The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prdmsc, 2021-03-02 04:02:30

dmsc newsletter_feb64

dmsc newsletter_feb64

สุขภาพดีไม่มีขาย อยากได้ต้องร่วมสร้าง จดหมายข่าว News Letter

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

Department of Medical Sciences

ISO 9001 : 2015 Certified ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2564

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์มีความพร้อมในการรับรองรุ่นการผลิตวัคซีน นายแพทยศ์ ภุ กิจ ศริ ลิ กั ษณ์
ป้องกันโดวิด 19 ท่ีมีการผลิตในทุกรูปแบบ ท้ังวัคซีนน�ำเข้าและ วัคซีนที่ผลิตในประเทศ
เพ่ือสร้างความมั่นใจให้ประชาชนได้ใช้วัคซีนท่ีมีคุณภาพความปลอดภัยตามมาตรฐาน อธบิ ดีกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

สารบญั

ยนิ ดตี อ้ นรับรองอธิบดกี รมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย ์ 2
กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์พร้อมรับรองวคั ซนี ป้องกนั โควดิ 19 ทัง้ ท่นี �ำ เข้าและทีผ่ ลติ ในประเทศ 3
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารตรวจกญั ชาของกรมวทิ ยฯ์ ได้รบั การรับรองมาตรฐานสากลแหง่ แรกในประเทศไทย 3
กรมวิทยาศาสตร์การแพทยเ์ ตรียมพรอ้ มห้องปฏิบัตกิ ารเครอื ขา่ ยตรวจเช้อื โควดิ 19 4
โรงพยาบาลในจังหวัดสมทุ รสาครและสมุทรสงคราม
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รว่ มกับเครอื ข่ายขยายศักยภาพการตรวจเชงิ รุกระดมคน้ หาผตู้ ิดเชือ้ โควดิ 19 5
ในจังหวัดสมทุ รสาคร
รอบร้วั กรมวทิ ยฯ์ - ภมู ิภาค 6-7
กรมวิทยาศาสตร์การแพทยเ์ ผยผลตรวจการปนเปื้อนเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ในอาหารและบรรจุภัณฑ ์ 8
กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์พัฒนาวธิ ีตรวจการปนเป้ือนเชือ้ ไวรัส COVID-19 ในอาหารและบรรจุภณั ฑ ์ 9
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์สุ่มตรวจปาท่องโก๋ เพ่อื เฝ้าระวังความปลอดภัยใหผ้ ู้บรโิ ภค 10
ผลการเฝา้ ระวังการกลายพนั ธุแ์ ละการดื้อยาของเชอื้ ไข้หวัดใหญ่ 11
ลนุ้ รับรางวัลคำ�ถามประจำ�ฉบับ 11
เตือนระวงั “ยาคลายเครยี ดผงสีชมพ”ู ตรวจพบมสี ่วนผสมของยาอีและยาบ้า 12

คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ D iscovery M oral S ciences/Standards C hange
น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

2

ยนิ ด ตี อ้ นรบั รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2563 นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ออกค�ำส่ังกระทรวงสาธารณสุขที่ 1474/2563 เรื่องโอนข้าราชการพลเรือนสามัญ และค�ำส่ังกระทรวง
สาธารณสุขท่ี 1475 /2563 เร่ืองย้ายข้าราชการไปด�ำรงต�ำแหน่ง โดยให้นายแพทย์บัลลังก์ อุปพงษ์
ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิบดี
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ล่าสุดเม่ือวันท่ี 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้ลงนาม
ค�ำส่ังกระทรวงสาธารณสุข ที่ 228/2564 เร่ืองโอนข้าราชการพลเรือนสามัญ โดยได้ให้ นายแพทย์ปิยะ
ศริ ลิ กั ษณ์ ผชู้ ว่ ยปลดั กระทรวง สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ไปดำ� รงตำ� แหนง่ รองอธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตร์
การแพทย์ จดหมายข่าวกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ฉบับนี้จึงขอน�ำประวัติของท่านรองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์
การแพทยท์ ง้ั 2 ทา่ น มาแนะนำ� ใหผ้ อู้ า่ นไดร้ จู้ กั กนั ยง่ิ ขน้ึ ดงั น้ี

นายแพทยบ์ ลั ลงั ก์ อปุ พงษ์ นายแพทยป์ ยิ ะ ศริ ลิ กั ษณ์

รองอธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ รองอธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
นายแพทยบ์ ลั ลงั ก์ อปุ พงษ์ จบการศกึ ษา นายแพทย์ปิยะ ศิริลักษณ์ จบการศึกษา
แพทยศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล แพทยศาสตรบณั ฑติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
สาขาเอกเวชศาสตรค์ รอบครัว ส�ำหรบั การอบรม ทา่ นผ่านอบรม ปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒน
หลายหลักสูตร อาทิ หลักสูตรนักบริหารการทูต (นบท.) รุ่นที่ บรหิ ารศาสตร ์ ปรญิ ญาโทสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ า
10 จากกระทรวงการต่างประเทศ นักบริหารระดับสูง (ส.นบส.) การจัดการบริการสุขภาพปฐมภูมิ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปัจจุบัน
รนุ่ ที่ 12 จากสำ� นกั งาน ก.พ. เปน็ ตน้ ก�ำลังศึกษาต่อ ปริญญาเอก สาขาวิชาการจัดการสมาร์ตซิตี้
ท่านเร่ิมรับราชการในต�ำแหน่งนายแพทย์ 4 และนวัตกรรมดิจิทัล วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริด
เมอ่ื ปี พ.ศ. 2531 สงั กดั สำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั กำ� แพงเพชร เทคโนโลยี หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
ในปี พ.ศ. 2532 เปน็ ผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลไทรงาม อำ� เภอไทรงาม ประวตั กิ ารทำ� งานดา้ นบรหิ ารของทา่ น ในปี พ.ศ. 2556-2558
จังหวัดก�ำแพงเพชร พ.ศ. 2537 เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล นายแพทยส์ าธารณสขุ จงั หวดั นา่ น พ.ศ. 2558 นายแพทยส์ าธารณสขุ
พรานกระตา่ ย อำ� เภอพรานกระตา่ ย จงั หวดั กำ� แพงเพชร พ.ศ. 2558 จงั หวดั พษิ ณโุ ลก วนั ท่ี18 มนี าคม พ.ศ. 2563 – 15กมุ ภาพนั ธ์พ.ศ.2564
เปน็ นายแพทยเ์ ชย่ี วชาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกนั สำ� นกั งานสาธารรณสขุ ผชู้ ว่ ยปลดั กระทรวงสาธารณสขุ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
จังหวัดก�ำแพงเพชร ต่อมาในปี พ.ศ. 2560 เป็นผู้อ�ำนวยการ (นกั บรหิ ารระดบั ตน้ ) เมอ่ื วนั ที่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 ดำ� รงตำ� แหนง่
ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 12/1 ตรงั กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ปี พ.ศ. 2561 เปน็ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั คณุ ภาพและความปลอดภยั ชาวกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ขอแสดงความยินดี และ
อาหาร กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ปี พ.ศ. 2562 เปน็ ผอู้ ำ� นวยการ ยนิ ดตี อ้ นรบั คะ่
สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
เม่ือวันท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิบดี สำ� นกั งานเลขานกุ ารกรม ...รายงาน
กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

