภายนอกของสถานศกึ ษาไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. แจ้งพรอ้ มแสดงเหตุผลใหต้ น้
สังกดั และสถานศึกษาทราบ เพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไข โดยทาแผนพฒั นา และดาเนินการ เพื่อขอรับประเมนิ ใหม่ภายในสอง
ปีนบั แตว่ นั ได้รับแจ้งผลคร้ังแรก ซง่ึ สถานศึกษาต้องเสนอแผนพฒั นาคุณภาพเพื่อสมศ.พิจารณาอนุมัติภายในสามสิบ
วันนบั จากวนั แจง้ ผลตามข้างต้น กรณไี มด่ าเนินการ สมศ.รายงานต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัดของสถานศึกษานน้ั เพอื่ สั่ง
การต่อไป
ทม่ี า: กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.2553

กลุม่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กล่มุ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 13

Flowchart ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

ขน้ั เตรยี มการ/สรา้ งความตระหนกั /
แตง่ ต้งั คณะกรรมการ (P)

จดั ทาคู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน (P)

วางแผนการปฏิบตั ิงาน
กาหนดมาตรฐานการศกึ ษา/เปา้ หมาย (P)

ดาเนินการตามแผน (D)

จดั ระบบข้อมูลสารสนเทศ (D)

ตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพ (C)

ถูกต้อง/ครบถ้วน ? ไม่ถกู ตอ้ ง/ไมค่ รบถ้วน

ถกู ตอ้ ง/ครบถ้วน

ประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของโรงเรยี น (C)

จัดทารายงานประจาปี /
นาผลการประเมินมาปรบั ปรุงงาน (A)

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คมู่ ือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 14

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนวัชรวิทยา
โรงเรียนวชั รวทิ ยาได้จดั ใหม้ ีระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ประกอบดว้ ย การ

ดาเนนิ งานโดยยดึ หลกั การมีส่วนร่วม 8 ประการ ดงั น้ี
1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
4. ดาเนินงานตามแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
5. จดั ใหม้ ีการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา
6. จดั ให้มกี ารประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
7. จดั ทารายงานประจาปีทเ่ี ป็นรายงานประเมนิ คุณภาพภายใน
8. จัดใหม้ กี ารพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง
1. การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
โรงเรียนวัชรวทิ ยากาหนดมาตรฐานสถานศึกษาสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลกั ษณ์ของ

สถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด และ
ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ รวมทงั้ คานึงถึงศักยภาพของผ้เู รยี น ชมุ ชน และท้องถน่ิ

2. การจัดทาแผนพัฒนาสถานศกึ ษาที่มุง่ เน้นคุณภาพการศกึ ษา
โรงเรยี นวัชรวิทยามีการจดั ทาแผนพฒั นาสถานศกึ ษาท่มี ุ่งเน้นคณุ ภาพการศึกษา โดยมวี ธิ ีดาเนินการต่อไปน้ี
คอื
(1) ศกึ ษาสภาพปัญหาและความต้องการทจ่ี าเป็นของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ
(2) กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมาย และความสาเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชดั เจนและเป็นรปู ธรรม
(3) กาหนดวธิ ีดาเนนิ งานทีม่ ีหลกั วชิ า ผลการวิจยั หรือข้อมูลเชงิ ประจกั ษท์ ่ีอา้ งองิ ได้ให้ครอบคลมุ การพัฒนา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาดา้ นการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรกู้ ารสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ การวัดและ
ประเมนิ ผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพ่ือนาไปสู่มาตรฐานการศกึ ษาท่ีกาหนดไว้
(4) กาหนดแหลง่ วทิ ยาการภายนอกที่ใหก้ ารสนบั สนุนทางวชิ าการ
(5) กาหนดบทบาทหนา้ ที่ใหบ้ ุคลากรของสถานศกึ ษาและผ้เู รียนรับผดิ ชอบและดาเนนิ งานตามที่กาหนดไว้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
(6) กาหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนรว่ มของบดิ า มารดา ผู้ปกครองและองคก์ รชมุ ชน
(7) กาหนดการใชง้ บประมาณและทรัพยากรอย่างมปี ระสิทธิภาพ
(8) จดั ทาแผนปฏิบัติการประจาปี
3. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
โรงเรยี นวชั รวิทยามีการกาหนดโครงสร้างการบรหิ ารจดั การท่ีเอ้ือต่อการพัฒนางาน และสรา้ งระบบการ
ประกนั คุณภาพภายใน มีคณะทางานทาหน้าที่ วางแผนติดตามตรวจสอบคุณภาพ และจัดทารายงานการพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาประจาปีของสถานศกึ ษา โดยแตง่ ตงั้ คณะทางานทมี่ ีตัวแทนบคุ ลากรจากหลายฝา่ ยมาร่วมคดิ รว่ ม
วางแผน และรว่ มติดตามตรวจสอบ เกบ็ ข้อมูล สาหรบั การจัดระบบสารสนเทศนน้ั โรงเรยี นวชั รวิทยามกี ารจัดระบบ
สารสนเทศใหเ้ ป็นหมวดหมใู่ ห้ครอบคลุมและขอ้ มลู มคี วามสมบูรณ์ ค้นได้งา่ ยและสะดวกรวดเร็ว มีการนาขอ้ มูลมาใช้
ใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยู่เสมอ การจัดหมวดหมู่ ข้อมูลสารสนเทศ
4. ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ในแผนพัฒนาสถานศกึ ษาที่มุ่งเนน้ คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัชรวิทยา มโี ครงการ / กจิ กรรม ท่ตี ้อง
ดาเนนิ งานใหบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์ และเกิดผลสาเรจ็ ตามทรี่ ะบุไว้ในตวั ชวี้ ัดของโครงการการดาเนนิ งานตามแผนนนั้

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

ค่มู อื กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 15

โรงเรยี นได้มีระบบการทางานท่ีเนน้ การมสี ่วนรว่ ม โดยดาเนินการตามวงจรการพฒั นาคณุ ภาพ PDCA ของเดมมิง่
(Deming Cycle)

มาตรฐานและตัวบ่งช้ีของโรงเรียน - กระบวนการ
วางแผน (Plan) - วธิ กี ารมาตรฐาน
- บนั ทกึ มาตรฐาน

ปรับปรุง/พัฒนา (Act) ลงมือปฏบิ ตั ิ (Do)

ตรวจสอบ/ประเมนิ สารสนเทศ
(Check) (ตัวช้วี ดั /เกณฑ์

โรงเรียน)

นอกจากนี้ โรงเรยี นมีการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายใน เก่ยี วกบั เร่อื งต่อไปนี้ เพื่อให้กา้ วทันสภาวการณ์
ปัจจุบันด้วย คือ

1) วิสยั ทศั น์ และภารกิจ ของสถานศึกษา เช่น วิเคราะห์ดูว่าวสิ ยั ทศั น์ และภารกิจสอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน และสอดคลอ้ งกบั สภาวะปจั จุบนั หรอื ไม่ ควรปรับปรุงเปล่ยี นอะไรบา้ ง จัดกจิ กรรมอยา่ งไรจงึ จะ
เหมาะสม

2) แผนพัฒนาสถานศกึ ษา เช่น แผนพฒั นาสะท้อนความต้องการของชมุ ชนจรงิ หรอื ไม่ มีการรวบรวมและ
วิเคราะหข์ ้อมูลตลอดจนนาผลมาใชใ้ นการวางแผนครอบคลมุ ครบถ้วน กิจกรรมตามแผนสัมพนั ธ์กนั และสอดรับกบั
วิสัยทัศนแ์ ละเป้าหมาย แผนพัฒนาโดยรวมมีความชัดเจน เขา้ ใจง่าย และมที ิศทางการพัฒนาทชี่ ดั เจน

3) การพฒั นาหลกั สตู รและกระบวนการเรียนรู้ เชน่ บรรยากาศและสภาพแวดล้อมสนบั สนุน การเรยี นรู้
สะท้อนความสาเร็จของผเู้ รียน ครูเลือกใช้ยุทธศาสตร์การสอนหลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ครูและผ้เู รียนมปี ฏสิ มั พันธ์ทีส่ ่งผลตอ่ การเรียนของผ้เู รียน การจัดกระบวนการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนไดม้ โี อกาสฝึก
แกป้ ญั หา ฝกึ การคดิ สร้างสรรค์ท่สี ัมพนั ธ์กบั ชวี ติ จริง ตลอดจนพัฒนานิสยั รกั การเรยี น ผเู้ รียนกล้าคดิ กล้าแสดงออก
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาหลกั สูตรทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาชาติและมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

4) ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของผเู้ รียน เช่น ผู้เรยี นประสบความสาเรจ็ จากการเรยี นรูท้ ผี่ ู้สอนเป็นผจู้ ัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอน ผลงานของผเู้ รียนมีความหมาย บง่ บอกถึงส่งิ ท่ีผเู้ รยี นรู้เข้าใจ และทาได้ ผลงานแสดง
ความคดิ สรา้ งสรรค์ และผเู้ รยี นได้มีโอกาสนาความรู้ไปใช้ ผู้สอนใช้วิธีการประเมนิ ท่หี ลากหลายและสอดคล้องกับ
สภาพจริง มีการเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนและผปู้ กครองมสี ่วนร่วมในการกาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ สถานศกึ ษาจดั ส่งิ
อานวยความสะดวกเพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถทางานร่วมกนั ได้อยา่ งดี

