แผนพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี
(Individual Development Plan - ID Plan)
นางสาวภรภทั ร วงศ์สามี
ตาแหนง่ ครู คศ.1
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั นครปฐม
(พระตาหนกั สวนกุหลาบมัธยม)
สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 9
คานา
ตามท่ี ก.ค.ศ.ได้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพครู (ว22/2560) เมื่อวันท่ี 5
กรกฎาคม 2560 ข้อ 1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปี
โดยให้ประเมนิ ตนเองตามแบบ ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด พร้อมทั้งจดั ทาแผนการพัฒนาตนเองเป็นรายปี ตามแบบที่
ส่วนราชการกาหนด และเข้ารับการพัฒนาตามแผนอย่างเป็นระบบ และต่อเน่ือง ฉะน้ัน ก่อนจะเลือก
หลักสูตรคูปอง ครูจะต้องประเมินตนเอง จัดทาแผนพัฒนาตนเอง เพื่อให้ผู้บริหารอนุมัติหลักสูตร
ตาม ID Plan
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้ดาเนินการโครงการพัฒนาครูแบบครบวงจร
ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการปฏิรูประบบการพัฒนาครู เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาทรัพยากร
บคุ คลอยา่ งมีระบบ และมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
ซ่ึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์) มีนโยบายพัฒนาครูเพ่ือเช่ือมโยง
กับวิทยฐานะ โดยจัดสรรงบประมาณให้ข้าราชการครู คนละ 10,000 บาทต่อไป สาหรับการอบรมพัฒนา
ตนเองในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรองและ สพฐ.คัดเลือกหลักสูตรการพัฒนา สาหรับปีงบประมาณ
2562 นี้ กาหนดการเร่ิมให้ครูแสดงความต้องการพัฒนาตนเองในหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาตนเอง
(ID Plan) เพื่อเตรียนความพร้อมและเริ่มเข้ารับการอบรมต้ังแต่วันท่ี 30 มิถุนายน – 16 กันยายน 2561
ซ่งึ ในระหว่างน้ี จะมแี นวปฏบิ ัติของครูผ้สู อน ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ตอ่ ไป
สารบัญ
เร่อื ง หนา้
สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลผูจ้ ดั ทาแผนพฒั นาตนเอง
1
งานในหนา้ ทีท่ ่รี ับผิดชอบ 3
ผลงานทเ่ี กดิ จากการปฏิบตั ิหน้าที่ในตาแหนง่ ปจั จุบัน 3
ผลที่เกดิ จากการจัดการเรยี นรู้ 3
ผลที่เกดิ จากการพฒั นาวชิ าการ 4
ผลทเี่ กดิ กับผเู้ รียน 4
ผลที่เกดิ กบั สถานศึกษา 4
ผลทเ่ี กิดกบั ชุมชน
สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเอง 6
ตอนที่ 1 ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ กคศ. 7
ตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ ศักยภาพของผเู้ รยี นในสถานศึกษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ. 8
ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ ศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสตู รของสถาบันคุรุพฒั นา
สว่ นที่ 3 แผนการพฒั นาตนเอง 9
อนั ดบั ความสาคัญ / สมรรถนะทีจ่ ะพฒั นา 9
วิธีการ /รูปแบบการพัฒนา 10
ระยะเวลาในการพัฒนา 10
การขอรบั การสนับสนุนจากหน่วยงาน 10
ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ ับ 11
ความเห็นของผบู้ ังคับบัญชา 12
ประวตั ิการเข้ารับการพัฒนา (ในรอบ 2 ปี ทผ่ี ่านมา)
สว่ นที่ 4 ความต้องการในการพฒั นา 17
หลักสูตรใดทที่ า่ นต้องการพัฒนา 17
เพราะเหตุใดท่านจึงตอ้ งการเขา้ รบั การพัฒนาในหลักสูตรนี้ 17
ท่านคาดหวังสิ่งใดจากการเข้ารับการพัฒนาในหลักสตู รน้ี 17
ท่านจะนาความรจู้ ากหลกั สูตรไปพัฒนาการสอนของท่านอย่างไร
แผนการพฒั นาตนเองสาหรบั ครู
( Individual Development Plan : ID Plan )
สว่ นที่ 1 ข้อมลู ผู้จัดทาแผนพฒั นาตนเอง
ชื่อ นางสาวภรภทั ร ช่ือสกุล วงศส์ ามี
ตาแหน่ง ครู คศ.1 วทิ ยฐานะ - อายุการทางาน 5 ปี 10 เดอื น
ระยะเวลาดารงตาแหน่งปจั จุบัน 4 ปี
วุฒิการศึกษา
ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าเอก เทคโนโลยกี ารอาหาร
ปรญิ ญาโท สาขาวิชาเอก บรหิ ารการศึกษา
เงนิ เดอื น 23,360 ขน้ั - อัตราเงนิ เดือน - บาท
สถานท่ที างาน
โรงเรยี น กาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกหุ ลาบมัธยม) สังกดั สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 9 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ทอี่ ยู่ทสี่ ามารถติดต่อได้ เลขท่ี 8/2 หมู่ 3 ตาบลศรีมหาโพธ์ิ อาเภอนครชยั ศรี จงั หวัดนครปฐม 73120
โทรศัพทม์ อื ถือ 097 - 1363208
งานในหนา้ ทีท่ ร่ี ับผิดชอบ
1. กลุม่ สาระการเรียนรทู้ ่ีสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้
ภาคเรยี นท่ี 1
ท่ี รหสั วชิ า ช่ือวิชา ระดับช้ัน จานวนคาบ/ คดิ เปน็ ชัว่ โมง/