บ.ก.บอกก ่ลาว บ.ก.บอกกลา่ ว

ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2564

จดหมายขา่ วฉบบั น้ี มสี าระความรดู้ ๆี ทน่ี า่ สนใจ อาทิ ยนิ ดตี อ้ นรบั รองอธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย ์ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
พรอ้ มรบั รองวคั ซนี ปอ้ งกนั โควดิ 19 ทงั้ ทนี่ ำ� เขา้ และทผ่ี ลติ ในประเทศ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตรวจกญั ชาของกรมวทิ ยฯ์ ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน
สากลแหง่ แรกในประเทศไทย
การเตือนภัยสุขภาพฉบับนี้ มีเร่ืองของ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เผยผลตรวจการปนเปื้อนเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร
และบรรจภุ ณั ฑ์ และกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยส์ มุ่ ตรวจปาทอ่ งโกเ๋ พอ่ื เฝา้ ระวงั ความปลอดภยั ใหผ้ บู้ รโิ ภค เรอ่ื งราวนา่ สนใจอกี มากมาย
ตดิ ตามอา่ นไดใ้ นฉบบั นี้
D iscovery M oral S ciences/Standards C hange บรรณาธิการ
คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

ปที ี่ 35 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2564จดหมายข่าว3

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

Department of Medical Sciences

กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยพ์ รอ้ มรับรองวัคซีนปอ้ งกันโควดิ 19
ท้ังทน่ี ำ�เข้าและที่ผลติ ในประเทศ

อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เผยมีความพร้อมใน และความปลอดภัยตรงตามมาตรฐานที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ เพื่อให้
การรับรองรุ่นการผลิตวัคซีนป้องกันโควิด 19 ท่ีมีการผลิตในทุกรูป ประชาชนได้ใชว้ ัคซนี ในการควบคุมปอ้ งกันโรคโดยเร็ว
แบบ ทั้งวัคซีนที่น�ำเข้าและวัคซีนที่ผลิตในประเทศ เพ่ือสร้างความมั่นใจ นายแพทยศ์ ุภกจิ กล่าวเพิม่ เตมิ ว่า การรบั รองรุ่นการผลิต
ให้ประชาชนได้ใช้วัคซีนที่มีคุณภาพ ความปลอดภัยตามมาตรฐาน ของวัคซีนเป็นกระบวนการส�ำคัญในการประกันคุณภาพของวัคซีน
โดยเร็ว ทุกรุ่นการผลิตภายหลังข้ึนทะเบียนน้ัน วัคซีนจะต้องได้รับการ
นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์ รับรองรุ่นการผลิตจากหน่วยงานควบคุมก�ำกับก่อนการน�ำไปใช้
การแพทย์ กล่าวว่าประเทศไทยมีแผนการจัดหาวัคซีนป้องกัน หรือจ�ำหน่าย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย สถาบันชีววัตถุ
โควิด 19 ในหลายวิธีการจากหลายผู้ผลิต และ อย. ได้อนุมัติการ มีประสบการณ์ในงานรับรองรุ่นการผลิตวัคซีนและยาชีววัตถุ ซ่ึงมี
ขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโควิด 19 ของบริษัท แอสตร้าเซเนกา การผลิตในหลายรปู แบบ มาต้งั แต่ปี พ.ศ. 2541 จนเปน็ ท่ียอมรับ
ซ่ึงเป็นวัคซีนชนิด Adenoviral vector ท่ีจะมีการผลิตในประเทศ ของสากล ผา่ นเกณฑก์ ารตรวจประเมนิ จากองคก์ ารอนามยั โลก ตง้ั แต่
โดยบริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จ�ำกัด และอยู่ระหว่างการพิจารณา ปี พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบัน และที่ผ่านมายังให้การอบรม เรื่อง
อนมุ ัตทิ ะเบียนน�ำเขา้ วัคซีนป้องกนั โรคโควิด 19 ของบรษิ ัท ซโิ นแวค การรบั รองรนุ่ การผลติ กบั หนว่ ยงานควบคมุ กำ� กบั ของหลายประเทศ
ซึ่งเป็นวัคซีนเช้ือตาย และอาจมีการข้ึนทะเบียนวัคซีนป้องกันโรค การรบั รองรนุ่ การผลติ วคั ซนี จะตอ้ งพจิ ารณาคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์
โควดิ 19 ทผ่ี ลติ ในรปู แบบอนื่ ๆ ตามมาอกี ในอนาคต ทงั้ นวี้ คั ซนี จะตอ้ ง โดยละเอียดจากข้อมูลกระบวนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ
มีการรับรองรุ่นการผลิตภายหลังการข้ึนทะเบียน กรมวิทยาศาสตร์ ของผผู้ ลติ ในรนุ่ ทขี่ อการรบั รองวา่ เปน็ ไปตามขอ้ มลู ทไ่ี ดข้ นึ้ ทะเบยี น
การแพทยข์ อใหท้ กุ คนมนั่ ใจวา่ หนว่ ยงาน โดยสถาบนั ชวี วตั ถุทม่ี หี นา้ ท่ี ไว้ ร่วมกับการพิจารณาข้อมูลคุณภาพและอุณหภูมิตลอดช่วงเวลา
ในการตรวจสอบและรับรองรุ่นการผลิตของวัคซีนที่ใช้กับมนุษย์ ของการขนส่ง และท�ำการตรวจสอบตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการ
มีความพร้อมในการด�ำเนินงานให้การรับรองรุ่นการผลิตวัคซีน ของสถาบันชีววัตถุในรายการที่ก�ำหนด โดยมีหนังสือรับรองรุ่น
ท่ีผลิตในทุกรูปแบบ และจะด�ำเนินการตรวจสอบอย่างรอบคอบ การผลิตจากหน่วยงานควบคุมก�ำกับของประเทศผู้ผลิตเป็นข้อมูล
และรวดเร็ว ในการปล่อยผ่านวัคซีนทุกรุ่นการผลิตท่ีมีคุณภาพ สนับสนนุ ในการออกหนงั สือรบั รองการผลิตในแตล่ ะรุน่ ของวคั ซนี