5) การพัฒนาองค์กร เน่ืองจากสถานศึกษาเป็นแหล่งหรือศูนย์การเรียนรูท้ ส่ี าคญั ในชุมชน ฉะนัน้
นอกเหนือจากการบริหารจดั การดา้ นการพฒั นาหลักสตู รและการเรียนการสอน การพัฒนาผู้สอนและอนื่ ๆ ที่
เกยี่ วขอ้ งแลว้ สถานศึกษาต้องม่งุ เน้นการพัฒนาสถานศึกษาโดยเฉพาะหอ้ งสมุดใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้ของชุมชนได้เป็น
อยา่ งดี ดงั นน้ั ประเดน็ ในการตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพภายใน จึงวเิ คราะห์ดวู า่ ผ้บู ริหารอุทศิ ตนเพื่อองคก์ ร

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คมู่ ือกลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 16

เพอ่ื นร่วมงาน และเพ่อื การพัฒนาการศกึ ษาอย่างไร เปน็ ผู้นาในการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ และสามารถแนะนา
นวตั กรรมหรือแหลง่ นวตั กรรมสาหรับผสู้ อนได้ มีการประชุมแลกเปลยี่ นความคิดเห็นและเปดิ โอกาสให้ ผู้สอน/
คณะทางานมสี ่วนร่วมในการตดั สนิ ใจในเชงิ บริหาร มีการสร้างความสัมพนั ธ์ที่ดกี ับชมุ ชนและรว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ กับ
ชุมชน มกี ารรวบรวมแหลง่ ภูมปิ ญั ญาชาวบา้ น และเชิญปราชญช์ าวบ้านมาเป็นทป่ี รึกษา ใหค้ วามรู้ มกี ารพบปะและ
เปล่ยี นประสบการณ์กับสถานศกึ ษาอื่น ๆ เพ่ือเทียบเคียงการพฒั นา

6) การพฒั นาวชิ าชีพครู เช่น มีการใช้ แหล่งวิทยาการภายนอก (สถาบันอดุ มศึกษา องคก์ รธุรกจิ ภาครัฐและ
เอกชน) ช่วยใหค้ รู เกดิ การเรียนรู้ มกี ารเปดิ โอกาสใหค้ รูแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความคิดในการพฒั นาวชิ าชพี
ดว้ ยวธิ ีการต่างๆ สนบั สนนุ ให้ ครมู ีการวจิ ัยค้นคว้าความรู้ใหมเ่ ก่ยี วกบั การเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล จดั หา
งบประมาณและสงิ่ สนับสนุน สง่ เสรมิ ให้มกี ารสัมมนาหรือพฒั นาวชิ าชพี ในรปู แบบตา่ งๆ การตรวจสอบและทบทวน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษาท่ีดาเนินการอย่างจรงิ จัง ชว่ ยใหส้ ถานศกึ ษามีข้อมลู ถูกต้องและเพียงพอในการวางแผน
พฒั นาสถานศึกษาทเ่ี น้นคุณภาพการศกึ ษาในรอบปีถัดไป นอกจากน้ี ผลจากการตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพ
ภายในสถานศกึ ษายังมีส่วนช่วยกระต้นุ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ท้งั นักการศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชนให้ตระหนกั ถึงการกาหนด
นโยบายและทิศทางการพัฒนาการศึกษาในระดบั ท้องถ่นิ หรอื ระดับชาติ

6. จดั ใหม้ ีการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
จากการตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพภายในสถานศึกษาดงั ไดก้ ล่าวไวข้ ้างต้น โรงเรยี นจะมี ข้อมูล
สารสนเทศสาหรบั ประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาที่กาหนด การประเมนิ คุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ครอบคลมุ มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน และจดั ทารายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปตี ่อไป
7. จัดทารายงานประจาปีท่เี ปน็ รายงานประเมินคุณภาพภายใน
การจดั ทารายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจาปี เสนอตอ่ หนว่ ยงานต้นสังกดั หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง
และเปิดเผยต่อสาธารณชน และเพ่ือรองรบั การประกนั คุณภาพภายนอก การจดั ทารายงานประจาปีของสถานศึกษา
นอกจากน้ี โรงเรียนได้ระบุหลักฐานขอ้ มลู ผลสมั ฤทธขิ์ องการประเมนิ ตามแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษาไว้
ดว้ ยเมอ่ื จดั ทารายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจาปีเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว สถานศกึ ษา สง่ รายงานต่อสานกั งาน
เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาต้นสังกดั ภายในเดือนพฤษภาคมของทุก ๆ ปี และสง่ ใหส้ านักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ
คุณภาพสถานศึกษา (สมศ.) เฉพาะในปที เี่ ขา้ รับการประเมินคณุ ภาพภายนอก
8. จดั ให้มกี ารพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
ในการทาให้คณุ ภาพของสถานศึกษาดารงอยู่อย่างย่ังยนื น้ัน โรงเรียนตรวจสอบและทบทวนการดาเนนิ งาน
ตามโครงการ/กจิ กรรม อยเู่ สมอ โครงการ/กจิ กรรมท่ีทาต้องคุ้มค่า และเกดิ ประโยชน์ ส่งผลถงึ ผูเ้ รยี น การพจิ ารณา
โครงการ/กิจกรรมทจี่ ะทาต่อไปหรือไม่นั้น พิจารณาดงั น้ี
1. ถ้าเป็นโครงการที่ดี สมควรดาเนินตอ่ ไปกด็ ารงโครงการน้ันไว้
2. ถา้ เปน็ โครงการที่ดี แตย่ งั ดาเนินการไมส่ าเรจ็ หรือไม่บรรลเุ ป้าหมายเพราะมีจุดบกพร่อง ถ้าปรบั ปรงุ แกไ้ ข
สามารถบรรลุผลสาเรจ็ ได้ก็ดาเนินการต่อไปและทาใหด้ ีย่ิงขึ้น
3. ถา้ เปน็ โครงการท่ีมคี วามก้าวหนา้ ในการดาเนนิ งานอยู่ตลอดเวลา ก็พฒั นาดาเนินโครงการนน้ั ตอ่ ไปอย่าง
ไม่หยุดยั้ง
4. หากมีเหตกุ ารณ์หรือสง่ิ ทส่ี ่อเคา้ วา่ จะเกิดปัญหาต้องหาทางปอ้ งกนั ไว้ก่อน กจ็ าเป็นตอ้ งจดั ทาโครงการ
ใหม่ๆ ขน้ึ เพ่ือป้องกันปัญหา
อยา่ งไรกต็ าม ในการทาใหค้ ณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื งนั้นโรงเรียนคานงึ ถึงส่งิ ต่อไปนี้
(1) สร้างจิตสานกึ การพฒั นาให้เกิดข้ึนในหมูค่ รแู ละบคุ ลากรทุกคนในโรงเรยี น
(2) เนน้ ยา้ หรอื กาหนดเป็นนโยบายการทางานอย่างมรี ะบบ รวมทงั้ ต้องทางานอยา่ งมีเป้าหมายทางานเปน็
หมคู่ ณะ และต้องทาอยา่ งต่อเน่ือง

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา

คู่มอื กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 17

(3) พฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ (Learning Organization) การจะทาให้สถานศึกษาเปน็
องค์กรแห่งการเรยี นรู้ได้ ต้องทาให้บุคลากรทกุ คนในสถานศกึ ษาเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ คอื ร้จู กั พัฒนาตนเอง ใฝ่รู้
หมน่ั แสวงหาความร้อู ยู่เสมอ มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ แบง่ ปนั ความร้กู ันตลอดเวลา เกิดทีมผู้เชย่ี วชาญในเรอ่ื งตา่ งๆ
หลากหลายจนได้รบั การยอมรับจากผ้เู ก่ยี วข้อง มกี ารเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธแ์ ละแลกเปลยี่ นความร้กู บั องค์กรอน่ื ๆ
สถานศึกษากจ็ ะเปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรทู้ ่มี ีความเคลื่อนไหวในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยู่ตลอดเวลา ผลผลติ
ขององค์กรแหง่ การเรียนรู้ เห็นไดจ้ าก

1) ผลสัมฤทธ์ขิ องงานสงู ข้นึ
2) เกดิ การพฒั นาคน
3) มีการพัฒนาความรู้
4) องค์กรมีศักยภาพสงู ข้ึน

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

ค่มู อื กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 18

งานระบบควบคมุ ภายใน

การควบคุมภายใน หมายถงึ กระบวนการทผี่ ู้บรหิ ารและบคุ ลากร
ของหนว่ ยงาน กาหนดใหม้ ีข้นึ เพื่อให้การดาเนนิ งานมีความม่ันใจว่าการ
ดาเนนิ งานโดยใชร้ ะบบการควบคมุ ภายในของหนว่ ยงาน จะทาใหห้ น่วยงาน
สามารถดาเนนิ งานบรรลุผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ได้อยา่ งราบรน่ื ไม่เสี่ยงทจ่ี ะ
ก่อให้เกิดความผดิ พลาด อนั เปน็ เหตทุ ่จี ะทาใหเ้ กดิ ความเสียหายหรือความ
สนิ้ เปลืองแก่หนว่ ยงาน

วัตถุประสงค์ของการจดั ให้มีระบบควบคุมภายใน
1.เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลของหนว่ ยงาน (Operation Objective ; O) ทาให้การดาเนนิ งาน

การใช้ทรพั ยากรของหนว่ ยงานเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถลดความผิดพลาดในการดาเนนิ งาน ขจดั ความ
สิน้ เปลอื งทรพั ยากรท่ีอาจเกิดขน้ึ

2.ทาใหก้ ารจดั ทารายงานทางการเงิน (Financial Reporting Objective ; F) เป็นไปอย่างถูกต้อง โปร่งใส
ทันตอ่ เวลา และเชื่อถือได้