สปั ดาห์ ภาคเรยี น
150.00
1. ว21101 วิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน 1 ม.1 9 50.00
100.00
2. ว23101 วทิ ยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน 5 ม.3 3 16.67
16.67
3. ว30101 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ ม.4 6 16.67
350.00
4. - กจิ กรรมคุณธรรม จริยธรรม ม.3 1
5. - กิจกรรมชมุ นมุ ม.1-6 1
6. - กิจกรรมยุวกาชาด ม.3 1
รวมเป็น 21
ภาคเรียนที่ 2
ที่ รหัสวชิ า ชือ่ วิชา ระดับช้นั จานวนคาบ/ คดิ เปน็ ชั่วโมง/
สปั ดาห์ ภาคเรยี น
1. ว21102 วทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน 2 ม.1 6 100.00
2. ว23102 วิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน 6 ม.3 12 200.00
3. - กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม ม.3 1 16.67
4. - กจิ กรรมชมุ นมุ ม.1-6 1 16.67
5. - กิจกรรมยวุ กาชาด ม.3 1 16.67
รวมเป็น 21 350.00
- ชั่วโมงสอนตามตารางสอน 700 ช่ัวโมง / ปีการศึกษา
- ชว่ั โมงสนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ 100 ช่ัวโมง
- ชวั่ โมงการมสี ่วนรว่ มในชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) 55 ชัว่ โมง
- ชว่ั โมงงานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ 31 ชัว่ โมง
- ชว่ั โมงการอบรมพฒั นาตามคปู อง 20 ชั่วโมง
งานทไี่ ด้รับมอบหมายเปน็ งานพเิ ศษ ดังนี้
1. ปฏบิ ตั หิ น้าทเ่ี วรรักษาการณก์ ลางวนั วนั หยุดราชการ และวนั หยดุ นักขตั ฤกษ์
2. ครูทปี่ รึกษานักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3/8
3. ครูปฏบิ ัติหน้าทีเ่ วรรักษาการณป์ ระจาวันจันทร์
4. หวั หน้างานประชาสมั พนั ธ์กลุ่มสาระ
5. ผชู้ ว่ ยงานสารสนเทศกล่มุ สาระ
6. ผชู้ ่วยงานห้องเรยี นสเี ขยี ว
7. ผชู้ ว่ ยงานวารสารโรงเรยี น
8. เลขานกุ ารยุวกาชาด ระดับช้นั ม.3
9. ตรวจสอบคณุ ภาพน้าด่มื โรงเรียน
ผลงานท่เี กดิ จากการปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นตาแหน่งปัจจุบัน (ยอ้ นหลงั ไม่เกนิ 2 ปี)
1. ผลท่ีเกดิ จากการจดั การเรียนรู้
1.1 ร่วมกับคณะครูจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านงานวิจัยเพ่ือสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ และนาไปใช้ใน
การจดั การเรียนรู้ใหก้ บั นกั เรยี น
1.2 ครูมกี ารวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรอู้ ย่างเป็นระบบมีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยีท่หี ลากหลาย เน้นกระบวนการคิด
1.3 มกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง โดยใช้เคร่ืองมืออย่างหลากหลายและนาผล
ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน
ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน โดยร่วมกับคณะครูดาเนินการพัฒนา
กระบวนการวิจยั ในการจัดการเรยี นการสอนให้กับนกั เรยี นโดยเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ ใหผ้ ้เู รยี นได้เรียนรู้ลงมือ
ปฏิบัติจรงิ มกี ารวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจริงโดยใช้วธิ กี ารทห่ี ลากหลาย โดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน ช้ินงาน
แบบฝึก โดยการวัดผลประเมินผลดังกล่าวครอบคลุมทุกๆด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ การปฏิบัติ ทักษะ
กระบวนการและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ทั้งน้ีเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน
รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา และมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทัง้ นีเ้ พอ่ื ให้นักเรียนมีพัฒนาการท่ีดี
มีคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ตลอดจนมีการบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการสอนอย่างสม่าเสมอ ท้ังนี้เพื่อจะได้
ชว่ ยแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งให้กบั นักเรยี นท่ีมีปญั หา
2. ผลท่เี กดิ จากการพัฒนาวชิ าการ
2.1 มกี ารจดั หา พัฒนา ประยุกตใ์ ช้สือ่ นวตั กรรมในการจัดการเรยี นรู้ สามารถนาไปใชไ้ ด้ผลดี
2.2 การใชค้ วามคดิ เชิงระบบในการพฒั นางานอย่างครบวงจร และมปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งตอ่ เน่อื ง
2.3 การนาความร้ดู ้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาพฒั นาระบบการจดั การเรยี นรูไ้ ด้
2.4 การสง่ เสรมิ การคดิ ท่ีเนน้ ผลคุณภาพท่ีตวั ผ้เู รียน
2.5 การนาวิธีการวิจยั และพฒั นามาแก้ปัญหา พรอ้ มท้งั พฒั นางานอยา่ งครบวงจร
ผลทเี่ กิดจากการพฒั นาตนเองทางด้านวิชาการ ส่งผลให้ตนเองได้รับการปรับวุฒิการศึกษาให้สูงข้ึน
โดยพัฒนาผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรมความมีวินัยในตนเอง ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ตลอดจนได้ร่วม
พฒั นาบุคลากรในโรงเรียน มีการจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัติการเพ่ือขยายผลจากการเข้าร่วมการอบรมเพ่ือเพิ่มพูน
ความรใู้ นงานต่างๆ ทีท่ างเขตพน้ื ที่จัดข้ึนและหน่วยงานต่างๆ โรงเรียนมีการเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีข้ึนโดย
บุคลากรในโรงเรียน และโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไปและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีการเผยแพร่
ผลงานทางด้านวิชาการ นอกจากนั้นโรงเรียนยังสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาส่ือและ
นวตั กรรม
3. ผลทเ่ี กิดกับผ้เู รียน
3.1 นักเรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามสถานศึกษากาหนด
3.2 นักเรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นผ่านเกณฑ์กาหนดของโรงเรียน
3.3 นักเรียนได้รับการพัฒนาทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการและการเปล่ียนแปลงทางด้าน
เศรษฐกิจและสงั คม
การจดั กจิ กรรมการการเรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ มีการให้นักเรียนได้ฝึกการปฏิบัติจริง
เพื่อให้นักเรียนได้มีทักษะต่างๆ ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมท่ีดีงาม ความมีวินัยในตนเอง
ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
มีความสามารถในการใช้ภาษาในการส่ือสาร และการมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสิ่งท่ี
ผู้เรียนสามารถนาความรู้ความเขา้ ใจและทักษะไปบูรณาการและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันเป็นการเพิ่มพูน
สมรรถนะตนเองให้มากขึ้นและส่งผลให้การใช้ชีวิตภายหน้า บนพ้ืนฐานคุณธรรม นาความรู้ และเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ตลอดจนการอย่รู ว่ มกันในสังคมได้อยา่ งมีความสุข
4. ผลที่เกิดกบั สถานศึกษา
4.1 สถานศกึ ษาได้รบั การสนับสนนุ จากผ้ปู กครอง ชุมนุม หนว่ ยงาน องค์กรตา่ งๆ
4.2 มบี รรยากาศท้งั ในและนอกหอ้ งเรียนที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ของครูและผ้เู รยี น
4.3 เป็นแหลง่ เรียนรขู้ องสถานศกึ ษาหรือหน่วยงานต่างๆ
4.4 การนิเทศติดตามผลการปฏิบัติงานของครูทาให้การปฏิบัติงานมีความสมบูรณ์ และเป็นไป
ตามเวลาที่กาหนด
4.5 มรี ะบบการทางานเป็นทมี มากข้ึน
4.6 มีแนวปฏบิ ตั ดิ ้านเอกสาร หลักฐานทางการศกึ ษาที่ถูกตอ้ ง
4.7 การพฒั นางานมรี ะบบถูกตอ้ งและครบวงจร
จากการที่สถานศึกษามีการวางแผนปฏิบัติราชการในการพัฒนา มีเป้าหมาย มีทิศทางในการ
ดาเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษา นักเรียน โดยมีการจัดกิจกรรม โครงการต่างๆอย่างเป็นรูปธรรม
ซึ่งนักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม ทาให้ผลการดาเนินงานเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง
ชุมชน ท้องถน่ิ
5. ผลท่เี กิดกับชมุ ชน
5.1 ครู ผบู้ รหิ าร และผ้ปู กครอง มกี ารประชมุ ทุกภาคเรยี น
5.2 ครู และผู้บรหิ ารรว่ มกจิ กรรมสาคญั ในชมุ ชนอย่างสม่าเสมอ
5.3 โรงเรียนให้บริการแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนในด้านต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนมี
ความเข้มแข็ง
5.4 ชุมชนใหค้ วามร่วมมือและสนบั สนุนกจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรียนด้วยดี
สถานศึกษามีส่วนร่วมกับชุมชน ในกิจกรรมต่างๆตลอดปีการศึกษา โดยเฉพาะกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับ
วัฒนธรรม ประเพณี และพธิ ีกรรมทางศาสนา เชน่ ประเพณแี ห่เทียนเข้าพรรษา ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีสงกรานต์ การทอดผ้าป่า ทอดกฐิน เป็นต้น ตลอดจนกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ กิจกรรม
วนั สาคัญ ไดแ้ ก่ กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถ่ิน จนทาให้เกิดความร่วมมือ ความเข้าใจ
ทดี่ ตี ่อกนั เกดิ ความรักและความภาคภูมิใจในโรงเรียนและท้องถ่ิน นอกจากนี้โรงเรียนยังได้จัดกิจกรรมการ
ประชุมผู้ปกครอง ประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในแต่ละภาคเรียนเพื่อชี้แจงนโยบายของ
โรงเรียนและเพ่ือหาแนวทางในการร่วมพัฒนาโรงเรียนท้ังพัฒนาอาคารสถานที่และพัฒนาทางวิชาการให้
เป็นไปในทางทศิ ทางเดียวกนั
สว่ นท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเอง
ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ กคศ.