สถาบันชวี วัตถ.ุ ..รายงาน

หอ้ งปฏิบัตกิ ารตรวจกญั ชาของกรมวิทย์ฯ
ได้รบั การรับรองมาตรฐานสากลแห่งแรกในประเทศไทย

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้รับ ที่ผ่านมาตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์มีท้ังวัตถุดิบกัญชา
การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ ในการตรวจหาสารส�ำคัญ และเป็นตัวอย่างที่ได้จากของกลาง สารสกัดกัญชา ผลิตภัณฑ์
ในพืชกัญชา สารสกัดกัญชา และผลิตภัณฑ์ยาน�้ำมันกัญชา กญั ชา หนว่ ยงานทสี่ ง่ ตรวจ ไดแ้ ก่ สำ� นกั งานปอ้ งกนั และปราบปราม
ตามมาตรฐาน ISO 17025 : 2017 เป็นแห่งแรกในประเทศไทย สร้าง ยาเสพตดิ องค์การเภสัชกรรม โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร,
ความม่ันใจให้ประชาชนว่าได้รับผลิตภัณฑ์จากกัญชาที่มีคุณภาพ กองการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์
และมคี วามปลอดภัย แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลคูเมือง จังหวัด
นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์ บุรีรัมย์ โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร จังหวัดสกลนคร
การแพทย์ กล่าวว่าปัจจุบันการน�ำกัญชามาใช้ทางการแพทย์ เพ่ือตรวจวิเคราะห์หาปริมาณสารส�ำคัญและสารตกค้าง ได้แก่
เป็นนโยบายท่ีส�ำคัญของรัฐบาล ด้วยเหตุนี้กรมวิทยาศาสตร์ โลหะหนกั สารเคมกี ำ� จดั ศตั รพู ชื สารพษิ จากเชอ้ื ราและยาฆา่ เชอ้ื รา
การแพทย์ โดย สำ� นกั ยาและวตั ถเุ สพตดิ ในฐานะหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอา้ งองิ และเช้อื จุลินทรียป์ นเป้ือน เป็นตน้
การด้านยาและวัตถุเสพติดของประเทศมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง “นอกจากนี้ยังได้ถ่ายทอดเทคนิคการตรวจวิเคราะห์
ท่ีจะต้องพัฒนาขีดความสามารถในการตรวจกัญชาและผลิตภัณฑ์ หาปริมาณสารส�ำคัญและสารตกค้างในกัญชาให้แก่ ศูนย์
สุขภาพจากพืชกัญชา โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไดพ้ ัฒนา วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ัวประเทศ และพัฒนาห้องปฏิบัติการ
การตรวจวิเคราะห์หาสารส�ำคัญในพืชกัญชา สารสกัดกัญชา และ เครือข่ายภายนอกกรม เช่น ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
ผลิตภณั ฑ์ยาน้ำ� มันกญั ชา และในเดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2563 ได้รบั เทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์
การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการในการตรวจหาปริมาณ วิจัยและนวัตกรรม บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)
สารส�ำคัญในพืชกัญชา สารสกัดกัญชา และผลิตภัณฑ์ยาน้�ำมัน จ�ำกัด (Central lab) ห้องปฏิบัติการศูนย์บริการเทคโนโลยี
กัญชา ตามมาตรฐาน ISO 17025 : 2017 จากส�ำนักมาตรฐาน เภสัชอุตสาหกรรมคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หอ้ งปฏิบตั ิการ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ นบั เปน็ ห้องปฏิบตั กิ าร ผ่านการทดสอบความชำ� นาญทางห้องปฏบิ ตั ิการ เพอ่ื ให้ประชาชน
แห่งแรกในประเทศไทยท่ีได้รับการรับรองตามมาตรฐานสากล มนั่ ใจวา่ ไดร้ บั ผลติ ภณั ฑจ์ ากกญั ชาทม่ี คี ณุ ภาพและมคี วามปลอดภยั ”
ดา้ นการตรวจสารสำ� คญั ในกญั ชา เพื่อรองรบั การขยายตวั ของการ นายแพทย์ศภุ กจิ กลา่ ว
ผลติ กัญชาทว่ั ประเทศ
ส�ำนกั ยาและวตั ถเุ สพติด...รายงาน
D iscovery M oral S ciences/Standards C hange
คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

4 รายงาน
พิเศษ
กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทยเ์ ตรียมพร้อมห้องปฏบิ ัตกิ ารเครอื ขา่ ยตรวจเช้ือโควิด 19
โรงพยาบาลในจงั หวัดสมทุ รสาครและสมุทรสงคราม

