The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงานระบบควบคุมภายในโรงเรียนวัชรวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr, 2019-11-14 21:27:26

คู่มือการดำเนินงานระบบควบคุมภายในโรงเรียนวัชรวิทยา

คู่มือการดำเนินงานระบบควบคุมภายในโรงเรียนวัชรวิทยา

ระบบงานควบคมุ ภายใน
(The Internal Control System)

การควบคมุ ภายใน หมายถึง กระบวนการที่ผู้บริหารและบคุ ลากรของหนว่ ยงาน
กำหนดให้มีข้ึน เพอ่ื ให้การดำเนินงานมคี วามม่ันใจวา่ การดำเนินงานโดยใช้ระบบการควบคุมภายใน
ของหนว่ ยงาน จะทำใหห้ น่วยงานสามารถดำเนินงานบรรลุผลสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ไดอ้ ยา่ งราบรนื่
ไม่เส่ียงท่ีจะกอ่ ให้เกดิ ความผดิ พลาด อันเป็นเหตทุ ่ีจะทำใหเ้ กดิ ความเสยี หายหรอื ความส้ินเปลอื งแก่
หน่วยงาน

วัตถปุ ระสงค์ของการจัดใหม้ รี ะบบควบคมุ ภายใน
1. เพอ่ื เพ่มิ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของหนว่ ยงาน (Operation Objective ; O) ทำใหก้ าร

ดำเนินงาน การใชท้ รพั ยากรของหนว่ ยงานเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ สามารถลดความ
ผิดพลาดในการดำเนินงาน ขจัดความสิ้นเปลอื งทรพั ยากรทอ่ี าจเกิดขึน้
2. ทำใหก้ ารจัดทำรายงานทางการเงนิ (Financial Reporting Objective ; F) เป็นไปอย่าง
ถูกตอ้ ง โปรง่ ใส ทนั ต่อเวลา และเชอื่ ถอื ได้
3. ทำให้กฎหมาย ระเบียบขอ้ บงั คับทเี่ ก่ียวข้อง (Compliance Objective ; C) ไดม้ กี ารยึดถือ
ปฏิบัติอย่างจรงิ จงั และสม่ำเสมอ

ประโยชน์ท่ไี ด้จากระบบควบคุมภายใน
1. การควบคุมภายในทด่ี ไี ดร้ ับการปฏิบตั ิตามอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลจะทำให้การดำเนนิ การของ

โรงเรียนมปี ระสทิ ธิภาพ/บรรลุวัตถปุ ระสงค์
2. การควบคมุ ภายในชว่ ยปอ้ งกนั ไม่ให้ใช้ทรพั ยากรไปอย่างสน้ิ เปลอื ง หรอื ปอ้ งกันความสญู เสีย

สูญเปลา่ ของทรพั ยากร
3. ทำใหเ้ กดิ ความม่ันใจดา้ นรายงานทางการเงินภายใน -ภายนอก
4. การควบคุมภายในที่ได้รับการออกแบบที่ดจี ะช่วยกำกับการปฏิบตั งิ านด้านตา่ ง ๆ สอดคลอ้ ง

กับกฎหมาย ระเบยี บทใ่ี ชบ้ งั คบั กับโรงเรียน

งานแผนงาน งานสารสนเทศ

งานควบคมุ ภายใน งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

ความสมั พันธข์ องงานในกลมุ่ งานนโยบายและแผน

ระบบควบคมุ ภายใน
(The Internal Control System)

วเิ คราะหน์ โยบาย จดุ เน้น
แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา

และแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี

จดั ทำคมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านควบคมุ ภายใน ปรบั ปรงุ การ
ควบคมุ ภายใน
กำหนดบคุ ลากร/แตง่ ตัง้ คณะกรรมหนว่ ยรบั ตรวจ
และคณะกรรมการส่วนงานยอ่ ย เพอื่ ใชใ้ นปีต่อไป

การออกแบบการควบคุมภายใน

การนำระบบควบคมุ ภายในสู่การปฏบิ ตั ิ

ดำเนินการตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี

การประเมินผลการควบคมุ ภายในด้วยตนเอง
(CSA : Control Self – Assessment)

การประเมนิ ความเส่ียง เสย่ี ง
(Assessing Risk)

ไมเ่ สยี่ ง
เขียนรายงานส่วนงานยอ่ ยและหน่วยรบั ตรวจ/

จัดทำข้อมลู สารสนเทศ

สรปุ และรายงานการควบคมุ ภายใน/
เผยแพร่

วธิ ีการมาตรฐานระบบควบคุมภายใ

ขั้นตอนตาม Flow Chart วธิ กี ารมาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั

1. กำหนดวนั ประชมุ ครูในโรงเรียน - ครู ไมน่ ้อ

วิเคราะห์นโยบาย จุดเนน้ เพ่อื สรา้ งความเข้าใจแผนพฒั นาคุณภาพ มีความเข

แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา การจดั การศกึ ษา และแผนปฏบิ ัติการ คณุ ภาพก
และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี
ประจำปี และแผนป

2. กล่มุ บริหารงาน/กลมุ่ งาน/งาน/กลุ่มสาระ - กลมุ่ บริห

การเรยี นรู้ฯ วเิ คราะห์นโยบาย จุดเนน้ งาน/กลุ่ม

ทีเ่ ก่ยี วกับกรอบภาระงานของตนเองจาก รอ้ ยละ 9

แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา นโยบาย

และแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ที่เกยี่ วกบั

ของตนเอ

คณุ ภาพก

และแผนป

ใน โรงเรียนวชั รวทิ ยา จงั หวดั กำแพงเพชร

ดความสำเรจ็ บันทึก/เอกสาร สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหล่งข้อมูล/
มาตรฐาน
อยกว่ารอ้ ยละ 90 - คำส่งั โรงเรียน สพฐ. สมศ. สากล ผ้เู ก่ยี วข้อง
ขา้ ใจในแผนพัฒนา - บนั ทกึ การประชมุ
การจัดการศกึ ษา - แบบบันทกึ กรอบภาระ 9 กลมุ่ งานนโยบาย
ปฏบิ ัติการประจำปี งานของตนเองจาก
หารงาน/กลุ่มงาน/ แผนพัฒนาคณุ ภาพ (9.1- และแผน
มสาระการเรียนรฯู้ การจัดการศกึ ษา
90 วิเคราะห์ 9.6) - งานควบคมุ ภายใน

จุดเนน้
บกรอบภาระงาน
องจากแผนพฒั นา
การจดั การศกึ ษา
ปฏบิ ัติการประจำปี

ขนั้ ตอนตาม Flow Chart วิธกี ารมาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด

จัดทำคมู่ ือการปฏิบตั ิงาน 1. ศกึ ษาเอกสารเกยี่ วกบั งานควบคมุ ภายใน - ร้อยละ 1
ควบคุมภายใน 2. ศกึ ษานโยบาย/จดุ เน้นของหน่วยงานต้น
- รอ้ ยละ 8
กำหนดบุคลากร/แตง่ ตง้ั คณะ สังกัด คณะกรร
กรรมหนว่ ยรบั ตรวจ และ 3. ศึกษาแผนพฒั นาคุณภาพการจัด สว่ นเก่ยี ว
คณะกรรมการสว่ นงานย่อย บทบาทห
การศึกษา และแผนพัฒนาประจำปี

1. แต่งตง้ั คณะกรรมการหน่วยรบั ตรวจและ
และคณะกรรมการส่วนงานย่อย

2. ประชุมชี้แจงบทบาทหน้าท่ีของ
คณะกรรมการแตล่ ะคณะ

3. คณะกรรมการประชมุ เพ่อื วางแผน
การดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนตาม
มาตรฐานการควบคุมภายใน

4. คณะกรรมการประชมุ ชี้แจงบทบาท
หนา้ ทขี่ องครูที่เก่ียวข้องกับการประเมิน
ระบบควบคมุ ภายใน

ดความสำเรจ็ บันทกึ /เอกสาร สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหล่งขอ้ มูล/
มาตรฐาน
100 - ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ าน สพฐ. สมศ. สากล ผเู้ กีย่ วข้อง
ควบคุมภายใน
9 กลุ่มงานนโยบาย

(9.1- และแผน
9.6) - งานควบคมุ ภายใน

80 ของ - บนั ทึกการประชุม 9 กลุม่ งานนโยบาย
รมการและครูผูม้ ี - คำสัง่ โรงเรยี น (9.1- และแผน
วข้องมีความเข้าใจ 9.6) - งานควบคมุ ภายใน
หนา้ ท่ี

ขนั้ ตอนตาม Flow Chart วธิ กี ารมาตรฐาน ตัวช้วี ดั

การออกแบบการควบคุมภายใน 1. กล่มุ บรหิ ารงาน/กลมุ่ งาน/งาน/กลุ่ม - ครทู ่ีเก่ียว
สาระฯ กำหนดการออกแบบควบคุม สว่ นร่วมใ
ภายในกิจกรรม และภาระงานที่ การควบค
รับผิดชอบ
- ครูผู้รับผิด
2. ผู้รับผิดชอบกิจกรรมและภาระงานนำ ร้อยละ80
ข้อมลู สารสนเทศในปกี ารศึกษาท่ผี ่านมา ควบคมุ ภ
และผลการประเมินความเส่ียงมา ลดความเ
ออกแบบการควบคุมภายใน ดงั น้ี
2.1 หลกั การและเหตุผล
2.2 วตั ถปุ ระสงค์
2.3 เป้าหมายเชงิ ปริมาณและคุณภาพ
2.4 ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ
2.5 ขั้นตอนการดำเนินงาน
2.6 งบประมาณ
2.7 ระยะเวลาดำเนนิ การ
2.8 วิธีการและเครือ่ งมือวดั ผล
2.9 ประโยชนท์ ่ีได้รับ