ด้านที่ 1 ความรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ตั ิงานในหน้าท่ี
รายการพจิ ารณา ระดบั ความรู้
มาก ปานกลาง น้อย
1. เนอ้ื หา ในรายวชิ า/กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ที่สอน
2. วิธีสอน ถ่ายทอดความรู้เชิงเน้ือหา กิจกรรม บริบท เป้าหมายการเรียนรู้
ความร้พู น้ื ฐาน การปรบั พื้นฐาน และอุปสรรคการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น
3. หลักการสอน และกระบวนการเรียนรู้
4. หลกั สูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมิน และแนวทางการเรียนรู้ในแต่
ละเนอื้ หา
5. พ้ืนฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยาสังคม นโยบาย
การศกึ ษา จุดมุ่งหมายการจดั การศกึ ษาตั้งแตร่ ะดับชาติจนถึงระดับหลกั สตู ร
6. การจัดการศึกษาแบบรวม และการตอบสนองต่อความหลากหลายของผเู้ รยี น
7. ทฤษฎีการเรียนรู้ และจิตวทิ ยาการเรยี นรู้
8. การใช้เทคโนโลยี และสื่อนวตั กรรมเพื่อการเรียนรู้
9. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
ด้านท่ี 2 ทักษะการปฏิบตั ิงาน ระดับความรู้
รายการพจิ ารณา ทาได้ดี ทาได้ ไม่ค่อยทา
ปานกลาง
1. การสรา้ งและหรอื พฒั นาหลักสูตร
2. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
3. การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้
4. กลยทุ ธใ์ นการจัดการเรยี นรู้
5. การสร้างและการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศึกษาและ
แหลง่ เรียนรู้
6. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ด้านที่ 3 ความเปน็ ครู
รายการพจิ ารณา ระดบั ความรู้
สงู มาก ปานกลาง ปรับปรงุ
1. ยึดมนั่ ผูกพัน ศรทั ธาในวิชาชีพ และท่มุ เทเพือ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
2. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีแกผ่ ้เู รียน ทั้งกาย วาจา
และจิตใจ ดารงตนให้เป็นที่เคารพ ศรัทธา และน่าเช่ือถือทั้งใน และนอก
สถานศกึ ษา
3. ปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู
4. มีวนิ ยั และการรักษาวินยั
5. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ให้มี
ความรคู้ วามชานาญในวชิ าชีพ เพิ่มขน้ึ
6. ปฏิบตั ิตนโดยนาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้
7. มีทัศนคตทิ ่ีดีต่อบ้านเมอื ง
ตอนท่ี 2 ผลการประเมินศกั ยภาพของผเู้ รียนในสถานศึกษาตามจดุ เน้นของ สพฐ.
รายการศักยภาพผเู้ รยี นตามจดุ เนน้ ระดบั ความรู้
1. ด้านอ่านออก อ่านคล่อง เขยี นได้ เขยี นคลอ่ ง สงู มาก ปานกลาง ปรับปรุง
2. ดา้ นคดิ เลขเปน็ คดิ เลขคลอ่ ง
3. ดา้ นการคิดขนั้ พ้นื ฐาน
4. ด้านการคิดขน้ั สงู
5. ดา้ นการสื่อสารอย่างสรา้ งสรรค์ตามช่วงวัย
6. ด้านการใช้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ)
7. ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้
8. ด้านการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง
9. ดา้ นใฝเ่ รยี นรู้
10. ด้านใฝด่ ี
11. ดา้ นทักษะชีวิต
12. ด้านอยู่อย่างพอเพยี ง มุง่ มนั่ ในการศึกษาและการทางาน
ตอนท่ี 3 ผลการประเมินศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสตู รของสถาบนั คุรุพัฒนา
รายการศกั ยภาพผู้เรยี นตามจุดเนน้ ระดับความรู้
1. การสอนในศตวรรษท่ี 21 สูงมาก ปานกลาง ปรบั ปรงุ
2. การแก้ปัญหาผู้เรียน
3. จิตวทิ ยาการแนะแนว/จิตวทิ ยาการจดั การเรยี นรู้
4. การจัดการชน้ั เรียน
5. การวจิ ยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนรูทางวชิ าชีพ
6. การพฒั นาหลกั สูตร
7. สะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education)
8. การใช้สอ่ื และเทคโนโลยใี นการจดั การเรยี น
9. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
10. การออกแบบการเรียนรู้
สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง
ตอนท่ี 1 ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ กคศ. อยู่ในระดับดี มีการพัฒนาหลักสูตร ออกแบบ
การจัดการเรียนรู้ ยึดมั่น ผูกพัน ศรัทธาในวิชาชีพ และทุ่มเทเพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม
และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้เรียน ทั้งกาย วาจา และจิตใจ ดารงตนให้เป็นที่เคารพ ศรัทธา และ