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ลงพื้นท่ี โดยใช้หลักการการประเมินความเส่ียง ส่วนด้านเทคนิคการ
ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการเครือข่าย ตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัส ตรวจวิเคราะห์ ตรวจประเมินตามแนวทางของกรมวิทยาศาสตร์
การแพทย์ บุคลากรมีความรู้มีความสามารถหรือไม่ ความพร้อม
โคโรนา 2019 (SARS-CoV-2) โรงพยาบาลในจังหวัดสมุทรสาคร ด้านสถานที่และสภาพสิ่งแวดล้อม เครอื่ งมือ น�ำ้ ยาและวสั ดอุ ปุ กรณ์
และสมุทรสงคราม โดยตรวจสอบความพร้อมด้านความปลอดภัยและ แนวทางในการเกบ็ และขนสง่ ตวั อยา่ งก่อนการส่งตรวจ การเลือกใช้
การวเิ คราะห์ผล เพอื่ รองรับการตรวจค้นหาเชิงรกุ ภายในสัปดาหน์ ี้ ชดุ นำ�้ ยา การควบคมุ คณุ ภาพตวั อยา่ งมคี ณุ ภาพหรอื ไม่ ความไมแ่ นน่ อน
นายแพทยศ์ ภุ กจิ ศริ ลิ กั ษณ์ อธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ของการตรวจวิเคราะห์ การรายงานผล การรายงานเข้าระบบ
เปดิ เผยวา่ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ โดย สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ CO-LAB รวมถึงระบบคุณภาพ การป้องกนั การปนเป้อื น การตรวจ
สาธารณสุข และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 5 สมุทรสงคราม สอบการถา่ ยโอนขอ้ มลู แนวทางในการทำ� ซำ�้ การจดั การผลคลมุ เครอื
ลงตรวจพ้ืนที่จังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อ “การด�ำเนินการเหล่าน้ีเพ่ือให้ห้องปฏิบัติการมีการด�ำเนิน
ประเมินความพร้อมห้องปฏิบัติการเครือข่ายตรวจ SARS-CoV-2 การด้วยวิธีการที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีการประเมิน ตรวจสอบ
โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จังหวัดสมุทรสงคราม แลกเปลี่ยนข้อมูล ส่ือสารซึ่งกันและกัน และแบ่งกันรับผิดชอบ
โรงพยาบาลวชิ ยั เวช อนิ เตอรเ์ นชนั่ แนล สมทุ รสาคร และโรงพยาบาล การตรวจทางห้องปฏิบัติการในเขตพ้ืนที่ที่ได้รับมอบหมาย เพ่ือให้
เอกชัย จังหวัดสมุทรสาคร ตรวจเพื่อประเมินความพร้อมด้าน ครอบคลุมและรายงานผลได้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ซ่ึงปัจจุบัน
ความปลอดภัยและศักยภาพการตรวจวิเคราะห์เตรียมเข้าสู่ มีห้องปฏิบัติการเครือข่ายตรวจ SARS-CoV-2 ท่ีผ่านการทดสอบ
ช่วงการรณรงค์ปูพรมค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร ความช�ำนาญทางห้องปฏิบัติการจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ทจี่ ะด�ำเนนิ การในสปั ดาห์น้ี จ�ำนวนทั้งส้ิน 267 แห่งทั่วประเทศ ได้แก่ กรุงเทพและปริมณฑล
นายแพทย์ศุภกิจ กล่าวเพ่ิมเติมว่า การตรวจประเมินความ 102 แหง่ (แบ่งเป็นภาครัฐ 42 แห่ง, ภาคเอกชน 60 แห่ง) และตา่ ง
พรอ้ มทางหอ้ งปฏิบตั ิการจะเน้นด้านความปลอดภยั การใช้อุปกรณ์ จงั หวัด 165 แหง่ (แบ่งเปน็ ภาครัฐ 132 แหง่ , ภาคเอกชน 33 แห่ง)”
ป้องกัน เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และน้�ำยาฆ่าเชื้อ เพ่ือให้มั่นใจว่า นายแพทย์ศภุ กิจ กล่าว
ผปู้ ฏบิ ตั งิ านปลอดภยั และ ไมป่ ลอ่ ยเชอ้ื โรคออกสสู่ ง่ิ แวดลอ้ มภายนอก
สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสุข
ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 5 สมุทรสงคราม …รายงาน

คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ D iscovery M oral S ciences/Standards C hange
น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2564จดหมายข่าว5

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

Department of Medical Sciences

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รว่ มกบั เครอื ข่ายขยายศักยภาพ
การตรวจเชิงรุกระดมค้นหา ผู้ตดิ เช้ือโควิด 19 ในจงั หวัดสมุทรสาคร

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และเครอื ขา่ ยในจงั หวดั 8,000 ตวั อยา่ งตอ่ วนั หรอื รวมแลว้ 90,000

ร่วมกับ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร เครือข่าย ตวั อยา่ งตอ่ สปั ดาห์ นอกจากนท้ี างเครอื ขา่ ยของมหาวทิ ยาลยั สามารถ
โรงเรียนแพทย์และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ขยายศักยภาพการตรวจเช้ือ ตรวจได้อีก 10,000 ตัวอย่างต่อสัปดาห์ ท�ำให้การตรวจทางห้อง
โควิด 19 ทางห้องปฏิบัติการ เพ่ือรองรับการตรวจค้นหาผู้ป่วย ปฏิบัติการเชิงรุกสามารถตรวจได้ถึง 100,000 ตัวอย่างต่อสัปดาห์
เชิงรุกในพนื้ ที่จังหวดั สมทุ รสาคร ตงั้ เปา้ การตรวจให้ได้ไมน่ ้อยกวา่ ซ่ึงได้มีการบริหารจัดการแล้ว และในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ไดม้ กี ารเกบ็ ตวั อยา่ งสง่ ตรวจทงั้ จาก NP Swab และการเกบ็ ตวั อยา่ ง
100,000 ตวั อย่างตอ่ สัปดาห์