ดความสำเร็จ บนั ทกึ /เอกสาร สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหล่งขอ้ มูล/
มาตรฐาน
วขอ้ งร้อยละ 80 มี - บนั ทกึ การประชมุ สพฐ. สมศ. สากล ผ้เู กย่ี วข้อง
ในการออกแบบ - กิจกรรม
คมุ ภายใน 9 - กลุ่มบริหารงาน/
ดชอบกจิ กรรม
0 ออกแบบการ (9.1- กล่มุ งาน/งาน
ภายในกิจกรรมเพือ่
เส่ียง 9.6) - กลมุ่ สาระฯ

- งานควบคุมภายใน

ข้นั ตอนตาม Flow Chart วิธีการมาตรฐาน ตัวชว้ี ัด

การนำระบบควบคุมภายใน 1. กลมุ่ บริหารงาน/กลุ่มงาน/งาน/กลุ่มสาระ - ครูทเ่ี ก่ยี ว
สกู่ ารปฏิบตั ิ
ฯ นำระบบควบคมุ ภายในสู่การ ส่วนร่วมใ

ปฏิบตั งิ านตามภาระงานและกิจกรรมที่ ควบคุมภ

รับผิดชอบ ปฏิบัติ

2. ครผู รู้ ับผิดชอบกจิ กรรมดำเนินงานตาม - ครูผ้รู ับผดิ

ขนั้ ตอนที่กำหนดไว้ในกจิ กรรม ร้อยละ 8

3. กรณีทพ่ี บความเสี่ยงในการปฏิบตั ิงาน ข้นั ตอนท

ตามภาระงานหรือดำเนินกิจกรรมให้ครู กิจกรรมไ

ผู้รับผิดชอบรายงานตอ่ หัวหน้าเพ่ือรว่ มหา ประสิทธภิ

แนวทางแกป้ ญั หาหรือความเสย่ี งที่พบ

หากเปน็ กรณีท่เี ป็นความเสยี่ งที่เป็น

ผลกระทบในวงกวา้ งใหห้ ัวหน้ารายงานต่อ

ฝา่ ยบริหาร

ดความสำเรจ็ บันทึก/เอกสาร สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหล่งขอ้ มลู /
มาตรฐาน
วข้องรอ้ ยละ 80 มี - เอกสารสรปุ รายงานผล สพฐ. สมศ. สากล ผู้เก่ยี วขอ้ ง
ในการนำระบบ การจัดกิจกรรม
ภายในไปสู่การ 9 - กลุ่มบรหิ ารงาน/

ดชอบกิจกรรม (9.1- กลมุ่ งาน/งาน
80 ดำเนนิ งานตาม
ท่ีกำหนดไว้ใน 9.6) - กลมุ่ สาระฯ
ไดอ้ ย่างมี
ภาพ - งานควบคุมภายใน

ขนั้ ตอนตาม Flow Chart วิธีการมาตรฐาน ตัวชี้วัด

ดำเนนิ การตามแผนปฏิบัตกิ าร 1. กลมุ่ บริหารงาน/กลมุ่ งาน/งาน/กลุ่มสาระ - ครูทเี่ กี่ย
ประจำปี
ฯ ดำเนนิ กิจกรรมตามขั้นตอนที่กำหนด มกี ารดำเ

ไว้ในแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ข้นั ตอนท

2. ครผู ูร้ ับผดิ ชอบประเมินผลการจัด แผนปฏิบ

กิจกรรม - ครผู รู้ บั ผิด

รอ้ ยละ 8

การจดั กิจ

ดความสำเรจ็ บนั ทึก/เอกสาร สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหล่งขอ้ มูล/
มาตรฐาน
ยวข้องร้อยละ 80 - เอกสารสรุปรายงานผล สพฐ. สมศ. สากล ผเู้ กี่ยวข้อง
เนนิ กิจกรรมตาม การจัดกิจกรรม
ที่กำหนดไว้ใน 9 - กลุ่มบรหิ ารงาน/
บัตกิ ารประจำปี
ดชอบกจิ กรรม (9.1- กลุ่มงาน/งาน
80 รายงานผล
จกรรม 9.6) - กลุม่ สาระฯ