นา่ เชือ่ ถือทัง้ ใน และนอกสถานศึกษา
เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรู้ความชานาญในวิชาชีพ
เพ่ิมขึน้ และปฏิบตั ติ นโดยนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้
ตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ ศักยภาพของผู้เรียนในสถานศกึ ษาตามจุดเน้นของ สพฐ. อยู่ในระดับดี และ
ในสว่ นทตี่ อ้ งปรบั ปรุง คือ ด้านการคดิ ข้นั สงู และดา้ นการใช้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ)
ตอนที่ 3 ผลการประเมนิ ศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบันคุรุพัฒนา อยู่ใน
ระดับปานกลาง จึงควรเข้ารับการอบรมเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถ และนามาปรับใช้ในการจัดการ
เรยี นรใู้ หก้ ับนกั เรยี นตอ่ ไป
สว่ นท่ี 3 แผนการพฒั นาตนเอง
1. อันดบั ความสาคัญ / สมรรถนะท่จี ะพัฒนา
ให้ใสห่ มายเลขเรยี งตามลาดับความสาคญั ของสมรรถนะทีจ่ ะพัฒนา
( 2 ) การสอนในศตวรรษท่ี 21
( 3 ) การแกป้ ญั หาผู้เรยี น
( 6 ) จติ วิทยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้
( 7 ) การจัดการช้ันเรียน
( 1 ) การวจิ ัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรยี นรูทางวิชาชพี
( 5 ) การพัฒนาหลักสตู ร
( 10 ) สะเต็มศกึ ษา (STEM Education)
( 8 ) การใช้สื่อและเทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรู้
( 9 ) การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
( 4 ) การออกแบบการเรยี นรู้
2. วิธกี าร /รปู แบบการพัฒนา
วิธีการที่ 1 ภาควิชาการ ซ่ึงจะเป็นการศึกษาหาความรู้ในเนื้อหาท่ีจะได้ใช้ในห้องเรียนจริงๆ โดยยึด
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นหลัก เป็นความรู้ใหม่ท่ีเกิดจากการประยุกต์ความรู้เชิงวิชาการสู่
การปฏิบัติจริงในห้องเรียน ประเด็นในการพัฒนาครอบคลุมทั้งเรื่อง หลักสูตร การเรียนการสอน สื่อ
การวัดผล และการวิจัย เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และเป้าหมายผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 หรือแผนการ
ศึกษา พ.ศ. 2560-2579
วิธกี ารท่ี 2 ภาคปฏิบัตกิ าร จะเน้นให้ไดร้ ับการสร้างความเข้าใจแบบเข้ม การเรียนรู้ท่ีเกิดจากการคิด
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ คิดข้ันสูง ดว้ ยการทบทวนความรู้ (Review) การสะท้อนคิด (Reflection) และการถอด
บทเรียน (AAR) ด้วยกิจกรรมการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและกับคณะวิทยากร
เปน็ กลมุ่ ยอ่ ย มวี ทิ ยากรประจากลุ่มทุกกลุม่ ซ่ึงจะดแู ลผเู้ ข้ารับการพัฒนาให้ได้ฝึกทักษะการออกแบบเส้นทาง
คุณภาพผู้เรียนสอดคล้องกับหลักสูตร/เป้าหมายศตวรรษท่ี 21 ได้ออกแบบเส้นทางกระบวนการเรียนรู้
อย่างไรก่อนสร้างนวัตกรรม และแสดงถึงมีวิธีการวัดผล/สะท้อนผลหลังจากนาไปใช้กับผู้เรียนเพื่อย้อนกลับ
นามาปรับปรุงกระบวนการจัดการเรยี นรู้ทีส่ อดคล้องกบั ผเู้ รียนต่อไป
วิธีการท่ี 3 ภาคนิทรรศการ จะเป็นการศึกษาจากกรณีตัวอย่างการปฏิบัติ/สื่อ-นวัตกรรมที่ดี ที่ผ่าน
การบูรณาการทฤษฎีและการปฏิบัติสู่การพัฒนานักเรียนจริง มีการสาธิตแนวปฏิบัติ/ส่ือ-นวัตกรรมที่ดี และ
ฝึกนาส่ือ/วิธีปฏิบัติ/นวัตกรรมตัวอย่าง ไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ ถอดบทเรียน เพ่ือประกอบการเขียนเค้า
โครงการพฒั นากระบวนการ/ส่อื /นวตั กรรมนั้นๆ ท่ีจะแสดงใหเ้ หน็ ว่าจะมผี ลสาเร็จอย่างยงั่ ยนื
วิธีการท่ี 4 การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ – ได้ร่วมสร้างการเรียนรู้ในระหว่างการฝึกอบรม
ด้วยการเรียนรู้จากคู่พัฒนา (Buddy) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share and Learn) ในกลุ่มย่อย การสะท้อน
คิด (Reflection) การถอดบทเรียน (AAR) และการ Coaching & Mentoring จาก Mentor/Expert เพ่อื ให้
สามารถสร้างสรรค์ สรุปองค์ความรู้ที่ผสมผสานระหว่างองค์ความรู้จากทฤษฎี และองค์ความรู้จาก
ประสบการณ์สู่การปฏิบัติในช้ันเรียนได้ โดยทางานร่วมกับคณะวิทยากรหลังการอบรมผ่านระบบออนไลน์
ดว้ ยกระบวนการชุมชนการเรียนร้วู ชิ าชีพ (PLC) อย่างตอ่ เนอื่ ง
3. ระยะเวลาในการพฒั นา