3.ทาให้กฎหมาย ระเบยี บขอ้ บังคบั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง (Compliance Objective ; C) ได้มีการยึดถอื ปฏบิ ตั ิอย่าง

จริงจังและสม่าเสมอ

งานแผนงาน งานสารสนเทศ

งานควบคมุ ภายใน งานประกนั คุณภาพการศึกษา

ความสัมพนั ธข์ องงานในกล่มุ งานนโยบายและแผน

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คู่มือกลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 19

การดาเนินงานระบบควบคุมภายในโรงเรยี นวชั รวิทยา

ระบบควบคุมภายในโรงเรียนวัชรวิทยาประกอบดว้ ยคณะกรรมการ จานวน 3 ชดุ ดงั นี้

คณะกรรมการหนว่ ยรับตรวจ

ประธานกรรมการ คอื ผอู้ านวยการโรงเรียน
คณะกรรมการ ประกอบด้วย รองผอู้ านวยการโรงเรยี น หวั หน้ากลุ่มงาน

หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ หัวหนา้ งานประกันคุณภาพ
และหัวหน้างานควบคุมภายใน

คณะกรรมการสว่ นงานย่อย
ประธานกรรมการ คอื รองผู้อานวยการโรงเรยี น / หวั หน้ากลมุ่ งาน
คณะกรรมการ ประกอบด้วย หัวหนา้ งาน ครูและบุคลากรในกลุ่มงาน

คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้

ประธานกรรมการ คอื หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณะกรรมการ ประกอบด้วย ครูในกลุม่ สาระการเรียนรู้

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คมู่ อื กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 20
แผนภูมิคณะกรรมการระบบควบคุมภายในโรงเรยี นวัชรวิทยา

กลุ่มบริหารงานงบประมาณ

หน่วยรับตรวจ กลุ่มบริหารงานวชิ าการ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
กลุ่มบริหารงานทวั่ ไป กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
กลุ่มบริหารงานบคุ คล กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
กลมุ่ งานนโยบายและแผน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

บทบาทหน้าทขี่ องคณะกรรมการหน่วยรับตรวจ

ประธานคณะกรรมการ

1.นิเทศ กากบั ตดิ ตาม การทางานของคณะกรรมการ
2.ใหค้ าแนะนา ปรึกษาและแกป้ ัญหาตา่ งๆ ท่ีเกดิ ข้ึนแก่คณะกรรมการ
3.ประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบ
4.ประชุมรว่ มกบั คณะกรรมการเพือ่ จัดทา

4.1 แบบ ปอ.1 ทาหนงั สือรบั รองการประเมินผลการควบคุมภายใน
4.2 แบบ ปอ.2 ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุม
4.3 แบบ ปอ.3 แผนการปรับปรงุ การควบคุมภายใน
4.4 การประเมนิ การควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คู่มอื กล่มุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 21

คณะกรรมการ

1.เข้าร่วมประชุมและนาข้อมูลปีงบประมาณท่ผี ่านมาจากแบบตดิ ตามแผนการปรับปรงุ การควบคมุ
ภายใน (แบบ ปอ.3) มาพิจารณาความเสีย่ งที่ยังมีอยู่

2.นารายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบการควบคุมภายใน ( แบบ ปย.1 ) ของส่วนงานยอ่ ยทกุ ส่วนงาน
ย่อยมาสรุปลงใน แบบ ปอ.2

3.จัดทาการประเมนิ การควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นาความเสยี่ งที่พบจากการประเมิน 5 องคป์ ระกอบผลการประเมิน CSA และนารายงานการประเมินผล
และการปรบั ปรุงการควบคุมภายใน(แบบ ปย.2)ของส่วนงานย่อยทุกส่วนงานยอ่ ยมาสรุปลงใน แบบ ปอ.3
5.สรปุ ผลการประเมินเพ่ือจดั ทาหนังสอื รับรองการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1)

บทบาทหน้าทขี่ องคณะกรรมการส่วนงานย่อย
ประธานคณะกรรมการ

1.นเิ ทศ กากบั ติดตาม การทางานของคณะกรรมการ
2.ใหค้ าแนะนา ปรกึ ษาและแก้ปัญหาต่างๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ แก่คณะกรรมการ
3.ประเมินองคป์ ระกอบการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ
4.ประชมุ รว่ มกับคณะกรรมการเพอื่ จัด

4.1 แบบ ปย.1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
4.2 แบบ ปย.2 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน
4.3 การประเมินการควบคุมภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1.เข้ารว่ มประชุมและนาข้อมูลปีงบประมาณทผี่ ่านมาจากรายงานการประเมนิ ผลและการปรบั ปรุง
การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.2) มาตดิ ตามผลการปฏิบตั งิ านแลว้ สรปุ ลงในแบบติดตาม ปย.2

2.นาผลการประเมนิ องค์ประกอบการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบภายในของสว่ นงานยอ่ ย ประเมนิ ผล
และสรปุ ลงใน แบบ ปย.1

3.จดั ทาการประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นาความเส่ยี งทีย่ ังหลงเหลืออยู่จากแบบติดตาม ปย.2 ความเส่ยี งจากการประเมนิ 5 ประกอบและผลการ
ประเมิน CSA ประเมนิ ผลและสรุปลงใน แบบ ปย.2
5.จัดสง่ แบบ ปย,1 และ แบบ ปย.2 ให้กบั หวั หน้างานควบคุมภายใน เพ่ือจัดเตรยี มข้อมูลให้กบั
คณะกรรมการหนว่ ยรบั ตรวจ

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กล่มุ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 22

บทบาทหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ประธานคณะกรรมการ

1.นเิ ทศ กากับ ติดตาม การทางานของคณะกรรมการ
2.ให้คาแนะนา ปรกึ ษาและแกป้ ัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดข้ึนแก่คณะกรรมการ
3.ประเมินองคป์ ระกอบการควบคมุ ภายใน 5 องค์ประกอบ|
4.ประชุมรว่ มกบั คณะกรรมการเพอ่ื จัด

4.1 แบบ ปย.1 รายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
4.2 แบบ ปย.2 รายงานการประเมนิ ผลและการปรับปรงุ การควบคมุ ภายใน
4.3 การประเมนิ การควบคมุ ภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1.เข้าร่วมประชมุ และนาข้อมูลปงี บประมาณท่ีผา่ นมาจากรายงานการประเมนิ ผลและการปรบั ปรุง
การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.2) มาติดตามผลการปฏบิ ัตงิ านแล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปย.2

2.นาผลการประเมนิ องค์ประกอบการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบ ภายในของกลุม่ สาระ
การเรยี นรู้ประเมินผลและสรุปลงใน แบบ ปย.1 |

3.จัดทาการประเมนิ การควบคมุ ภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นาความเสยี่ งทีย่ งั หลงเหลืออยู่จากแบบติดตาม ปย.2 ความเสย่ี งจากการประเมิน 5 ประกอบและ
ผลการประเมนิ CSA ประเมินผลและสรปุ ลงใน แบบ ปย.2
5.จัดสง่ แบบ ปย,1 และ แบบ ปย.2 ใหก้ บั หัวหนา้ งานควบคุมภายในเพื่อจดั เตรียมข้อมลู ใหก้ บั
ส่วนงานยอ่ ย (กล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ) และคณะกรรมการหนว่ ยรบั ตรวจ

บทบาทหน้าที่ของผู้รับผดิ ชอบโครงการ/กจิ กรรม

1.สรุปผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรม ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนดให้
2.จัดทาการประเมนิ การควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
กรณีที่มีความเสย่ี ง
3.นาข้อมลู ในขอ้ ท่ี 1 เขา้ ร่วมประเมินผลการควบคุมภายในตามหนว่ ยงานทส่ี ังกัด (กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ หรือ
สว่ นงานยอ่ ย )

กลุม่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คู่มอื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หน้า 23

งานโรงเรียนสจุ รติ

งานโรงเรียนสจุ ริต คือ งานทีด่ าเนินการโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรม

จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา“ป้องกนั การทจุ ริต” (โครงการ

“โรงเรียนสุจรติ ”) โดยการปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ใหย้ ดึ ถอื ประโยชนส์ ว่ นรวม

มากกวา่ ประโยชน์สว่ นตนใหเ้ กิดความเขม้ แข็งมากทสี่ ดุ เพราะเปน็ อนาคตของชาติ ตามมาตรฐาน

การบริหารงานโรงเรยี น ทีใ่ ช้ในการบริหารงานภายในโรงเรียน เพื่อให้การดาเนนิ งานมปี ระสิทธิภาพ โรงเรียนควรนา

หลักคณุ ธรรมจริยธรรม และธรรมาภบิ าล ตลอดจนคณุ ลักษณะนกั เรยี นของโรงเรยี นสุจริตมาใช้ในการบริหารงานให้

สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการโรงเรยี นสุจริตอันส่งผลให้นกั เรียนเกดิ คณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี น