- งานควบคุมภายใน

ข้นั ตอนตาม Flow Chart วธิ กี ารมาตรฐาน ตัวชว้ี ดั

การประเมนิ ผลการควบคุม 1. ประชุมคณะกรรมการส่วนงานย่อย - ครผู รู้ บั ผิด
ภายในดว้ ยตนเอง
2. กลมุ่ บริหารงาน/กลุม่ งาน/งาน/กลุ่มสาระ กิจกรรม
(CSA : Control Self –
Assessment) ฯ ประเมนิ ผลการควบคุมภายใน สามารถป

ผลการปฏบิ ตั งิ านตามภาระงานและ ควบคมุ ภ

กจิ กรรมที่รับผดิ ชอบ

3. ครูผรู้ บั ผดิ ชอบกิจกรรมและภาระงาน

จัดทำแบบประเมินการควบคุมภายใน

ดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self-

Assessment)

4. กล่มุ บรหิ ารงาน/กลุม่ งาน/งาน/กลุ่มสาระ

ฯ ประชุมร่วมกันวเิ คราะหผ์ ลการ

ประเมนิ ควบคมุ ภายในด้วยตนเอง

5. หวั หนา้ ส่วนงานย่อย ส่งสรุปผล

การประเมนิ การควบคมุ ภายในด้วยตนเอง

ดความสำเร็จ บันทึก/เอกสาร สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน แหล่งข้อมูล/
มาตรฐาน
ดชอบงาน/ - แบบประเมินการ สพฐ. สมศ. สากล ผ้เู กยี่ วข้อง
ร้อยละ 80 ควบคมุ ภายในด้วยตนเอง
ประเมนิ การ (CSA : Control Self- 9 - กลุม่ บรหิ ารงาน/
ภายในด้วยตนเอง Assessment)
(9.1- กลุ่มงาน/งาน

9.6) - กลมุ่ สาระฯ

- งานควบคุมภายใน

ข้นั ตอนตาม Flow Chart วธิ กี ารมาตรฐาน ตัวชี้วดั

1. กลมุ่ บริหารงาน/กลุม่ งาน/งาน/กลุ่มสาระ - ครูร้อยละ

การประเมินความเสีย่ ง ฯ นำผลการประเมินกจิ กรรมที่ มีสว่ นรว่ ม
(Assessing Risk)
รบั ผดิ ชอบในปที ี่ผ่านมาเพ่ือระบปุ จั จยั ความเส่ีย

เสี่ยงทง้ั ภายในและภายนอก

ประกอบด้วย ด้านวตั ถปุ ระสงค์

ด้านกระบวนการปฏิบตั งิ าน ดา้ น

ทรัพยากร (งบประมาณ , วสั ดุครุภัณฑ์

และบคุ ลากร)

2. กลมุ่ บริหารงาน/กล่มุ งาน/งาน/กลุ่มสาระ

ฯ นำปัจจัยเส่ยี งท่รี ะบุไว้มาวเิ คราะห์

ความเสยี่ ง โดยใชเ้ ทคนคิ การวิเคราะห์

ความเสี่ยง และพิจารณาวา่ ความเส่ยี งใด

มีผลกระทบมากน้อยเพยี งใดและจัด

ลำดับความเสย่ี งจากเสีย่ งนอ้ ยไปเสยี่ งมาก

3. กลุม่ บรหิ ารงาน/กลมุ่ งาน/งาน/กลุ่มสาระ

ฯ กำหนดวิธีการจดั การเพื่อลดความเสย่ี ง

ดความสำเร็จ บนั ทึก/เอกสาร สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มูล/
มาตรฐาน
ะ 90 - บนั ทึกการประชุม สพฐ. สมศ. สากล ผเู้ กี่ยวข้อง
มในการประเมนิ - แบบบนั ทึกการประเมิน
ยง ความเสย่ี ง 9 - กลมุ่ บริหารงาน/

(9.1- กลุม่ งาน/งาน

9.6) - กลุ่มสาระฯ

- งานควบคุมภายใน

ข้นั ตอนตาม Flow Chart วธิ ีการมาตรฐาน ตวั ชวี้ ัด

เขียนรายงานสว่ นงานย่อย 1. ประชมุ คณะกรรมการส่วนงานย่อย - กลุ่มบริห
และหน่วยรับตรวจ/จดั ทำ ไดแ้ ก่ กลุ่มบรหิ ารงาน/กลุ่มงาน/งาน/ งาน/กล่มุ
กลุ่มสาระฯ ประเมนิ ผลการควบคุม 80 สามา
ข้อมลู สารสนเทศ ภายในผลการปฏบิ ตั ิงานตามภาระงาน ควบคุมภ
และกจิ กรรมทรี่ บั ผดิ ชอบ