นายแพทยศ์ ภุ กจิ ศริ ลิ กั ษณ์ อธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ น�ำ้ ลาย (saliva)
กล่าวว่า กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ รว่ มกับส�ำนักงานสาธารณสุข “ที่ประชุมมีข้อสั่งการให้ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
จงั หวัดสมทุ รสาคร เครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบนั แพทยศาสตร์ จัดส่งแผนการด�ำเนินงานเพื่อรองรับการตรวจค้นหาผู้ป่วย
แห่งประเทศไทย (UHosNet) และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ได้ประชุมหารือ เชิงรุก (Active case Finding) ในพ้ืนที่จังหวัดสมุทรสาครมายัง
เตรียมความพร้อมห้องปฏิบัติการรองรับการตรวจค้นหา ผู้ป่วย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพอ่ื รว่ มพจิ ารณา หากจำ� นวนตวั อย่าง
เชิงรุก (Active case finding) ในพ้ืนท่ีจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อ เกินศักยภาพของพื้นที่จะร่วมบริหารจัดการส่งตัวอย่างไปยัง
บูรณาการด�ำเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังทีมแพทย์ เครอื ข่ายต่อไป โดยมเี ปา้ หมายในการรายงานผลภายใน 24 ชั่วโมง
และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข โรงพยาบาลในจังหวัดสมุทรสาคร ใน เน้นความส�ำคัญท่ีการระบุตัวบุคคลที่สามารถติดต่อกลับไปได้
การลงพื้นที่ปูพรมตรวจเช้ือเชิงรุก โดยเป้าหมายเป็นกลุ่มแม่ค้า และให้กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ติดตามโครงการ
พ่อค้า คนในชุมชน รวมถึงโรงงานท่ีมีแรงงานทั้งคนไทยและชาว เร่ือง Matching Fund เพ่ือสนับสนุนให้ผู้ประกอบการเข้าร่วม
เมียนมาจ�ำนวนมากให้ครอบคลุมทุกพื้นท่ี ซึ่งหากพบเชื้อจะต้อง ระบบเพ่ือตรวจหาเช้ือมากขึ้น นอกจากนี้ยังได้หารือเตรียม
เขา้ สกู่ ระบวนการดแู ลรกั ษาตามทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ กำ� หนดตอ่ ไป ความพร้อมโรงพยาบาลใกล้เคียงที่สามารถรองรับการตรวจ
ส�ำหรับการวางแผนด�ำเนินงานของจังหวัดสมุทรสาครน้ัน ในกรณที เ่ี กนิ ศกั ยภาพของโรงพยาบาลในจงั หวดั สมทุ รสาคร โดยให้
ทางสำ� นักงานสาธารณสขุ จงั หวดั โรงพยาบาลในจังหวดั สมุทรสาคร แจง้ ศกั ยภาพการตรวจมายงั กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ เพอื่ บรหิ าร
และเครือข่ายโรงเรียนแพทย์ UHosNet ประมาณ 30 ทีม ซึ่งมี จัดการต่อไป” นายแพทย์ศภุ กจิ กล่าว
ศักยภาพในการตรวจคดั กรองด้วยวิธี Swab หรอื ใชส้ ารคดั หลง่ั จาก สถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตรส์ าธารณสขุ
โพรงจมูก โดยในส่วนกลางสามารถตรวจได้ 4,700 ตัวอย่างต่อวนั ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 5 สมทุ รสงคราม …รายงาน

คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ D iscovery M oral S ciences/Standards C hange
น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

6 รอบรัว้ กรมวทิ ย์ - ภมู ิภาค

ปฐมนเิ ทศข้าราชการทอ่ี ย่รู ะหว่างทดลองปฏิบตั ิหน้าทร่ี าชการ
นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติ
หนา้ ทีร่ าชการของสว่ นกลาง โดยมกี ระบวนการปฐมนิเทศ การบรรยาย
เรื่องบทบาท ภารกิจ ยุทธศาสตร์ ระบบคุณภาพของกรมวิทยาศาสตร์
การแพทย์ สิทธิประโยชน์และสวัสดิการของข้าราชการ การประเมิน
ผลการปฏิบัติราชการ ถ่ายทอดการอบรมผ่านการประชุมทางไกล
วิดโี อคอนเฟอเรนซ์ และ Application Zoom ไปยงั ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ทุกแหง่ ณ หอ้ งประชมุ 110 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย
กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2564
ประชุมกรรมการสถาบันที่ปรึกษาการบรหิ ารระบบคณุ ภาพ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยพุ ราช

พลเอกกัมปนาท รดุ ดิษฐ์ องคมนตรี เป็นประธาน “การประชุมกรรมการสถาบนั
ท่ีปรึกษาการบริหารระบบคุณภาพโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช คร้ังที่ 1/2564
เพื่อการธ�ำรงรักษาและเสริมสร้างความเข้มแข็งการให้บริการทางห้องปฏิบัติการทาง
การแพทย์ และห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช” โดยมี
นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ให้การต้อนรับ โดยมี
การประชมุ ทางไกลวดิ โี อคอนเฟอเรนซผ์ า่ นไปยงั คณะกรรมการทไ่ี มไ่ ดเ้ ขา้ รว่ มการประชมุ
ในครัง้ น้ี ณ ห้องประชุม 722 ช้นั 7 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2564

พฒั นาศักยภาพหอ้ งปฏิบตั ิการเครือข่ายตรวจ SARS-CoV-2
นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์
การแพทย์ เปิดสัมมนาพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการเครือข่าย
ตรวจ SARS-CoV-2 สู่มาตรฐานสากลเพื่อรองรับการระบาด
ของโรคอุบัติใหม่/อุบัติซ�้ำ โดย ส�ำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ถ่ายทอดการอบรมผ่านการประชุม
ทางไกลวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ และ Application Zoom ไปยัง
ผู้ปฏิบัติงานห้องปฏิบัติการเครือข่ายตรวจ SARS-CoV-2 ทุกแห่ง ณ ห้องประชุม 815 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย กรมวิทยาศาสตร์
การแพทย์ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2564
เยีย่ มชมการเกบ็ ตวั อยา่ งการตรวจหาเช้อื โควิด 19
นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พร้อมด้วยผู้บริหาร
กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ เยีย่ มชมการเกบ็ ตวั อยา่ งการตรวจหาเช้อื โควดิ 19 ผูป้ ระเมนิ ผตู้ ัดสนิ
รวมทง้ั บคุ ลากรฟุตบอลอาชพี และผ้ทู ่ีเกย่ี วข้องทีเ่ ขา้ ตรวจหาเชือ้ โควดิ 19 เพอ่ื ใหก้ ารแข่งขนั กฬี า
ฟุตบอลอาชีพท่ีจะกลับมาแข่งขันต่อ สอดคล้องกับนโยบาย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ตามมาตรการผ่อนปรนกิจการ และกิจกรรมด้านการกีฬาเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคโควดิ 19 ความรว่ มมอื ระหวา่ งกระทรวงสาธารณสขุ และ สมาคมกฬี าฟตุ บอลแหง่ ประเทศไทย
ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ณ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2564

คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ D iscovery M oral S ciences/Standards C hange
น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

จดหมายข่าว ปที ่ี 35 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2564 7

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

Department of Medical Sciences

อบรมพัฒนาการตรวจประเมินระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 19011

นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เปิดอบรม
พัฒนาการตรวจประเมินระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 19011 จัดโดย
ส�ำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบุคลากรกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ให้มีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการตรวจประเมินและน�ำความรู้ไปประยุกต์
ใช้ในการตรวจประเมินตามมาตรฐานที่เก่ียวข้องรวมถึงการธ�ำรงรักษาระบบคุณภาพของหน่วยงาน โดยมี นางศิริพรรณ ว่องวานิช เป็นวิทยากร
ถ่ายทอดการอบรมผ่านการประชมุ ทางไกลวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ และ Application Zoom ณ หอ้ งประชุม 110 อาคาร 100 ปี การสาธารณสขุ ไทย
กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ วันท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2564

เสรมิ สรา้ งคุณธรรม จริยธรรมขา้ ราชการท่ีบรรจุเขา้ ปฏบิ ัติงาน
ในชว่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564

นายแพทย์พิเชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นประธาน
เปิดโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม จรรยา ข้าราชการ ประมวลจริยธรรม
และมาตรฐานจริยธรรมแก่บุคลากรที่บรรจุเข้าปฏิบัติงานในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ.2563-2564 จำ� นวน 3 รนุ่ แบง่ เปน็ 3 วนั การอบรมโดยมวี ทิ ยากรจาก สำ� นกั งาน ก.พ. มาบรรยายใหค้ วามรเู้ พอ่ื ใหบ้ คุ ลากรมกี รอบแนวทางในการ
ปฏิบัติตน ท�ำในส่ิงท่ีถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ ตามประมวลจริยธรรมของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พ.ศ. 2561 ถ่ายทอดการ
อบรมผา่ นการประชุมทางไกลวดิ ีโอคอนเฟอเรนซ์ และ Application Zoom ไปยังศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ทกุ แหง่ ณ ห้องประชุม 815 ช้ัน 8
อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ระหวา่ งวันที่ 2 - 3 กุมภาพนั ธ์ 2564
การพัฒนานกั รบเสอ้ื กาวน์สู้ COVID-19

นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นประธานการอบรมเชิง
ปฏิบตั กิ าร “การพัฒนานกั รบเสอื้ กาวน์สู้ COVID-19” จากสถานการณก์ ารระบาดของไวรัสโคโรนา 2019
ระลอกใหม่เป็นจ�ำนวนมาก จึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างมาตรวจวิเคราะห์ทาง
ห้องปฏิบัติการ และป้องกันการติดเช้ือของบุคลากรที่ต้องปฏิบัติงานใกล้ชิดกับเช้ือโรคอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพและปลอดภัยมากที่สุด
โดยมผี บู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ทสี่ ถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ เขา้ รว่ มอบรม ณ หอ้ งประชมุ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ กรมวทิ ยาศาสตร์
การแพทย์ วันที่ 9 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564

โครงการบ่มเพาะและพฒั นาศกั ยภาพนวตั กรกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
นายแพทย์บัลลังก์ อุปพงษ์ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เข้าร่วมรับฟังโครงการบ่มเพาะ

และพัฒนาศักยภาพนวัตกร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (DMSc Smart Incubator & Accelerator)
ครั้งที่ 1 โดยมีการบรรยาย เรื่อง DMSc Innovation Ecosystem 2021 โดย ทนพญ.สิริภากร
แสงกจิ พร ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (ชวี วทิ ยา) และเรอ่ื ง การประเมนิ ทาง
เศรษฐศาสตรน์ การพฒั นานวตั กรรม โดย ดร.ภญ.จนั ทนา พฒั นเภสชั สำ� นกั ยาและวตั ถเุ สพตดิ ใหค้ วามรผู้ า่ นการประชมุ ทางไกลวดิ โี อ คอนเฟอเรนซ์ ,
Zoom และ Facebook Live ณ หอ้ งประชมุ 110 ชน้ั 1 อาคาร 100 ปี การสาธารณสขุ ไทย กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ วนั ท่ี 9 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564
โครงการ “ปฏิทินเกา่ เราขอ” โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

กลมุ่ งานคมุ้ ครองจรยิ ธรรม และสำ� นกั งานเลขานกุ ารกรม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ นำ� ปฏทิ นิ ตง้ั โตะ๊ ทไี่ ดร้ บั
จากการบรจิ าคของเจา้ หนา้ ทท่ี ง้ั สว่ นกลางและศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ในโครงการ “ปฏทิ นิ เกา่ เราขอ” มอบให้
กบั มลู นธิ ชิ ว่ ยคนตาบอดแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ เพอ่ื รว่ มเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการแปลเปน็ อกั ษรเบลล์
สำ� หรบั ผพู้ กิ ารทางสายตา วนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564

ประชุมเพ่ือเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ เครือข่ายห้องปฏบิ ตั ิการดา้ นการดูแลแมแ่ ละเดก็

นายแพทยศ์ ภุ กจิ ศริ ลิ กั ษณ์ อธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ เปดิ การประชมุ เพอื่ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็
เพม่ิ ศกั ยภาพเครอื ขา่ ยหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยด์ า้ นการดแู ลแมแ่ ละเดก็ DMSc Maternal & Child
HealthPreventionandControl โดยมี นายแพทยบ์ ลั ลงั ก์อปุ พงษ์รองอธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กลา่ วรายงาน
จัดโดย สถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ถ่ายทอดผ่านการ
ประชมุ ทางไกลวดิ โี อคอนเฟอเรนซ์ ไปยงั เครอื ขา่ ยหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ เี่ กย่ี วขอ้ ง ณ หอ้ งประชมุ 315 ชน้ั 3 อาคาร 100 ปี
การสาธารณสขุ ไทย กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ วนั ท่ี 15 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564
D iscovery M oral S Cciences/Standards
คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน hange
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้
ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

8 มุมวชิ าการ

กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์เผยผลตรวจการปนเป้ือนเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ในอาหารและบรรจภุ ัณฑ์