สุจรติ ได้แก่

ทักษะกระบวนการคดิ มวี นิ ัย ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต อยู่อยา่ งพอเพยี ง และจติ สาธารณะ
๑. ทักษะกระบวนการคดิ หมายถงึ กระบวนการทางสมองท่มี นษุ ย์ได้จดั การกับข้อมูลข่าวสาร ด้วยการจาแนก
แยกแยะ เปรยี บเทียบโดยใช้วิจารณญาณอยา่ งมีเหตุผล สามารถแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์
เช่ือมโยงความสมั พันธข์ องข้อมูล โดยแสดงออกดว้ ยการพดู การเขียนหรือทา่ ทาง
๒. มีวินัย หมายถงึ พฤติกรรมของตนเองทีส่ ามารถควบคุมใหป้ ฏบิ ัติตามระเบียบ ขอ้ บงั คับ หนา้ ทท่ี ีก่ าหนด เพอ่ื ใหอ้ ยู่
รว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสุข
๓. ซอื่ สัตย์สจุ ริต หมายถึงการประพฤติตนของบุคคลในทางที่ถูกต้อง ตรงไปตรงมา มคี วามเปน็ จรงิ ไม่คดโกง หรือเอา
เปรียบผู้อ่ืนมีความซอื่ สัตยต์ ่อตนเอง ต่อหน้าทีต่ ่อครอบครัว ต่อสังคมและตอ่ ผู้อ่ืนทัง้ ทางกาย วาจา และใจ
๔. อย่อู ย่างพอเพียง หมายถงึ การดาเนนิ ชวี ิตอยู่ดว้ ยความพอประมาณ มเี หตุผลรอบคอบ มีคณุ ธรรม รวมถึงความ
จาเป็นทีจ่ ะต้องมีระบบภมู ิคุ้มกนั ในตัวท่ดี ีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปล่ยี นแปลงท้งั ภายนอก
และภายใน จนสามารถปรับตัวเพ่ืออยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข
๕. จติ สาธารณะ หมายถงึ พฤตกิ รรมหรือการกระทาของบคุ คลทม่ี คี วามปรารถนาและตระหนกั ถึง
ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมดว้ ยการดูแลเอาใจใส่ และมีสว่ นรว่ มในการอาสาทาประโยชนเ์ พ่อื ส่วนรวมโดยไมห่ วงั
ผลตอบแทน

มาตรฐานการบริหารงานโรงเรยี น ประกอบดว้ ย ๕ มาตรฐานการบรหิ ารงาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑. การบรหิ ารงานวชิ าการ หมายถึง การจัดการเรียนรกู้ ารสง่ เสรมิ นักเรียนใหพ้ ัฒนาตนเองตาม
คุณลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ ริต โดยการจดั การเรียนรูผ้ า่ นส่อื นวตั กรรม แหลง่ เรยี นรู้อยา่ ง
หลากหลาย และประเมินผลนกั เรียนแลว้ นาผลการประเมินไปใชใ้ นการวิจยั เพื่อแก้ปัญหาและพฒั นาพฤตกิ รรม
นกั เรียนให้มีคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสจุ ริต พรอ้ มทง้ั จัดให้มีการนิเทศภายใน และให้บริการ
ดา้ นวชิ าการท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 24

มาตรฐาน รายการตวั บ่งช้ี ประเด็นการพิจารณา
๑. การจดั การเรียนรู้
๑. การบริหารงาน ๑. การวางแผนการจดั การเรียนรู้และการวิเคราะห์ผูเ้ รยี นท่ี
วิชาการ สอดแทรก/บรู ณาการ คณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียน
สุจริต
๒. การจัดกจิ กรรม ๒. ครมู ีการใช้แผนการจัดการเรยี นร้บู ูรณาการจัดการเรียนรู้
ส่งเสรมิ โครงการ บูรณาการเพอื่ พัฒนานักเรียนให้มีคุณลกั ษณะ ๕ ประการของ
โรงเรียนสจุ ริต โรงเรียนสจุ ริตอยา่ งสม่าเสมอ
๓. ครูมกี ารใช้ส่อื /นวัตกรรม/แหล่งเรยี นรู้ ทีห่ ลากหลายและ
กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา ค้มุ ค่า
๔. ครูใชเ้ คร่ืองมือการวัดและประเมนิ ผลนกั เรียนที่หลากหลาย
และเหมาะสมตามคณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสุจริต
อย่างเที่ยงตรง
๕. ประเมินผลนักเรยี นตามคณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรยี น
สุจรติ อย่างเป็นธรรมและมีผลการประเมนิ ในระดบั ดขี ้ึนไปสูง
กวา่ ร้อยละ ๘๐
๖. นักเรยี นจดั ทา่ โครงงาน/วธิ ปี ฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice)
ทสี่ อดคลอ้ งกบั คุณลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจรติ
๗. ครจู ัดท่าวิธปี ฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลศิ (Best-Practice) และหรอื
งานวิจยั ทีส่ อดคลอ้ งกับคณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียน
สจุ ริต
๘. ผู้บรหิ ารจดั ท่าวิธปี ฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) และหรอื
งานวิจยั ทีส่ อดคลอ้ งกับคุณลกั ษณะ ๘ ประการของโรงเรยี น
สจุ ริต

๑. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหน้ ักเรียน
มคี ณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจรติ
๒. ครจู ดั กจิ กรรมตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ส่งเสรมิ
สนบั สนนุ ให้นักเรียนมีคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียน
สจุ ริตทง้ั ในและนอกเวลาเรยี น เชน่ ค่ายเยาวชน, กจิ กรรมจติ
อาสา,กิจกรรมสภานกั เรียน ฯลฯ
๓. ครปู ฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการในการพานักเรียนไป
รว่ มกิจกรรมอย่างเคร่งครัด
๔. นักเรยี นเข้ารว่ มกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับคณุ ลกั ษณะ ๕
ประการของโรงเรียนสุจรติ ดว้ ยความสมัครใจ รอ้ ยละ ๘๐
ข้นึ ไป

คมู่ อื กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 25

มาตรฐาน รายการตัวบง่ ช้ี ประเด็นการพิจารณา
๕. สรุปและรายงานผลการจัดกจิ กรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั
๓. การนเิ ทศภายใน คณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสจุ ริตถกู ตอ้ งตามความ
เปน็ จริง
๔. การบริการ ๖. ครูและนกั เรียนกลา่ วคา่ ปฏญิ ญาโรงเรยี นสจุ ริตในกิจกรรม
ด้านวชิ าการ หนา้ เสาธงและกจิ กรรมต่างๆ อย่างสมา่ เสมอ

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา ๑. จดั ท่าแผนการนเิ ทศภายในทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการจดั การเรยี นรู้
และการจัดกจิ กรรมต่างๆ ของโครงการโรงเรยี นสุจริต
๒. แตง่ ตัง้ ผ้รู บั ผิดชอบในการนเิ ทศท่เี กี่ยวขอ้ งกับ การจัดการ
เรยี นรแู้ ละการจดั กิจกรรมต่างๆ ของโครงการโรงเรียนสุจริตทมี่ ี
ความรคู้ วามสามารถและเปน็ ทยี่ อมรับ
๓. ทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการก่าหนดปฏิทนิ และเครอื่ งมอื นิเทศ
การจดั การเรยี นรแู้ ละจัดกจิ กรรมต่างๆ ของโครงการ
โรงเรียนสุจริต
๔. ดา่ เนนิ การนิเทศตามปฏทิ นิ ที่ก่าหนดพร้อมทัง้ นเิ ทศจุดเนน้
คณุ ลกั ษณะท่ีตอ้ งปฏบิ ัตเิ ร่งดว่ นของผ้บู รหิ าร ครู นักเรยี น
โรงเรยี นสจุ รติ และให้ข้อมลู ย้อนกลบั (feed back) ตรงตาม
ความเป็นจริง
๕. นา่ ผลการนเิ ทศมาวิเคราะหแ์ ลกเปลี่ยนและสะท้อนผลการ
นเิ ทศตามความเปน็ จริงเพอ่ื ร่วมกนั หาวธิ ีการแก้ปญั หาหรือ
พัฒนานกั เรียนให้มีคุณลกั ษณะ ๕ ประการของ
โรงเรยี นสจุ รติ ทดี่ ที ส่ี ุด ประหยัด และเกิดประโยชนส์ งู สุด

๑. มีการวางแผนการให้บรกิ ารดา้ นวชิ าการที่เกย่ี วขอ้ งกบั การ
ดา่ เนินงานโครงการโรงเรียนสจุ ริตอย่างเป็นระบบ
๒. ใหบ้ รกิ ารสื่อ/นวตั กรรม/แหลง่ เรียนรูท้ ี่เกีย่ วขอ้ งกบั การ
ด่าเนนิ งานโครงการโรงเรียนสจุ ริตด้วยความเสมอภาค
๓. บริการใหค้ ่าปรกึ ษาและแลกเปล่ียนองค์ความรู้การ
ด่าเนนิ งานโครงการโรงเรียนสจุ รติ ท้ังภายในและภายนอก
โรงเรียนด้วยความสมคั รใจ
๔. มีการเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธผ์ ลการด่าเนนิ งานโครงการ
โรงเรยี นสจุ ริตท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยวธิ ีการที่
หลากหลายและตอ่ เนื่อง
๕. สร้างเครอื ขา่ ยการบริการดา้ นวิชาการท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การ
ดา่ เนินงานโครงการโรงเรยี นสจุ รติ

คู่มือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หน้า 26

มาตรฐานที่ ๒. การบรหิ ารงานงบประมาณ หมายถงึ การดาเนินงานดา้ นการเงิน การบัญชแี ละพัสดุ ให้ถกู ต้องตาม
ระเบียบแบบแผนของทางราชการ อย่างมสี ่วนร่วม ประหยัด ค้มุ คา่ มคี วามโปรง่ ใสและตรวจสอบได้