2. จดั ทำแบบประเมิน 5 องค์ประกอบ
3. จดั ทำ ปย.2 และแผนการปรับปรงุ ของ

สว่ นงานย่อย
4. หวั หนา้ สว่ นงานย่อย สง่ สรปุ ผลการ

ประเมนิ การควบคุมภายในด้วยตนเอง
5. หัวหน้างานควบคุมภายใน รวบรวม

ปย.2 และแผนการปรับปรุง รายงานต่อ
คณะกรรมการหนว่ ยรบั ตรวจ

ดความสำเร็จ บนั ทกึ /เอกสาร สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู /
มาตรฐาน
สพฐ. สมศ. สากล ผเู้ กีย่ วข้อง

หารงาน/กลุม่ งาน/ - แบบประเมนิ 5 9 - กลุม่ บรหิ ารงาน/
มสาระฯ ร้อยละ องคป์ ระกอบ
ารถประเมินการ - ปย.2 (9.1- กลมุ่ งาน/งาน
ภายในด้วยตนเอง - แผนการปรับปรงุ
9.6) - กลุ่มสาระฯ

- งานควบคุมภายใน

ข้นั ตอนตาม Flow Chart วธิ กี ารมาตรฐาน ตวั ช้ีวัด

สรปุ และรายงานการ 1. ประชมุ คณะกรรมการหน่วยรับตรวจ - รอ้ ยละ 9
ควบคมุ ภายใน / 2. คณะกรรมการหน่วยรบั ตรวจจัดทำแบบ กจิ กรรมต
เผยแพร่ ไมม่ ีความ
ประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุม
ภายในและสรุปผลการประเมินลงในแบบ
ปอ.2
3. นำสรุปผลการประเมนิ การควบคุม
ภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control
Self-Assessment) ของส่วนงานย่อยมา
วิเคราะหแ์ ละสรปุ ความเสยี่ งลงในแบบ
ปอ.1
4. จดั ทำรายงานแผนการปรับปรงุ การ
ควบคมุ ภายในลงในแบบ ปอ.3

ดความสำเร็จ บันทึก/เอกสาร สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหลง่ ข้อมูล/
มาตรฐาน
95 ของภาระงาน/ - รายงานผลการประเมนิ สพฐ. สมศ. สากล ผู้เกยี่ วข้อง
ตามโครงการ การควบคมุ ภายใน
มเส่ยี ง ประจำปงี บประมาณ 9 กลมุ่ งานนโยบาย

(9.1- และแผน

9.6) - งานควบคุมภายใน

การดำเนินงานระบบควบคมุ ภายในโรงเรียนวัชรวทิ ยา

ระบบควบคมุ ภายในโรงเรยี นวชั รวิทยาประกอบดว้ ยคณะกรรมการ จำนวน 3 ชดุ ดงั น้ี

คณะกรรมการหน่วยรับตรวจ
ประธานกรรมการ คอื ผู้อำนวยการโรงเรยี น
คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น หัวหนา้ กลมุ่ งาน

หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ หัวหน้างานประกันคณุ ภาพ และ
หวั หน้างานควบคุมภายใน

คณะกรรมการสว่ นงานยอ่ ย
ประธานกรรมการ คอื รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน / หวั หนา้ กลมุ่ งาน
คณะกรรมการ ประกอบด้วย หัวหน้างาน ครูและบคุ ลากรในกลมุ่ งาน

คณะกรรมการกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ประธานกรรมการ คือ หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้
คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย ครใู นกลุม่ สาระการเรียนรู้

แผนภูมคิ ณะกรรมการระบบควบคุมภายในโรงเรียนวชั รวิทยา

หนว่ ยรบั ตรวจ สว่ นงานย่อย กลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มบริหารงานงบประมาณ ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์
กลุ่มบริหารงานวชิ าการ
กลมุ่ บรหิ ารงานท่ัวไป วทิ ยาศาสตร์

กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

ศิลปะ
การงานอาชีพและ

เทคโนโลยี
ภาษาตา่ งประเทศ
โครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษ

บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการหน่วยรบั ตรวจ

ประธานคณะกรรมการ

1. นิเทศ กำกับ ตดิ ตาม การทำงานของคณะกรรมการ
2. ใหค้ ำแนะนำ ปรกึ ษาและแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ข้ึนแกค่ ณะกรรมการ
3. ประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบ
4. ประชมุ ร่วมกบั คณะกรรมการเพอ่ื จัดทำ

4.1 แบบ ปค. 1 : หนงั สือรบั รองการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน
4.2 แบบ ปค. 4 : รายงานการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน
4.3 แบบ ปค. 5 : รายงานการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน
4.4 แบบตดิ ตาม ปค. 5 : รายงานการติดตามการประเมินผลการควบคุมภายใน