เร่ิมต้น 16 พฤษภาคม 2561 สน้ิ สดุ 31 มีนาคม 2562
4. การขอรับการสนับสนนุ จากหน่วยงาน
4.1 ขอรับการสนบั สนุนดา้ นงบประมาณจากโครงการพฒั นาครูแบบครบวงจร 10,000 บาท
5. ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
5.1 ผลลพั ธ์ทีค่ าดหวงั
ด้านความรู้ : เกิดการเรียนรู้ นาผลการพัฒนาสู่การเปล่ียนแปลงผู้เรียน และนาประสบการณ์เข้า
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้แก่เพ่ือนร่วมวิชาชีพ จนเกิดองค์ความรู้ท่ีได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพไป
ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
ทักษะ : มีความสามารถบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตาม
ศักยภาพ สร้างนวัตกรรมจากการปฏิบัติท่ีส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน และสร้างนวัตกรรมท่ีได้จากการเข้า
ร่วมในชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพและพฒั นานวัตกรรมใหเ้ ปน็ ต้นแบบการเรยี นร้แู ก่เพื่อนรว่ มวชิ าชพี
ความเปน็ ครู : เขา้ รว่ มชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ สรา้ งเครอื ข่ายชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี สร้าง
วฒั นธรรมทางการเรยี นรู้ในสถานศึกษา และเปน็ ผ้นู าการเปลี่ยนแปลงต่อวงการวชิ าชพี
5.2 ผลการนาไปใชใ้ นการพฒั นางาน
คือการนาความรู้และทักษะที่ได้รับการพัฒนาระหว่างการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
จริงในหอ้ งเรียนของตนเอง ดงั นี้
5.2.1 นาเสนอแผนการจัดกิจกรรมแบบคู่พัฒนา (Buddy) 1 แผน จัดให้เพื่อนครู หรือ
หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ หรือรองผู้อานวยการโรงเรียน ให้ข้อเสนอแนะ (Comment) แล้วนาไปปรับปรุงแผนการ
จัดกิจกรรมใหม่ จากน้ันจึงรายงานผ่านไลน์กลุ่มของหน่วยพัฒนา (นิติบุคคล) หจก.เพื่อครู เพ่ือให้วิทยากร
หลัก/วทิ ยากรพ่ีเลีย้ ง ใหก้ าร Coaching
5.2.2 นาแผนการจัดกิจกรรมที่ปรับใหม่แล้ว ไปสอนจริงในห้องเรียน โดยมีเพื่อนครู หรือ
หัวหน้ากลุ่มสาระฯ หรือรองผู้อานวยการโรงเรียน ไปเยี่ยมช้ันเรียน ถ่ายภาพ หรือคลิปการสอน ที่เห็นภาพ
การเย่ียมช้ันเรียน ภาพการจัดกิจกรรมตามข้ันตอนในแผนการจัดกิจกรรม และภาพผลงานการเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี น จากนั้นนามาถอดบทเรยี นร่วมกบั ผู้เยย่ี มช้ันเรยี น ส่งข้อมลู ผ่านระบบออนไลน์ (Line/ facebook)
5.3 การสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้ PLC Online เครือข่ายระดับชาติ
หลังจากเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรท่ีสถาบันคุรุพัฒนาอนุมัติแล้ว จะเข้าร่วมปฏิบัติการกิจกรรม
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เครือข่ายระดับชาติ ซ่ึงจะได้ปฏิบัติกิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
รว่ มกับสมาชิกจากทั่วประเทศ กลุ่มละ 8 – 10 คน/ครั้ง ในระยะเวลาละ 3 เดือน ตามขัน้ ตอนกิจกรรม PLC
7 ขนั้ ภายใตก้ ารกากับดูแลตลอดการปฏิบัติกจิ กรรมและเตมิ เตม็ ความรู้ทางวชิ าการไปพร้อมกันของ Mentor
& Expert เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามตัวช้ีวัดการมีส่วนร่วมในชุมชนวิชาชีพของ ก.ค.ศ. ซ่ึงสมาชิกสามารถ
นับเป็นช่ัวโมงการปฏิบัติงานโดยมีร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้หน่วยพัฒนาครู (นิติบุคคล)
หจก.เพอ่ื ครู รบั รองช่วั โมง PLC เพ่ือใช้เป็นรอ่ งรอยในการบันทึกในระบบบันทึก (Logbook) ของ กคศ. ได้ใน
อนาคต
ลงชอ่ื
( นางสาวภรภทั ร วงศส์ ามี )
ตาแหน่งครู กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ผู้จดั ทาแผนพฒั นาตนเอง
ความเห็นของผบู้ ังคบั บัญชา
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื
( นายนพดล เดน่ ดวง )
ผู้อานวยการโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั นครปฐม
( พระตาหนักสวนกหุ ลาบมัธยม )
6. ประวัติการเข้ารบั การพัฒนา (ในรอบ 2 ปี ที่ผา่ นมา)
ลาดับ เร่ือง หน่วยงานทีจ่ ัด วนั ทจี่ ดั อบรม จานวนช่วั โมง
ที่ 1 – 3 พ.ค. 60 24
16
1. ประชมุ สมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการ กล่มุ โรงเรยี น 8 – 9 พ.ค. 60 24