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เผยผล
ตรวจการปนเปื้อนเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหารทะเลและบรรจุภัณฑ์
จ�ำนวน 117 ตวั อยา่ ง ไม่พบการปนเป้ือนทุกตวั อย่าง ผู้บรโิ ภคสามารถ
รบั ประทานอาหารทะเลไดอ้ ยา่ งมนั่ ใจในความปลอดภยั เนอื่ งจากเชอื้ ไวรสั
ไมท่ นตอ่ สภาพแวดลอ้ ม ถกู ทำ� ลายไดง้ า่ ย โดยเฉพาะอาหารทป่ี รงุ สกุ ผา่ น
ความรอ้ น สามารถทำ� ลายเชอ้ื ได้ อาหารทะเลท่ีจ�ำหน่ายในตลาดสดเขตกรุงเทพและปริมณฑล
นายแพทย์ศุภกจิ ศิรลิ ักษณ์ อธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ จ�ำนวน 80 ตัวอย่าง วันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2564 ตรวจอาหารทะเล
กล่าวว่า จากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีตลาดปลาสหกรณ์ประมงแม่กลอง จ.สมุทรสงคราม จ�ำนวน 26
ระลอกใหมท่ ม่ี จี ดุ เรมิ่ ตน้ มาจากแพกงุ้ จ.สมทุ รสาคร ทำ� ใหป้ ระชาชน ตวั อย่าง วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2564 ตรวจสินค้าสัตวน์ ำ้� ในเรอื
เกิดกระแสความไม่มั่นใจในการบริโภคอาหารทะเล ส่งผลกระทบ ดา่ นประมง จ.ระยอง จำ� นวน 3 ตวั อยา่ ง และลา่ สดุ วนั ที่ 21 มกราคม
ในวงกวา้ งทง้ั ในดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม ตลอดหว่ งโซก่ ารผลติ สตั วน์ ำ้� 2564 ตรวจอาหารทะเลและบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ กล่องกระดาษ
ต่อการจ�ำหน่ายสินค้าสัตว์น้�ำและการประกอบอาชีพชาวประมง กระปอ๋ ง จ�ำนวน 8 ตัวอย่าง
เป็นอย่างมาก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย ส�ำนักคุณภาพ “จากการสุ่มตรวจอาหารทะเลที่จ�ำหน่ายในประเทศ
และความปลอดภยั อาหาร เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอา้ งองิ ตรวจวเิ คราะห์ ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ขอให้ผู้บริโภคมั่นใจว่า
ด้านอาหารของประเทศไทย จึงได้พัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์ สามารถรับประทานทะเลสดและอาหารทะเลแช่แข็งได้ตามปกติ
หาสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปนเปื้อนในอาหารและ และมีความปลอดภัย โดยน�ำมาปรุงใหส้ ุก เพราะความรอ้ นสามารถ
บรรจุภัณฑ์ นอกจากนั้นยังได้ด�ำเนินการสุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพ ท�ำลายเช้ือไวรัสได้ด้วยความร้อน 70 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที
ความปลอดภัยอาหารทะเลมาอย่างต่อเนื่อง โดยท�ำงานบูรณา ข้ึนไป และถ้าความร้อนสูงขึ้นก็จะใช้ระยะเวลาน้อยลง หากเป็น
การร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ด่านอาหารน�ำเข้า อาหารแช่แข็ง ควรล้างท�ำความสะอาดบรรจุภัณฑ์ สวมถุงมือเวลา
สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ดา่ นตรวจประมง กรมประมง ประกอบอาหาร และที่ส�ำคัญต้องล้างมือทุกคร้ังก่อนและหลัง
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดปลาสหกรณ์ และบริษัท สัมผัสอาหารทะเล ทั้งนี้บริษัทเอกชนรายใดต้องการส่งตัวอย่าง
เอกชน เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้การตรวจเฝ้าระวังมีประสิทธิภาพ ตรวจวเิ คราะห์ เพอื่ เรยี กความเช่อื มั่นให้กับลูกค้า สามารถสอบถาม
อยา่ งสงู สดุ รายละเอียดได้ที่ส�ำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
นายแพทยศ์ ุภกิจ กลา่ วต่ออกี ว่า กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 0-2951-0000 ตอ่ 99561, 99562 หรอื คู่มือการส่งตัวอยา่ งตรวจ
ได้มีการเก็บตัวอย่างอาหารและบรรจุภัณฑ์ เพ่ือตรวจวิเคราะห์ วิเคราะห์หาสารพันธุกรรมของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร
หาสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เช่น ปลาแซลมอน และบรรจุภัณฑ์ http://bqsf.dmsc.moph.go.th/bqsfWeb/
ปลาทนู ่า ปลาทรายแดง ปลาซาบะ ปลาทู ปลาอนิ ทรีย์ ปลาใบขนนุ index.php/covid-19/ โดยในชว่ งนกี้ รมฯ ไดล้ ดคา่ ตรวจวเิ คราะห์
ปลาน�้ำดอกไม้ หอย หมึก กุ้ง เป็นต้น ส�ำหรับบรรจุภัณฑ์ เช่น 50% เพ่ือเป็นการช่วยเหลือและลดภาระของผู้ประกอบการ
กระป๋อง กล่องกระดาษ ต้ังแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 – ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019”
เดอื นมกราคม พ.ศ. 2564 จ�ำนวน 117 ตวั อย่าง ไม่พบการปนเป้อื น นายแพทย์ศุภกจิ กลา่ ว
ทกุ ตัวอยา่ ง โดยเดอื นพฤศจกิ ายน – ธันวาคม พ.ศ. 2563 สมุ่ ตรวจ ส�ำนกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร...รายงาน

คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ D iscovery M oral S ciences/Standards C hange
น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

จดหมายข่าว ปที ี่ 35 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2564 9

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

Department of Medical Sciences

คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ D iscovery M oral S Cciences/Standards hange
น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

10 ความเสยี่ ง

เลยี่ งได้

กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์สุ่มตรวจปาทอ่ งโก๋ เพือ่ เฝ้าระวังความปลอดภัยให้ผูบ้ รโิ ภค