4.5 การประเมนิ การควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1. แต่งต้งั คณะกรรมการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน
2. เข้ารว่ มประชุมและนำแบบ ปค.5 (ของปที ่แี ล้ว) มาตดิ ตามผลการดำเนินงานวา่ ได้

ดำเนินการตามแผนการปรับปรุงหรือไม่ ผลเป็นอย่างไร แลว้ สรปุ ลงในแบบติดตาม ปค.5
3. นำผลการประเมนิ องคป์ ระกอบการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบ ในระดับหนว่ ยงาน

สรปุ ลงในรายงานการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค.4)

4. จัดทำการประเมนิ การควบคุมภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

5. นำความเสีย่ งทพี่ บจากการประเมนิ 5 องคป์ ระกอบ ผลการประเมนิ CSA และนำรายงาน
การประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค.5) ของทกุ สว่ นงานยอ่ ยมาสรปุ ลงใน
แบบ ปค.5

6. สรปุ ผลการประเมินเพ่ือจัดทำหนงั สอื รบั รองการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค.1)
7. ส่งรายงานแบบ ปค. 1 แบบ ปค.4 แบบ ปค.5 และแบบตดิ ตาม ปค.5 ให้สำนกั งาน

เขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 41

บทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการส่วนงานย่อย

ประธานคณะกรรมการ

1. นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม การทำงานของคณะกรรมการ
2. ให้คำแนะนำ ปรึกษาและแกป้ ัญหาต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ แกค่ ณะกรรมการ
3. ประเมนิ องค์ประกอบการควบคมุ ภายใน 5 องค์ประกอบ
4. ประชมุ รว่ มกบั คณะกรรมการเพอื่ จดั

4.1 แบบ ปค.4 : รายงานการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
4.2 แบบ ปค.5 : รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน
4.3 แบบติดตาม ปค.5 : รายงานการติดตามการประเมินผลการควบคมุ ภายใน
4.4 การประเมินการควบคมุ ภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1. เข้ารว่ มประชมุ และนำข้อมลู ปงี บประมาณทผี่ ่านมาจากรายงานการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน
(แบบ ปค.5) ของปที ่แี ล้ว มาตดิ ตามผลการปฏบิ ัตงิ านแลว้ สรปุ ลงในแบบติดตาม ปค.5

2. นำผลการประเมินองคป์ ระกอบการควบคมุ ภายใน 5 องคป์ ระกอบภายในของส่วนงานย่อย
ประเมนิ ผลและสรปุ ลงในรายงานการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค.4)

3. นำกจิ กรรม/งานในระดบั หน่วยงานยอ่ ยมาวิเคราะหค์ วามเสยี่ งโดยจดั ทำการประเมินการควบคุม

ภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

4. นำความเสี่ยงที่ยงั หลงเหลืออยจู่ ากแบบติดตาม ปค.5 ความเสี่ยงจากการประเมิน 5 ประกอบ
และผลการประเมิน CSA ประเมินผลและสรปุ ลงใน แบบ ปค.5

5. จัดสง่ แบบ ปค.4 และ แบบ ปค.5 ใหก้ ับหวั หน้างานควบคมุ ภายใน เพื่อจดั เตรียมขอ้ มลู ใหก้ บั
คณะกรรมการหนว่ ยรบั ตรวจ

บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการกลุม่ สาระการเรยี นรู้

ประธานคณะกรรมการ

1. นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม การทำงานของคณะกรรมการ
2. ให้คำแนะนำ ปรกึ ษาและแกป้ ญั หาต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ แกค่ ณะกรรมการ
3. ประเมนิ องค์ประกอบการควบคมุ ภายใน 5 องคป์ ระกอบ
4. ประชุมรว่ มกบั คณะกรรมการเพอื่ จัด

4.1 แบบ ปค.4 : รายงานการประเมินองคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน
4.2 แบบ ปค.5 : รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน
4.3 แบบตดิ ตาม ปค.5 : รายงานการติดตามการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน
4.4 การประเมินการควบคมุ ภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1. เขา้ รว่ มประชุมและนำข้อมลู ปงี บประมาณท่ีผา่ นมาจากรายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน
(แบบ ปค.5) ของปีทแ่ี ล้ว มาตดิ ตามผลการปฏบิ ัติงานแลว้ สรปุ ลงในแบบตดิ ตาม ปค.5

2. นำผลการประเมนิ องคป์ ระกอบการควบคมุ ภายใน 5 องคป์ ระกอบภายในของสว่ นงานยอ่ ย
ประเมินผลและสรปุ ลงในรายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค.4)

3. นำกจิ กรรม/งานในระดบั หนว่ ยงานยอ่ ยมาวิเคราะห์ความเสย่ี งโดยจัดทำการประเมินการควบคมุ
ภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