มาตรฐาน รายการตวั บง่ ชี้ ประเดน็ การพจิ ารณา

๒. การบรหิ าร ๑. การวางแผนงบประมาณ ๑. ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน และ ป.ป.ช.สพฐ. นอ้ ย มสี ่วนรว่ มใน
งบประมาณ การวเิ คราะหส์ ภาพปจั จบุ นั ปญั หา และความตอ้ งการจา่ เป็นใน
การใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการของโรงเรยี น
๒. มแี ผนและปฏทิ นิ การใช้จา่ ยเงินงบประมาณของโรงเรยี น
อย่างประหยดั และคุ้มค่า
๓. มีหลกั เกณฑ์และขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงานการใชจ้ า่ ย
งบประมาณทช่ี ัดเจนและเปิดเผยขอ้ มูลต่อสาธารณชนได้
๔. มกี ารพจิ ารณาคัดเลอื กผู้ทสี่ มคั รใจและ มีความเหมาะสม
เพ่ือแตง่ ตัง้ ให้รับผดิ ชอบงานการเงนิ การบัญชีและพัสดุของ
โรงเรยี น
๕. ป.ป.ช. สพฐ. ชุมชน และ ป.ป.ช.สพฐ. นอ้ ย มสี ่วนรว่ มใน
การจดั สรรงบประมาณในแตล่ ะแผนงาน/โครงการ อยา่ ง
เหมาะสม

๒. การใชจ้ ่าย ๑. มีการประชุมชแ้ี จงแนวทางการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณให้
งบประมาณ บคุ ลากรและผ้ทู ่ีเก่ยี วขอ้ งของโรงเรียนทราบ
๒. ผ้รู ับผิดชอบแตล่ ะโครงการ/กิจกรรมใชจ้ า่ ยงบประมาณตรง
ตามวตั ถปุ ระสงค์ด้วยความโปรง่ ใสและตรวจสอบได้
๓. ใช้จ่ายงบประมาณตามระยะเวลาทก่ี า่ หนด
๔. มีการใช้จ่ายงบประมาณอย่างประหยดั คมุ้ ค่า และเกดิ
ประโยชน์สงู สุด
๕. มีการเบกิ จา่ ยงบประมาณตามแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
ของโรงเรียนเปน็ ไปตามระเบยี บของทางราชการอย่างโปรง่ ใส
ตรวจสอบได้

๓. การตดิ ตาม ๑. แต่งต้ังคณะกรรมการกา่ กับ ติดตามและตรวจสอบการใช้
ผลการใชจ้ า่ ย จา่ ยงบประมาณของโรงเรยี น โดยมีตัวแทน ป.ป.ช.สพฐ. ชมุ ชน
งบประมาณ และ ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ยเข้ามามสี ว่ นร่วม
๒. มีการจดั ท่าปฏทิ นิ การก่ากับ ตดิ ตามและตรวจสอบการใช้
จ่ายงบประมาณของโรงเรยี น
๓. คณะกรรมการดา่ เนินการก่ากับตดิ ตาม และตรวจสอบการ
ใช้จา่ ยงบประมาณของโรงเรยี นอยา่ งถกู ต้องและเปน็ ธรรม
พรอ้ มให้ข้อมูลย้อนกลบั (feed back) ตามความเปน็ จรงิ

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คู่มอื กลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 27

มาตรฐาน รายการตวั บ่งชี้ ประเด็นการพิจารณา

๒. การบรหิ าร ๓. การติดตาม ๔. คณะกรรมการบนั ทกึ ผลการก่ากบั ติดตามตรวจสอบ และ
งบประมาณ ผลการใช้จา่ ย รายงานผลการใชจ้ ่ายงบประมาณของโรงเรยี นต่อผู้บังคับบญั ชา
งบประมาณ ทุกครงั้
๕. โรงเรยี นรายงานผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณแก่ผทู้ ่ีเก่ยี วขอ้ ง

มาตรฐานท่ี ๓. การบรหิ ารงานบคุ คล หมายถงึ งานทีเ่ กย่ี วข้องกบั การดูแลอานวยความสะดวกใหก้ บั บุคลากรใน
โรงเรียน สรา้ งขวัญกาลงั ใจดูแลการรักษาสทิ ธปิ ระโยชน์อันพงึ มีพึงได้ของบุคลากร ดาเนนิ การจัด
กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพฒั นาความรคู้ วามสามารถใหก้ บั บุคลากร

มาตรฐาน รายการตวั บ่งชี้ ประเดน็ การพิจารณา

๓. การบรหิ ารงาน ๑. การพฒั นา ๑. มีแผนงาน / โครงการพฒั นาบุคลากรของโรงเรยี นเพ่อื สรา้ ง
บุคคล บุคลากร ความรู้ความเข้าใจ และตระหนกั ในการด่าเนนิ งานโครงการ
โรงเรียนสจุ รติ
๒. มกี ารสง่ เสริมให้บุคลากรทกุ คนได้รบั การพฒั นาและแสวงหา
ความรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกับการด่าเนนิ งานโครงการโรงเรยี นสจุ รติ
๓. สนับสนนุ งบประมาณใหบ้ คุ ลากรในการพัฒนาและแสวงหา
ความรู้ท่ีเกยี่ วข้องกบั การด่าเนนิ โครงการโรงเรียนสจุ ริตอยา่ ง
เหมาะสมและคุม้ ค่า
๔. สรุปและรายงานผลการพฒั นาบคุ ลากรของโครงการ
โรงเรียนสุจริตอย่างสม่าเสมอ
๕. มกี ารเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์แลกเปล่ยี นเรียนร้ผู ลการ
ด่าเนินงานการพัฒนาบคุ ลากรของโครงการโรงเรียนสุจรติ อยา่ ง
หลากหลายและตอ่ เนอ่ื ง

๒. การสร้างขวัญกา่ ลงั ใจ ๑. ยกย่อง ชมเชยบุคลากรที่เปน็ แบบอยา่ งตามคุณลกั ษณะ ๕
ประการของโรงเรียนสุจริต
๒. มอบรางวัล (โล่ / เกียรติบัตร / อ่นื ๆ)ให้กับบคุ ลากรท่ีเปน็
แบบอย่างตามคุณลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ รติ
๓. จัดสวัสดิการตา่ งๆ ใหก้ ับบคุ ลากรโรงเรยี นสจุ ริต
๔. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรนา่ ผลงานทเี่ กิดจากการ
ดา่ เนนิ งานโครงการโรงเรียนสจุ ริตไปใชใ้ นการพฒั นา
ความกา้ วหน้าในวิชาชพี
๕. เผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ ผลงานความสา่ เรจ็ ที่เกดิ จากการ
ด่าเนินงานโครงการโรงเรยี นสจุ ริต

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คู่มือกลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 28

มาตรฐานท่ี ๔. การบริหารงานทั่วไป หมายถึง การจดั บริการดา้ นอาคารสถานท่ีแก่ครู นักเรยี นและชุมชน โดยจดั
บรรยากาศภายในโรงเรยี นให้สะอาด รม่ รืน่ สวยงาม ปลอดภยั พร้อมทั้งดูแล บารุงรักษา อาคารเรียน
อาคารประกอบ ห้องเรียน หอ้ งพเิ ศษต่างๆ ใหอ้ ยู่ในสภาพดพี ร้อมใชง้ านและเอ้ือต่อการเรยี นรู้

มาตรฐาน รายการตวั บง่ ช้ี ประเดน็ การพจิ ารณา
๔. การบรหิ าร ๑. การจัดบรรยากาศ
งานทวั่ ไป ภายในโรงเรียน ๑. ส่ารวจและวางแผนการพัฒนาปรบั ปรงุ อาคารสถานท่แี ละ
สงิ่ แวดล้อมในโรงเรียนใหเ้ ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้ตามโครงการ
มาตรฐาน รายการตัวบง่ ชี้ โรงเรยี นสจุ ริต
๒. เปิดโอกาสใหบ้ คุ ลากรในโรงเรียนมสี ่วนร่วมในการกา่ หนด
๒. ความสัมพนั ธช์ ุมชน แนวทางและขอ้ ตกลงในการใชอ้ าคารสถานทีแ่ ละหอ้ งพิเศษ
ต่างๆ ของโรงเรยี น

ประเดน็ การพจิ ารณา

๓. จัดบรรยากาศภายในโรงเรียนใหส้ ะอาด รม่ รื่น สวยงาม
ปลอดภยั และเออ้ื ตอ่ การเรยี นรตู้ ามโครงการโรงเรยี นสจุ ริต
๔. บคุ ลากรภายในโรงเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการบา่ รงุ ดูแลรกั ษา
และใช้อาคารสถานท่ี ด้วยความสมัครใจ คุม้ ค่าและเกิด
ประโยชนส์ งู สุด
๕. มกี ารก่ากับ ติดตาม ตรวจสอบการใช้อาคารสถานทีแ่ ละ
รายงานผลต่อส้เู กย่ี วข้อง อย่างสม่าเสมอ
๑. วิเคราะหส์ ภาพชุมชนเพอื่ ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการ
ดา่ เนนิ งานโครงการโรงเรียนสจุ รติ
๒. แต่งตง้ั ผู้รับผดิ ชอบงานดา้ นความสมั พนั ธช์ มุ ชนโดยมีตวั แทน
ป.ป.ช.สพฐ. ชุมชน และ ป.ป.ช. สพฐ. น้อยเข้ามามสี ่วนรว่ ม
๓. ก่าหนดแผนงาน / โครงการ ท่ีจะใหช้ ุมชนเขา้ มามีสว่ นร่วม
ในการดา่ เนินงานโครงการโรงเรยี นสุจริต
๔. โรงเรียนและชุมชนรว่ มจดั กจิ กรรมต่างๆ ของโครงการ
โรงเรียนสุจริตด้วยความสมัครใจ
๕. ประเมินความพึงพอใจของชมุ ชนที่เข้ามามีสว่ นรว่ มในการ
ด่าเนินโครงการโรงเรียนสจุ ริต