“ยกระดับคณุ ภาพกลมุ่ โรงเรียน กาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั
กาญจนาภิเษก วทิ ยาลยั ด้วย 31 พ.ค. – 16
ศาสตรพ์ ระราชา” โรงเรียนกาญจนาภเิ ษก 2 ม.ิ ย. 60
วิทยาลยั นครปฐม 16 – 17 ม.ิ ย. 60 8
2. การฝกึ อบรมการเขียนแผนการ (พระตาหนกั
จัดการเรยี นรบู้ รู ณาการตามหลัก สวนกุหลาบมัธยม) 23 ม.ิ ย. 60 8
ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พทุ ธมณฑล 16
23 มิ.ย. 60
3. สนับสนุนการอบรมคุณธรรม 1 – 2 ก.ค. 60
จริยธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
และศนู ย์การเรียนรู้
พระพทุ ธศาสนาในพุทธมณฑล
4. เปน็ วทิ ยากรผจู้ ัดการค่ายทักษะ โรงเรยี นกาญจนาภิเษก
บรู ณาการศาสตรพ์ ระราชา : วิทยาลัย นครปฐม
ตามรอยพ่อ Science Fighting (พระตาหนกั
สวนกุหลาบมธั ยม)
5. การอบรมครแู กนนาห้องเรียนสี โรงเรยี นกาญจนาภิเษก
เขียว วิทยาลยั นครปฐม
(พระตาหนัก
สวนกุหลาบมัธยม)
6. คณะดาเนินงานการอบรมนกั เรยี น การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ
แกนนาหอ้ งเรยี นสเี ขียว แห่งประเทศไทย
7. เปน็ วทิ ยากรผจู้ ัดการค่ายทกั ษะ โรงเรียนกาญจนาภิเษก
บูรณาการศาสตร์พระราชา : ตาม วทิ ยาลยั นครปฐม
รอย Science Fighting (พระตาหนกั สวน
กหุ ลาบมธั ยม)
ลาดบั เรอื่ ง หน่วยงานที่จดั วันทจี่ ดั อบรม จานวนชว่ั โมง
ท่ี 29 ก.ค. 60 8
18 – 19 ส.ค. 60 16
8. อบรมหลักสตู ร วทิ ย์สขุ สนกุ โนต๊ บรษิ ทั ไวซ์ เอ็ดดเู คชนั่
เซน็ เตอร์ จากัด 18 – 19 ส.ค. 60 16
9. เขา้ ร่วมเวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครือข่ายส่งเสรมิ 24 – 26 ส.ค. 60 16
24 – 26 ส.ค. 60 16
กิจกรรม “สะเต็มศกึ ษา” สืบสาน ประสิทธภิ าพการ
พระราชปณิธาน ปลูกจิตวิญญาณ จัดการมธั ยมศึกษา
คุณภาพครูไทย จังหวดั นครปฐม
สานกั งานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษามัธยมศกึ ษา
เขต 9
10. เขา้ ร่วมงานมหกรรมทางวชิ าการ เครือข่ายสง่ เสริม
มัธยมศกึ ษาจังหวดั นครปฐม “สืบ ประสิทธภิ าพการ
สานพระราชปณิธาน ปลกู จิต จดั การมธั ยมศึกษา
วญิ ญาณคุณภาพครูไทย” จังหวัดนครปฐม
สานักงานเขตพ้นื ที่
การศกึ ษามธั ยมศึกษา
เขต 9
11. คณะกรรมการดาเนนิ งานแสดง โรงเรียนกาญจนาภิเษก
นวตั กรรมโดยใช้กระบวนการวิจยั วิทยาลยั นครปฐม
ของครแู ละนักเรียนกลุ่มโรงเรียน (พระตาหนัก
กาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย ครั้งท่ี 6 สวนกหุ ลาบมธั ยม)
12. ผูป้ ระสานงานของวพิ ากษง์ านงาน โรงเรียนกาญจนาภิเษก
แสดงนวตั กรรมโดยใช้ วิทยาลยั นครปฐม
กระบวนการวจิ ัยของครูและ (พระตาหนัก
นักเรียนกลุม่ โรงเรียนกาญจนา สวนกุหลาบมธั ยม)
ภิเษกวทิ ยาลยั ครั้งท่ี 6
ลาดบั เรอ่ื ง หนว่ ยงานทจ่ี ดั วันทจ่ี ดั อบรม จานวนชว่ั โมง
ที่ 17 ต.ค. 60 8
25 พ.ย. 60 8
13. การประชมุ สมั มนาเชิงปฏิบัติการ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษก 27 ม.ค. 61 8
การอยู่คา่ ยพักแรมยวุ กาชาด วิทยาลยั นครปฐม
(พระตาหนกั 12 – 13 มี.ค. 61 16
สวนกุหลาบมัธยม)
14 ม.ี ค. 61 8
14. กรรมการการตดั สินการแขง่ ขัน สานกั งานเขตพนื้ ท่ี
งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนระดบั การศึกษามัธยมศึกษา
เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ครง้ั ท่ี 67
เขต 9
15. รว่ มกิจกรรมและเฝ้ารบั เสดจ็ กระทรวงศึกษาธกิ าร
พระเจ้า วรวงศ์เธอ พระองค์เจา้
โสมสวลพี ระวรราชาทินัดดามาตุ
ในพิธปี ฏญิ าณตนและสวนสนาม
ของยวุ กาชาดไทย ประจาปี 2561
16. เข้ารว่ มการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษก
พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาตาม วิทยาลัย นครปฐม
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน (พระตาหนัก
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั สวนกุหลาบมธั ยม)
ปรบั ปรงุ 2560)
17. เข้ารว่ มการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษก
นาหลักสตู รสถานศกึ ษาสู่หอ้ งเรียน วทิ ยาลัย นครปฐม
ดว้ ยศาสตรพ์ ระราชา ปีการศึกษา (พระตาหนัก
2560 ของครชู ้นั ม.1 และ ม.4 สวนกหุ ลาบมัธยม)
ลาดับ เรือ่ ง หนว่ ยงานท่จี ดั วันท่ีจดั อบรม จานวนชวั่ โมง
ที่ 9 6
18. คณะกรรมการจัดงานชมุ นุม สานกั งานปลดั กระทรวง มิ.ย. 2561 24
12