4. นำความเสี่ยงท่ยี ังหลงเหลืออยจู่ ากแบบตดิ ตาม ปค.5 ความเส่ียงจากการประเมนิ 5 ประกอบ
และผลการประเมนิ CSA ประเมนิ ผลและสรุปลงใน แบบ ปค.5

5. จดั ส่งแบบ ปค.4 และ แบบ ปค.5 ให้กบั สว่ นงานย่อย (กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ) และคณะกรรมการ
หน่วยรบั ตรวจ

บทบาทหน้าที่ของผูร้ ับผิดชอบโครงการ/กจิ กรรม

1. สรปุ ผลการดำเนินการโครงการ/กจิ กรรม ตามแบบฟอรม์ ทกี่ ำหนดให้

2. จัดทำการประเมนิ การควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

กรณที ่มี ีความเส่ยี ง
3. นำข้อมลู ในข้อที่ 1 เขา้ ร่วมประเมินผลการควบคุมภายในตามหนว่ ยงานทสี่ ังกดั

( กลุม่ สาระการเรียนรู้ หรอื ส่วนงานย่อย )

สรุปขนั้ ตอนการจัดทำรายงาน

1. หน่วยงานย่อย (สำนกั งาน/กลมุ่ /หนว่ ย/งาน)

แบบ ปค.5 การประเมินด้วยตนเอง
(ปีท่ีแลว้ ) (CSA)

แบบติดตาม ปค.5

แบบ ปค.5
(ปีน้)ี

แบบฟอรม์ ของสำนกั งาน/กล่มุ /หน่วย/งาน
แบบ ปค.5 : รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน

แบบตดิ ตาม ปค.5 : รายงานการติดตามการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน

2. หนว่ ยงาน (โรงเรียน) แบบประเมนิ 5 แบบ ปค.5
องค์ประกอบ (กลมุ่ )
แบบ ปค.5
(ปที ีแ่ ล้ว)

แบบติดตาม ปค.5 แบบ ปค.4

แบบ ปค.5
(ปีน้ี)

แบบ ปค.1

แบบฟอร์มของสำนักงาน/กล่มุ /หนว่ ย/งาน
แบบ ปค. 1 : หนงั สือรับรองการประเมินผลการควบคมุ ภายใน

แบบ ปค. 4 : รายงานการประเมินองคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
แบบ ปค. 5 : รายงานการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน
แบบตดิ ตาม ปค. 5 : รายงานการติดตามการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน

แบบประเมนิ การควบคมุ ภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
ปงี บประมาณ ………………

กลมุ่ สาระการเรียนร…ู้ ……………………………………..…..……………………
ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม…………………………………………………………………….……………………………………….………

ชือ่ ผรู้ ับผิดชอบกจิ กรรม………………………….………………………………………

ลำดบั รายการ ผลการประเมิน
ท่ี เพยี งพอ ไมเ่ พยี งพอ สาเหตุ (กรณไี ม่เพียงพอหรือมคี วามเสย่ี ง)

1 วัตถปุ ระสงค์

2 เปา้ หมาย

3 ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็

4 วธิ กี ารดำเนนิ งาน

5 งบประมาณ

6 ระยะเวลา
ดำเนินงาน

7 การประเมนิ ผล

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม 1. ร้อยละของความสำเร็จเทยี บกบั ทตี่ ัง้ ไว้ สงู กวา่
ต่ำกว่า เทา่ กบั ไมเ่ พยี งพอ
ไม่มี
2. ความเพยี งพอ เพยี งพอ

3. ประสิทธผิ ล มี

ลงชอ่ื .............................................................. ลงชือ่ ..............................................................
(.............................................................) (.................................................................)

ผู้รับผิดชอบกจิ กรรม หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้

แบบประเมนิ การควบคมุ ภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
ปงี บประมาณ ………………

งาน………………………………...…………………กลมุ่ บริหารงาน………………………………………………………
ช่อื โครงการ/กจิ กรรม…………………………………………………………………….……………………………………….………

ชือ่ ผ้รู ับผิดชอบกจิ กรรม………………………….………………………………………

ลำดับ รายการ ผลการประเมนิ
ที่ เพยี งพอ ไมเ่ พียงพอ สาเหตุ (กรณีไม่เพียงพอหรือมคี วามเสย่ี ง)

1 วตั ถปุ ระสงค์

2 เป้าหมาย

3 ตัวชี้วัดความสำเรจ็

4 วิธีการดำเนนิ งาน

5 งบประมาณ

6 ระยะเวลา
ดำเนนิ งาน

7 การประเมินผล

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม 1. รอ้ ยละของความสำเร็จเทยี บกบั ท่ตี งั้ ไว้ สงู กวา่
ต่ำกวา่ เท่ากบั ไมเ่ พยี งพอ
ไมม่ ี
2. ความเพียงพอ เพียงพอ

3. ประสิทธผิ ล มี

ลงช่อื .............................................................. ลงช่อื ..............................................................
(.............................................................) (.................................................................)