มาตรฐานที่ 5 ผลลัพธ์ ผลลพั ธ์และภาพแห่งความสาเรจ็ หมายถึง ผลท่เี กดิ จากการพฒั นาผูบ้ ริหาร ครู นักเรยี น ตาม
คณุ ลักษณะของโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา “ปอ้ งกนั การทุจรติ ”
(โครงการโรงเรยี นสุจริต) ทส่ี ่งผลใหโ้ รงเรยี นและชุมชนเปน็ สงั คมทสี่ ุจริต ไมค่ อร์รัปชนั โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็น
มนษุ ย์ทีส่ มบูรณโ์ รงเรยี นสุจรติ ทกุ โรงเรยี น ต้องดาเนินการตามมาตรฐานโรงเรียนสุจริตให้เป็นไปตามตวั ชวี้ ัดท่ี
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานไดก้ าหนดขึน้ สามารถศึกษาไดจ้ ากคมู่ ือแบบประเมนิ เกณฑ์มาตรฐาน
โรงเรยี นสจุ ริตได้

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คมู่ ือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 29

มาตรฐาน รายการตวั บง่ ช้ี ประเด็นการพิจารณา
๑. ผบู้ รหิ าร
๕. ผลลพั ธแ์ ละภาพ ๑. มีการวางแผนการปฏบิ ตั อิ ย่างเป็นระบบ
แหง่ ความส่าเรจ็ ๒. ปฏิบัตหิ น้าทตี่ ามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนธรรมเนยี ม
ปฏบิ ตั ขิ องทางราชการและจรรยาบรรณวชิ าชพี
๒. ครู ๓. ไมใ่ ช้ต่าแหน่งหนา้ ท่ีในการแสวงหาผลประโยชน์อนั มิชอบ
๔. ด่าเนนิ ชีวติ โดยยดึ หลักพอเพยี งอยา่ งมีความสุขและเปน็
๓. นักเรยี น แบบอย่างแกส่ าธารณะชน
๔. โรงเรียน ๕. อทุ ิศตนเพ่ือประโยชนข์ องทางราชการและสว่ นรวม
๕. ชมุ ชน ๑. มีการวางแผนการปฏบิ ตั อิ ยา่ งเป็นระบบ
กลุม่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา ๒. ปฏบิ ัติหน้าทตี่ ามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผนธรรมเนียม
ปฏบิ ัติของทางราชการและจรรยาบรรณวชิ าชพี
๓. ปฏบิ ัตหิ น้าทีเ่ ตม็ เวลาและเตม็ ความสามารถ
๔. ดา่ รงชวี ิตโดยยึดหลักความพอเพียง
๕. อทุ ิศตนเพอื่ ประโยชน์ของทางราชการและสว่ นรวม

หมายเหตุ ครูร้อยละ ๘๐ ปฏบิ ตั ิได้ในแต่ละประเดน็

๑. มกี ารท่างานเป็นขนั้ ตอน
๒. ปฏบิ ตั ติ นตามระเบียบ ข้อปฏิบตั แิ ละข้อตกลงของโรงเรยี น
๓. ปฏิบัตติ ามคา่ มัน่ สญั ญา ไมถ่ อื เอาส่งิ ของหรือผลงานของ
ผ้อู ่นื มาเปน็ ของตน
๔. มพี ฤตกิ รรมประหยัด อดออมและใชส้ ่ิงของอย่างคมุ้ คา่
๕. ช่วยเหลืองานผูอ้ น่ื และส่วนรวมด้วยความเตม็ ใจ

หมายเหตุ นกั เรยี นรอ้ ยละ ๘๐ ปฏิบตั ไิ ด้ในแต่ละประเดน็
๑. สภาพแวดล้อมรม่ ร่ืน สวยงามเปน็ สดั สว่ น และปลอดภยั เออื้
ต่อการเรียนรู้
๒. มขี อ้ ตกลง และแนวปฏิบตั ิร่วมกนั ในการด่าเนนิ งานการ
พฒั นาคุณภาพการศึกษา
๓. บรหิ ารงานอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม โปรง่ ใสตรวจสอบได้
๔. ใช้ทรัพยากรอย่างค้มุ ค่า และเกิดประโยชน์สงู สดุ
๕. เป็นตน้ แบบโรงเรยี นโครงการโรงเรยี นสจุ รติ
๑. มสี ่วนรว่ มในการวางแผนการด่าเนนิ งานตามโครงการ
โรงเรียนสุจริต
๒. ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลงระหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชน
๓. ชว่ ยกนั ดูแลรักษาทรัพยส์ มบตั ขิ องโรงเรียน

คู่มือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 30

๔. ด่ารงชีวิตโดยยดึ หลกั ความพอเพยี ง
๕. รว่ มปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความเสยี สละและเต็มใจกับโรงเรียนและ
ชมุ ชน
หมายเหตุ ชุมชนร้อยละ ๘๐ ปฏิบตั ไิ ด้ในแตล่ ะประเด็น

มาตรฐาน รายการตัวบ่งชี้ ประเดน็ การพจิ ารณา
๕. ชมุ ชน
๕. ผลลพั ธแ์ ละภาพ ๔. ดา่ รงชวี ิตโดยยึดหลกั ความพอเพยี ง
แห่งความสา่ เรจ็ ๕. รว่ มปฏิบัตงิ านด้วยความเสียสละและเตม็ ใจกับโรงเรียนและ
ชมุ ชน
หมายเหตุ ชุมชนรอ้ ยละ ๘๐ ปฏิบัติได้ในแตล่ ะประเด็น

หนา้ ทรี่ ับผิดชอบดังนี้
จดั ประชมุ สร้างความรู้ความเขา้ ใจ วางแผนการดาเนินงานตามมาตรฐานโรงเรียนสุจริต วิเคราะหค์ วาม

สอดคลอ้ งของมาตรฐานโรงเรียนสจุ ริตกับโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏบิ ัติการประจาปี กาหนดบทบาทหน้าทข่ี อง
บคุ ลากรที่เกีย่ วขอ้ ง ดาเนนิ งานตามปฏทิ ินของโครงการโรงเรยี นสุจรติ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พน้ื ฐาน เข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆท่ีกาหนด รายงานผลการดาเนินกจิ กรรมต่อหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คู่มือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 31

งานสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศทางการศึกษาโรงเรียนวชั รวิทยา
ระบบ (System) คอื ชดุ ขององค์ประกอบซึ่งมปี ฏิสัมพนั ธ์ ต่อกนั ในรูป

ของความเปน็ หนง่ึ เดยี วและดาเนนิ งานร่วมไปสูเ่ ป้าหมายเดียวกัน ประกอบดว้ ย
สว่ นสาคญั สป่ี ระการ คือ

1. ขอ้ มูลนาเข้า (Input)
2. กระบวนการประมวลผล (Process)
3. ผลลัพธ์ (Input)
4. การควบคุมการยอ้ นกลับ (Feedback Control)
ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถงึ ชุดของคน ข้อมูล และวิธกี าร ซ่ึงทางานร่วมกัน
เพือ่ ใหเ้ กิดความสาเรจ็ ตามเป้าหมายที่วางไว้ หรอื สารสนเทศ คือข้อมูลท่ผี ่านการประมวลผล บวก ลบ คณู
หาร เปรยี บเทยี บหรอื ตรวจสอบแลว้ มีความชดั เจนขึน้ สามารถนามาใช้ในการพจิ ารณาตัดสนิ ใจ หรอื ดาเนนิ การใด ๆ
ต่อไปได้ สารสนเทศจะถูกนาเสนอในรูปอตั ราสว่ น ร้อยละ การเปรยี บเทยี บ เช่น

- อตั ราครตู ่อนักเรยี น
- การเปรยี บเทยี บงบประมาณทไ่ี ดร้ บั ปจั จุบันกับอดีต
- การเปรียบเทยี บผลการดาเนนิ การนบั แต่เร่ิมโครงการ
- การเปรยี บเทยี บผลกาไรต่อการลงทุน
ทรพั ยากรที่สาคัญทสี่ ดุ ขององค์การคือคน คนคือผู้สรา้ งงานผลิต เป็นผใู้ ชบ้ รกิ าร เปน็ ผแู้ ก้ปัญหา และเป็นผู้
ตัดสินใจ คนทีม่ ีคณุ ภาพจะเป็นกระดูกสนั หลังขององค์การ

ประเภทของระบบสารสนเทศ

1. ระบบประมวลผลธรุ กรรม (Transaction Processing System : TPS) เป็นเครื่องมือของผู้บริหารระดับ
ปฏิบัติการ (Operating Manager) เชน่ ระบบสารสนเทศการบญั ชี

2. ระบบสารสนเทศการจัดการ (Management Information System : MIS) เปน็ เครื่องของผูบ้ รหิ าร
ระดบั สงั่ การ หรือระดบั กลาง (Tactical Manager) มี 3 ประเภท คือ รายงานตามตารางการผลิต รายงาน
ตามต้องการ และรายงานพเิ ศษ

3. ระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ (Decision Support System : DSS) เป็นเครื่องมือของผู้บริหารระดับ
นโยบาย หรอื ระดับสงู (Strategic Manager) และผบู้ รหิ ารระดบั ส่ังการหรือระดับกลาง (Tactical Manager)

4. ระบบการสนบั สนุนระดับนโยบาย (Executive Support System : ESS) จาเป็นมากสาหรบั การ
บริหารระดับสงู การพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยใช้ วฏั จักรของการพฒั นาระบบ SDLC เปน็ การตดิ ต่อสือ่ สารอย่าง
ต่อเนื่องชดั

ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ(EIS)