ยุวกาดส่วนภูมภิ าค (8 ภูมภิ าค) ศกึ ษาธิการ 29
ม.ิ ย. 2561 6
เฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระ 23-24 มิ.ย. 2561 6
เจา้ อยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ์ 9-10 ส.ค. 2561
บดินทรเทพยวรางกรู 23-26 ส.ค. 2561
ภาคตะวนั ตก
19. สนับสนุนการอบรมคุณธรรม พุทธมณฑล
จริยธรรม โครงการคา่ ยคุณธรรม
และศนู ย์การเรียนรู้
พระพทุ ธศาสนาในพทุ ธมณฑล
20. การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ เร่ือง โรงเรยี นกาญจนาภิเษก
“การพฒั นาทกั ษะการสร้าง วทิ ยาลยั นครปฐม
นวตั กรรมโดยใช้กระบวนการวิจยั (พระตาหนัก
และการจัดการความรู้ สวนกุหลาบมัธยม)
สาหรบั ครู ”
21. คณะกรรมการดาเนินงานแสดง กลมุ่ โรงเรยี น
นวตั กรรมโดยใชก้ ระบวนการวิจัย กาญจนาภิเษก วิทยาลยั
ของครูและนักเรียนกลุ่มโรงเรียน
กาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั คร้งั ที่ 7
22. กรรมการตดั สินการแขง่ ขัน สานักงานเขตพื้นที่
กจิ กรรม การแสดงทาง การศกึ ษามัธยมศกึ ษา
วทิ ยาศาสตร์ (Science Show) เขต 9
ม.1–ม.3 งานมหกรรม
ความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม
วชิ าการและเทคโนโลยีของ
นกั เรยี น ปีการศึกษา 2561
ระดบั เขตพนื้ ท่ีการศึกษา
ลาดับ เรอื่ ง หนว่ ยงานท่ีจดั วนั ทจ่ี ัดอบรม จานวนชว่ั โมง
ท่ี 9 20
10
23. การอบรมหลักสูตร STEM บรษิ ัท เลริ ์น เอด็ ดูเคช่ัน ก.ย. 2561
6
เชงิ ปฏิบตั ิเพื่อเสริมสรา้ งทักษะ จากดั 4-5 12
ต.ค. 2561
การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 12
22
ระดบั มัธยมต้น (แบบผสมส่ือ ต.ค. 2561
ออนไลน)์ 26-27
ม.ค. 2562
24. การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเร่ือง โรงเรียนกาญจนาภิเษก
19-20
การสร้างส่อื การเรยี นการสอน วทิ ยาลยั นครปฐม ม.ี ค. 2562
แบบมีปฏสิ ัมพันธโ์ ดยใช้ (พระตาหนัก
เทคโนโลยี AR สวนกหุ ลาบมัธยม)
(AugmenteReality
Technology)
เพือ่ การวิจัยในชน้ั เรียน
25. การประชุมสัมมนาเชิงปฏบิ ตั ิการ โรงเรียนกาญจนาภิเษก
“ การอยู่ค่ายพักแรมยุวกาชาด ” วทิ ยาลัย นครปฐม
(พระตาหนกั
สวนกุหลาบมธั ยม)
26. เข้าร่วมกจิ กรรมและเฝา้ รับเสดจ็ กระทรวงศกึ ษาธิการ
พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้
โสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
ในพิธปี ฏญิ าณตนและสวนสนาม
ของยุวกาชาดไทย ประจาปี
2562
27. เข้ารับการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษก
หลกั สตู ร “การสรา้ งสรรคง์ าน วทิ ยาลยั นครปฐม
Graphic ดว้ ยโปรแกรม (พระตาหนกั
Photoshop” สวนกุหลาบมธั ยม)
ส่วนที่ 4 ความตอ้ งการในการพัฒนา
1. หลกั สตู รใดทท่ี ่านตอ้ งการพัฒนา
ลาดบั ที่ รหัสหลักสตู ร รายละเอียด
หลกั สูตร STEM เชิงปฏิบัติเพ่ือเสริมทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
1. 613011004 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (แบบผสมสอ่ื ออนไลน)์
2. เพราะเหตใุ ดท่านจงึ ตอ้ งการเขา้ รบั การพัฒนาในหลกั สตู รนี้
เน่ืองจาก ข้าพเจ้าได้รับหน้าที่ในการสอน วิชา วิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน ระดับชั้น ม.1 และ ม.3 ซึ่งถ้าได้เข้ารับการ
อบรมหลกั สูตร STEM เชิงปฏบิ ัติเพื่อเสริมทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 จะทาให้พัฒนาการเรียนการสอนให้สอดคล้อง
กับหลกั การของ STEM ไดด้ ียิ่งข้นึ
3. ท่านคาดหวงั สิ่งใดจากการเข้ารับการพัฒนาในหลักสูตรนี้
คาดหวังว่า จะได้รับความรู้หลักการการสอนแบบ STEM เพ่ือใช้เป็นความรู้ในการสอนของนักเรียน และพัฒนา
นักเรยี นต่อไป
4. ทา่ นจะนาความรู้จากหลักสูตรไปพัฒนาการสอนของทา่ นอยา่ งไร
นามาใช้ในรายวชิ าวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน ระดับชั้น ม.1 และ ม.3 โดยปรับกจิ กรรมการเรยี นการสอน ให้สอดคล้อง
กับหลกั การของ STEM โดยบรู ณาการการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรค์ ณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและกระบวนการทาง
วิศวกรรมศาสตร์ เพอื่ ใหน้ ักเรียนนาไปใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ิตจริง สรา้ งเสริมประสบการณ์ ทักษะชวี ติ ความคิดสรา้ งสรรค์