ผูร้ ับผิดชอบกจิ กรรม รองฯกลมุ่ บรหิ ารงาน……………….………………..

แบบประเมนิ การควบคุมภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
ปีงบประมาณ ………………

โครงการห้องเรียนพิเศษ………………………….…………………………
ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม…………………………………………………………………….……………………………………….………

ช่ือผูร้ บั ผิดชอบกจิ กรรม………………………….………………………………………

ลำดับ รายการ ผลการประเมนิ
ที่ เพียงพอ ไมเ่ พยี งพอ สาเหตุ (กรณีไมเ่ พยี งพอหรอื มีความเสย่ี ง)

1 วัตถุประสงค์

2 เป้าหมาย

3 ตวั ช้ีวัดความสำเรจ็

4 วธิ กี ารดำเนนิ งาน

5 งบประมาณ

6 ระยะเวลา
ดำเนินงาน

7 การประเมินผล

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม 1. ร้อยละของความสำเรจ็ เทยี บกบั ที่ตงั้ ไว้ สงู กว่า
ตำ่ กว่า เท่ากบั ไม่เพียงพอ
ไม่มี
2. ความเพียงพอ เพียงพอ

3. ประสิทธผิ ล มี

ลงชอ่ื .............................................................. ลงชอ่ื ..............................................................

(.............................................................) (.................................................................)
ผู้รับผิดชอบกจิ กรรม หวั หนา้ โครงการ

แบบ ปค.4

โรงเรยี นวัชรวิทยา
รายงานการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
สำหรบั ระยะเวลาดำเนินงานสน้ิ สดุ ณ วันท่ี 30 เดือน กันยายน พ.ศ. ………………..

องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรุป
(1) (2)

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม
..................................................................................

2. การประเมินความเสีย่ ง
..................................................................................

3. กจิ กรรมการควบคมุ
..................................................................................

4. สารสนเทศและการสอื่ สาร
.................................................................................
5. การตดิ ตามประเมนิ ผล
.................................................................................

ผลการประเมินโดยรวม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อผรู้ ายงาน..............................................................
(.................................................................)

วันท่.ี ..............เดือน.........................................พ.ศ. ...............

ชื่อส่วนงานยอ่ ย/กลมุ่ สาระการเรยี นรู.้ ................................ โรงเรยี นวัชรวทิ ยา แบบ ปค.5
รายงานการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน
หน่วยงาน
สำหรบั ระยะเวลาการดำเนินงานส้ินสดุ วันท่ี 30 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2562 ทร่ี ับผดิ ชอบ

ภารกิจตามกฎหมายทีจ่ ัดตง้ั ความเสย่ี ง การควบคุม การประเมินผล ความเสย่ี ง การปรบั ปรงุ
หน่วยงานของรฐั หรือภารกิจตาม ภายในทม่ี ีอยู่ การควบคมุ ท่ียงั มอี ยู่ การควบคุม

แผนการดำเนินการ ภายใน ภายใน
หรอื ภารกจิ อนื่ ๆ ทส่ี ำคัญของ
หนว่ ยงานของรัฐ/วตั ถุประสงค์

ชือ่ ผ้รู ายงาน..............................................................

(.................................................................)
วันท่ี...............เดือน.........................................พ.ศ. ...............

ชื่อสว่ นงานย่อย/กลมุ่ สาระการเรียนร้.ู ................................ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา แบบติดตาม ปค.5
รายงานการติดตามการประเมินผลการควบคมุ ภายใน
ณ วันที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2562

ภารกจิ ตามกฎหมายที่ ความเส่ยี ง การควบคมุ การประเมนิ ผล ความเสย่ี ง การปรบั ปรงุ หนว่ ยงาน วธิ กี ารตดิ ตาม
จดั ต้ังหน่วยงานของ ภายในท่มี ีอยู่ การควบคมุ ทีย่ งั มีอยู่ การควบคุม ที่รับผิดชอบ และสรปุ ผล
การประเมนิ /
รฐั หรือภารกิจตาม ภายใน ภายใน ขอ้ คดิ เหน็

แผนการดำเนนิ การ

หรอื ภารกิจอ่ืนๆ ท่ี

สำคญั ของหน่วยงาน
ของรฐั /วตั ถุประสงค์

ช่ือผู้รายงาน..............................................................
(.................................................................)

วันที่...............เดอื น.........................................พ.ศ. ...............


Click to View FlipBook Version