โปรแกรมระบบสารสนเทศทางการศึกษาได้ถกู ออกแบบมาเพ่ือรองรับกบั รปู แบบการทางานทห่ี ลากหลาย
โดยสามารถท่ีใชง้ านบนระบบเครอื ข่ายท่เี ปน็ Client/Server ,LAN (Netware, WindowsNT) ตวั โปรแกรมเปน็
ระบบเปิด (Open System) สามารถเช่ือมต่อกบั ฐานข้อมูลได้มากมาย ไมว่ า่ จะเปน็ Microsoft SQL, Informix
โปรแกรมระบบสารสนเทศทางการศึกษา แบง่ ออกเป็น 2 สว่ น คอื ส่วนสาหรับผดู้ ูแลระบบ (Administrator) และ

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 32

ส่วนสาหรับผู้ใช้ (User) สว่ นผู้ดแู ลระบบจะมีหนา้ ที่กาหนดการเช่ือมต่อฐานข้อมลู กาหนดผู้ใช้และคอย
ดูแล ให้การใชง้ านโปรแกรมเป็นไปอยา่ งราบรืน่ ส่วนของผู้ใช้น้นั จะมสี ่วนกรอกข้อมูลสถติ ทิ างการศึกษา โปรแกรม
ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษา ได้ถูกแบ่งโปรแกรมออกเป็น 7 ระบบ คือ

1.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสาหรบั สถานศกึ ษา(EIS1) เป็นระบบสาหรับกรอกขอ้ มูลของสถานศึกษา
ทกุ สงั กดั ตามแบบ รศ.รค. เพื่อประมวลผลส่งใหก้ ับหนว่ ยงานระดบั สงู ขึ้นไป

2.ระบบบริหารสถานศกึ ษา(EIS2) เปน็ ระบบท่ีใช้ในงานบริหารของสถานศึกษา
3.ระบบสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับหน่วยงานระดับอาเภอ(EIS3) เป็นระบบสาหรับกรอกขอ้ มูลของ
อาเภอตามแบบ รศภ. เพ่ือประมวลผลส่งให้กบั หน่วยงานระดบั สูงขึ้นไป
4.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสาหรับหน่วยงานระดบั จงั หวัด(EIS4) เปน็ ระบบสาหรบั รวบรวมข้อมลู
สารสนเทศของอาเภอท่ีอยใู่ นจงั หวัดนั้นๆ และประมวลผลข้อมลู เพอ่ื สง่ ต่อให้กบั หนว่ ยงานเขตและ
กระทรวงศึกษาธิการ
5.ระบบสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับหน่วยงานระดับเขตการศึกษา(EIS5)เปน็ ระบบสาหรบั รวบรวม
ข้อมลู สารสนเทศของจงั หวดั ทอ่ี ยูใ่ นเขตการศกึ ษานั้นๆ และประมวลผลขอ้ มูลเพ่ือสง่ ต่อให้กับกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
6.ระบบสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับหน่วยงานระดับกระทรวงศกึ ษาธิการ(EIS6) เป็นระบบสาหรบั
รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศของจังหวัด และประมวลผลขอ้ มูลในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธกิ าร
7.ระบบประมวลผลขอ้ มลู (EIS7) เป็นระบบสาหรบั ประมวลผลข้อมูลสารสนเทศของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เพ่ือเผยแพร่ออกสู่ Homepage MOENet

การพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของ ศธ. ตามกรอบนโยบายดา้ น ICT
กระทรวงศึกษาธิการสนองนโยบายของรัฐบาลทจี่ ะพฒั นาระบบเทคโนโลยีการศึกษาและเครือข่าย

สารสนเทศ เพ่ือเพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหค้ นไทยได้รับโอกาสอยา่ งเท่าเทียมกนั และเขา้ ถึงการเรียนรู้
โดยยึดหลักการสร้างชาติสรา้ งคนและสรา้ งงาน มีปญั ญาเป็นทุนในการสร้างงานและสร้างรายได้ ต้งั แต่รัฐบาลภายใต้
การบรหิ าร ของนายกรฐั มนตรีเขา้ มาบรหิ ารประเทศ พรอ้ มทงั้ ได้กาหนดนโยบายเร่งรัดในการพัฒนาและส่งเสรมิ การ
ใช้ ICTเพอ่ื การศึกษา ปัจจุบนั การดาเนินงานตามพันธกิจสาคัญได้มีความกา้ วหน้าตามลาดบั อย่างจรงิ จังและเปน็
รปู ธรรม

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 33

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

ค่มู ือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หน้า 34

ขอบเขตการดาเนินงานของระบบสารสนเทศทางการศึกษาโรงเรียนวชั รวิทยา
1.รวบรวมข้อมูลจาก งานยอ่ ยในกลุ่มบริหารงาน กลุม่ งาน และกลุ่มสาระการเรยี นรู้
2.จัดทาข้อมลู พน้ื ฐานเสนอต่อผบู้ ริการเพอ่ื ใช้ในการบริหารงานโรงเรยี น
3.เปน็ หน่วยให้ข้อมูล ในลกั ษณะข้อมลู ทุติยภมู ิกบั หน่วยงานทตี่ อ้ งการใชข้ ้อมลู ในกรณีท่ีตอ้ งการข้อมูลที่

ละเอยี ดและชัดเจน ใหป้ ระสานกับแหล่งข้อมูลปฐมภูมิโดยตรง
4.จดั ทาฐานข้อมูลผลงานนกั เรยี น ครู โรงเรียนวชั รวทิ ยา
5.จดั ทารายงานสารสนเทศโรงเรยี นวัชรวทิ ยาประจาปีการศึกษา

หมายเหตุ
ข้อมลู ปฐมภมู ิ หมายถงึ ข้อมูลทีไ่ ด้จากแหล่งเกบ็ ข้อมลู โดยตรง ได้แก่ กลมุ่ บรหิ ารงาน กลุ่มงาน และกลุ่ม

สาระการเรียนรู้
ขอ้ มลู ทุตยิ ภมู ิ หมายถงึ ข้อมลู ท่กี ลมุ่ บรหิ ารงาน กลุ่มงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประมวลผลแล้วสรปุ ตาม

แบบฟอร์มท่ีออกโดยงานสารสนเทศ

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คู่มอื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หน้า 35

ระบบสารสนเทศด้วยเครอื ข่ายจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-mail) โรงเรยี นวชั รวิทยา
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อสรา้ งเครือข่ายการสื่อสารภายในองค์กรทส่ี ะดวกและมปี ระสทิ ธิภาพ
2. เพือ่ ประสานงานรบั ส่งข้อมูลท่ีจาเปน็ ได้อยา่ งสะดวก รวดเร็วถูกตอ้ งต่อเน่ืองและทันท่วงที

การดาเนนิ การโครงการ
1. สร้างฐานขอ้ มลู การใช้ E-mail ของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาโรงเรียนวัชรวิทยา
2. ใช้E-mail ที่ไดจ้ ากฐานขอ้ มลู ในการส่งเอกสารและงานทจี่ าเป็นใหก้ บั บุคลากร ไดแ้ ก่

ขา่ วสารทางการศึกษา ผลงานนกั เรยี น ผลงานครู ผลงานโรงเรยี น สถติ ิจานวนนกั เรียน
(ข้อมูลจากกลมุ่ บริหารงานท่วั ไป) ความเคล่ือนไหวจานวนนักเรียน อัตรากาลงั
ข้าราชการครู และข้อมลู อื่นๆที่จาเปน็ สาหรบั ครผู สู้ อน

การใชบ้ ริการข้อมลู (กรณเี ป็นผู้ส่งข้อมลู มายังงานสารสนเทศ)
1.เข้าใช้งาน E-mail ของทา่ น
2.เลอื กเขยี นจดหมาย โดยระบบ E-mail ผรู้ ับคือ [email protected]
3.พิมพร์ ายละเอยี ดและแนบไฟลร์ ูปภาพทต่ี ้องการจะส่ง
4.เมอ่ื ส่งข้อมลู เรียนร้อยจะได้รบั อเี มลข์ อบคุณตอบกลับ

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คูม่ อื กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 36

ระบบสารสนเทศดว้ ยเครือข่าย SMS โรงเรียนวัชรวิทยา

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื สรา้ งเครือข่ายการส่ือสารภายในองค์กรทส่ี ะดวกและมีประสทิ ธภิ าพ
2. เพอื่ สรา้ งระบบสอ่ื สารข้อมูลทีร่ วดเร็วและสามารถประสานงานกับบุคลากร

ได้อย่างทนั ท่วงที

การดาเนนิ การโครงการ
1.รับขอ้ มูลจากหน่วยงานทต่ี ้องการประชาสมั พนั ธ์หรอื แจง้ ขอ้ มลู ข่าวสาร โดยลักษณะข้อมลู ข่าวสารทตี่ ้อง

เปน็ ข้อมูลในลกั ษณะทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ องค์กรโดยรวม ซ่ึงได้แก่
- การแจ้งประชาสัมพันธ์ผลงาน รางวัล
- การแจ้งขา่ วการประชุม หรือการนัดหมายธุระของโรงเรยี น
- แสดงความยินดี กับบุคลากร
- กิจกรรมอนื่ ๆ ตามความเหมาะสม
2.กรองข้อความให้กระชบั (สูงสุดไม่เกนิ 70 ตัวอกั ษร) แลว้ สง่ ข่าวโดยใช้ระบบ INTERNET ใหก้ บั บุคลากร

ไดร้ ับทราบ

ช่องทางการรบั ข้อมูลเพอ่ื ส่งขา่ ว SMS
1.เขียนแบบฟอรม์ สง่ ที่โต๊ะงานสารสนเทศ กลุ่มนโยบายและแผน
2.แจ้งข่าวทางอเี มล์ โดยส่งอีเมลม์ าท่ี [email protected]
3.โทรศัพทแ์ จง้ ทหี่ มายเลขภายใน 15 (ห้องนโยบายและแผน) ในเวลาราชการ
4.โทรหมายเลข 084-812-5386 (เจ้าหนา้ ทีส่ ่ง SMS ) ตลอด 24 ชัว่ โมง

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คู่มือกลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 37

แบบฟอร์มสง่ SMS

ระบบเครอื ข่ายสอ่ื สารโรงเรียนวชั รวิทยา

ส่วนที่ 1 รายละเอยี ดผ้รู ับ

ผ้ทู ี่ตอ้ งการส่งถงึ (เลือกไดม้ ากกว่ารายการ)

( ) ครทู ้ังโรงเรียน

( ) คณะกรรมการสถานศึกษา

( ) เครือขา่ ยผ้ปู กครองนักเรียน สำหรับเจ้ำหนำ้ ท่ี

( ) อื่นๆ (โปรดระบุช่ือพร้อมเบอร์โทร).........................................

..................................................................................................................... ผลกำรคดั กรองขอ้ ควำม
.....................................................................................................................

..................................................................................................................... (ไมเ่ กิน 70 ตัวอักษร)
.....................................................................................................................

..................................................................................................................... ................................................................

สว่ นที่ 2 วันและเวลาส่ง ................................................................

วนั ทแี่ ละเวลาตอ้ งการใหส้ ง่ ................................................................

( ) สง่ ทนั ที ................................................................

( ) ส่งวัน.........ที่.......เดอื น................................พ.ศ................เวลา................ ...................

ส่วนที่ 3 รายละเอียดข้อความที่ต้องการใหส้ ง่ (โดยยอ่ )

............................................................................................................................. .............
.....................................................................................................................................(..... ) ดำเนนิ กำรส่งเรียบร้อยแล้ว

............................................................................................................................. .............

..........................................................................................................................................

ส่วนที่ 4 รายละเอยี ดผใู้ ชบ้ รกิ าร

ฝชา่่ือยค/รงผู าสู้น่ง/ขกอ้ ลคุม่ วสาามร.ะ..ก...า..ร..เ.ร..ยี ..น...ร...ู้ ...................................................................โ.ท...ร........................................................................................ล....ง....ช....ือ่ ......

.............................................

รบกวนวางไว้บนโตะ๊ งานสารสนเทศ

(............................................)

เพอื่ จะรีบดาเนินการใหเ้ รว็ ท่ีสดุ

ขอบคุณทีใ่ ช้บริการ

งานสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวิทยา

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

ค่มู อื กลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 38

เครอื ขา่ ยสารสนเทศออนไลน์ (SOCIAL NETWORK) โรงเรียนวัชรวิทยา
http://www.facebook.com/watcharawittaya
วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือสร้างช่องทางการแบง่ ปนั ข้อมูลภายในหน่วยงานทบ่ี ุคลากรสามารถ
นาเข้าและใชป้ ระโยชน์จากข้อมลู ได้อย่างสะดวกและรวดเรว็
ข้ันตอนการใชง้ าน
1. เขา้ เวบ็ ไซต์ โดยพิมพ์ http://www.facebook.com/watcharawittaya
การเข้าถงึ ที่งา่ ยท่ีสุด งานเวบ็ ไซต์โรงเรียนไดท้ าลิงค์ face book ไวท้ ีห่ นา้ เว็บไซต์โรงเรยี นวัชรวทิ ยาแล้วที่

http://www.wr.ac.th

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คู่มือกลุม่ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หน้า 39

ระบบบริหารจดั การเกยี รติบัตรโรงเรยี นวัชรวิทยา
วตั ถปุ ระสงค์

1.เพ่ือกาหนดมาตรฐานของการออกเกียรติบัตรโรงเรียนใหเ้ ปน็ ไปในรปู แบบเดียวกนั
2.สรา้ งฐานข้อมูลอา้ งอิงเกยี รตบิ ตั รของโรงเรียนวัชรวิทยา
ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน

1.ผตู้ ้องการออกเกียรติบตั รระบจุ านวนเกยี รตบิ ตั รในขั้นตอนของ
การเขียนแผนเพอ่ื ของบประมาณประจาปี

2.เมื่อถึงกาหนดดาเนินโครงการและออกเกียรติบัตรสามารถตดิ ตอ่
รับเกียรติบตั รได้ท่ีหอ้ งกลมุ่ งานนโยบายและแผน (โตะ๊ สารสนเทศ)
ตามจานวนทีเ่ ขยี นไว้ในโครงการ

3.แบบฟอร์มการพิมพ์เกยี รติบตั ร จะสง่ ไปทางอีเมล์ โดยมไี ฟล์ 2 ไฟล์ คือ
Name.xls เป็นไฟลร์ ายชื่อ ให้ทา่ นเปิดเพื่อแกไ้ ขรายชอ่ื ใหต้ รงกบั ที่ท่านตอ้ งการออกเกียรติบัตรให้ เม่ือ

แก้ไขเรยี บร้อยให้ปิดไฟล์ทนั ที
Card.doc เปน็ ไฟล์พิมพเ์ กียรตบิ ัตรที่เชื่อมโยงรายชอื่ จาก Name.xls ท่านสามารถเลือกพมิ พเ์ กียรตบิ ตั ร

ไดค้ รั้งละหลายๆ ฉบบั ไดเ้ ลย
4.เลขที่เกยี รติบัตร ทา่ นสามารถรับไดท้ ีง่ านสารสนเทศ ซึง่ จะให้มาพร้อมกับตวั เกียรติบตั ร

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 40

ฐานข้อมลู ผลงานนกั เรียน ครู และโรงเรยี นวัชรวิทยา

วตั ถปุ ระสงค์
1.เพ่ือบนั ทึกและทาสถิตขิ ้อมูล ผลงานและเกยี รติประวัตขิ องนกั เรียน ครู และโรงเรียนวชั รวทิ ยา
2.สร้างฐานขอ้ มลู และเอกสารหลกั ฐานสาหรับบุคลากรและนักเรียนใชใ้ นการอา้ งอิงผลงาน

ขั้นตอนการดาเนนิ งาน
1.ครผู ้เู ก่ียวขอ้ งหรือผู้ทราบข้อมูลส่งข้อมูลให้กบั งานสารสนเทศ ไดห้ ลายช่องทาง
- อีเมลล์ [email protected]
- โทรศพั ท์ ภายในหมายเลข 15 หรอื โทรศพั ท์หมายเลข 084 812 5386
- บนั ทึกรายงานผู้อานวยการ (จะถึงงานสารสนเทศเองโดยอัตโนมัติ)
(ควรมีภาพประกอบ 2-3 ภาพทีส่ ือ่ ถึงกจิ กรรมทดี่ าเนนิ การด้วย)
2.งานสารสนเทศจะดาเนนิ การจัดทาเปน็ ใบแสดงผลงาน
3.งานสารสนเทศจะแจ้งใบผลงานไปยังอีเมล์ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกท่านไดร้ ับทราบ
4.งานสารสนเทศจะพิมพใ์ บแสดงผลงานและนาไปประชาสมั พันธ์บรเิ วณท่ีลงช่ือปฏบิ ัติราชการ

หนา้ หอ้ งธุรการ

5.สน้ิ ปีการศึกษาจะดาเนินการเปน็ รปู เล่ม ผลงานนักเรียน ครแู ละโรงเรียนประจาปีการศึกษา

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คมู่ ือกลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 41

1.การเข้าใชง้ าน

เขา้ เวบ็ ไซต์โรงเรียนวัชรวิทยา โดยพมิ พ์ http://www.wr.ac.th/

หนา้ เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี นวชั รวิทยา จะปรากฏดังรูป

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 42

ให้สงั เกตทมี่ ุมขวามือ ใตร้ ูปผู้อานวยการจะพบแถบเมนูของ “สารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวิทยา” โดยเปน็
แถบเมนูสีสม้ ดา ดงั รูป ให้คลิก๊ เลอื ก

จะเข้าสหู่ นา้ เพจของงานสารสนเทศ และ กล่มุ งานนโยบายและแผน ดงั รูป

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คู่มือกลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 43

2.สว่ นประกอบของหนา้ เพจ “สารสนเทศ โรงเรียนวัชรวิทยา”
หน้าเพจจะประกอบด้วย 3 สว่ นคอื

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คู่มือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หน้า 44

สว่ นท่ี 1 หนว่ ยงานในกลมุ่ งาน

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หน้า 45

ประกอบไปดว้ ย
โครงสรา้ งกลุ่มงานนโยบายและแผน

จะอธบิ ายถึงโครงสรา้ งการบรหิ ารงานกลมุ่ งานนโยบายและแผน ท่ีประกอบดว้ ยหน่วยงานย่อย
ได้แก่ งานแผนงาน งานประกันคุณภาพ งานควบคุมภายใน งานสารสนเทศ และงานโรงเรยี นสจุ ริต ซง่ึ มี
ขอ้ มูลที่แต่ละหนว่ ยงานจัดทาเป็นขอ้ มูลสารสนเทศแตล่ ะหน่วยงาน ดงั นี้
หน้าเวบ็ เพจงานแผนงาน

กลุม่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คู่มอื กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2560 หนา้ 46

หน้าเว็บเพจงานประกนั คุณภาพ

หน้าเว็บเพจงานควบคมุ ภายใน

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

ค่มู อื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2560 หนา้ 47

หนา้ เวบ็ เพจงานสารสนเทศ

หน้าเว็บเพจงานโรงเรยี นสุจริต

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวิทยา


Click to View FlipBook Version