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข สุ่มตรวจ ปาท่องโก๋แบบคู่ 6 ตัวอย่าง และปาท่องโก๋ชื่อดัง 5 ตัวอย่าง
ปาท่องโก๋ท่ีจ�ำหน่ายในกรุงเทพและปริมณฑล เพื่อเฝ้าระวังการ ตรวจวิเคราะห์ด้วยเครื่อง Liquid Chromatograph/Triple
ปนเปอ้ื นบอรแ์ รกซ์ สารโพลาร์ในนำ�้ มนั ทอดซำ�้ และตรวจวเิ คราะหป์ รมิ าณ quadrupole Mass Spectrometer (LC-MS/MS) ตรวจพบ
สารอะคริลาไมด์ หรือ AA ซึ่งเป็นสารที่พบในกระบวนการผลิตอาหาร อะคริลาไมด์ในปริมาณน้อยกว่า 0.04-0.48 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
ทผี่ า่ นการทอดดว้ ยนำ�้ มนั โดยใชค้ วามรอ้ นสงู โดยเฉพาะอาหารทม่ี แี ปง้ สงู ซึ่งมีค่าเฉลี่ยทั้งหมดอยู่ที่ 0.20 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม พบปริมาณ
และมีรายงานการศึกษาด้านพษิ วิทยาพบวา่ อาจก่อใหเ้ กิดโรคมะเรง็ เฉล่ียในปาท่องโก๋จ๋ิวแบบกรอบ ปาท่องโก๋แบบคู่และปาท่องโก๋
นายแพทยศ์ ภุ กจิ ศริ ลิ กั ษณ์ อธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ แบรนด์ เท่ากับ 0.31, 0.09 และ 0.05 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
กล่าวว่าจากกรณีที่มีการแชร์ข้อมูลในโซเชียลมีเดียว่าเบ้ืองหลัง ตามล�ำดับ เมื่อเปรียบเทียบปริมาณอะคริลาไมด์ในปาท่องโก๋กับ
ความกรอบของปาท่องโก๋อาจมีภัยเงียบจากผงกรอบหรือที่รู้จักกัน ขนมทอดอ่ืนๆ เช่น กล้วยทอด (กล้วยแขก) เผือกทอด มันทอด
ในชอ่ื ทวั่ ไปวา่ นำ�้ ประสานทองหรอื บอรแ์ รกซ์ และการใชน้ ำ้� มนั ทอดซำ้� มันฝรั่งทอด (เฟรนด์ฟรายด์) จากข้อมูลการประเมิน ความเส่ียง
ของพ่อค้าแม่ค้า ซึ่งผู้บริโภคมีความเส่ียงที่จะได้รับอันตราย อะคริลาไมด์ในอาหารของไทย (ปี พ.ศ. 2554) พบปริมาณ
ด้วยเหตุนี้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย ส�ำนักคุณภาพและ อะคริลาไมด์ใกล้เคียงกับเผือกทอด ซ่ึงมีค่าเฉลี่ย 0.14 มิลลิกรัม
ความปลอดภัยอาหาร จึงได้สุ่มเก็บตัวอย่างปาท่องโก๋ที่จ�ำหน่าย ต่อกิโลกรัม และต�่ำกว่ามันฝรั่งทอด ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.71
ในเขตพื้นท่ีกรุงเทพและปริมณฑล จ�ำนวน 80 ตัวอย่าง แยกเป็น มลิ ลิกรัมต่อกโิ ลกรมั
ปาท่องโก๋แบบคู่และซาลาเปา 61 ตัวอย่าง ปาท่องโก๋จิ๋วกรอบ “จากการสุ่มตรวจปาท่องโก๋ทีจ่ ำ� หนา่ ยในเขตพน้ื ท่กี รุงเทพ
14 ตวั อยา่ ง และปาทอ่ งโกท๋ แ่ี บรนดด์ งั ทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มสงู 5 ตวั อยา่ ง และปริมณฑล มีความปลอดภัย ไม่พบการปนเปื้อนบอร์แรกซ์
ผลจากการตรวจด้วยชุดทดสอบบอร์แรกซ์ ไม่พบการปนเปื้อน ไม่พบสารโพลาร์ในปาทอ่ งโกจ๋ ากการใช้น้�ำมันทอดซำ�้ และตรวจพบ
บอรแ์ รกซ์ในทุกตวั อย่าง และจากการดมกลน่ิ ปาทอ่ งโกพ๋ บว่ามกี ลิ่น อะครลิ าไมดใ์ นปรมิ าณทพี่ บไดใ้ นอาหารทอดทว่ั ไป เมอ่ื เปรยี บเทยี บ
แอมโมเนยี 7 ตวั อยา่ ง ประมาณรอ้ ยละ 9 ซงึ่ อาจมาจากแอมโมเนยี ม กับข้อมูลการประเมินความเส่ียงอะคริลาไมด์ในอาหารของไทย
ไบคารบ์ อเนต (Ammonium Bicabonate) หรอื เบคก้ิงแอมโมเนีย (ปี พ.ศ. 2554) พบว่า การได้รับอะคริลาไมด์จากการบริโภคยัง
ซึ่งชว่ ยใหป้ าทอ่ งโกพ๋ องฟู สำ� หรับการใช้นำ้� มันทอดซำ้� ได้สมุ่ ตัวอย่าง อยู่ในระดับท่ีปลอดภัย ส�ำหรับการท�ำปาท่องโก๋โดยใช้สูตรที่มี
ปาท่องโก๋ จ�ำนวน 21 ตัวอย่าง ตรวจด้วยชุดทดสอบสารโพลาร์ แอมโมเนียมไบคาร์บอเนตนั้น หากใช้ในปริมาณพอเหมาะ เม่ือน�ำ
ในน�ำ้ มันทอดซ้ำ� ตรวจไมพ่ บทุกตวั อย่าง ไปทอดผ่านความร้อนสารน้ีก็จะระเหยออกไปหมด โดยไม่ส่งกล่ิน
นายแพทย์ศุภกิจ กล่าวต่ออีกว่า เนื่องจากปาท่องโก๋เป็น ท้ิงไว้ในปาท่องโก๋และไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค แต่กรณีท่ี
อาหารที่มีแป้งสูงและผ่านกระบวนการทอดด้วยน�้ำมัน โดยใช้ ใช้ในปริมาณมากเกินไป ไอระเหยอาจจะท�ำให้ผู้ทอดเกิดอาการ
ความร้อนสูง ท�ำให้มีโอกาสท่ีจะพบสารอะคริลาไมด์ ซึ่งเกิดจาก ระคายเคืองในลําคอ จึงควรหลีกเล่ียงการสูดดมแก๊สแอมโมเนีย
ปฏิกิริยาระหว่างกรดอะมิโนชนิดแอสพาราจีนกับน�้ำตาลรีดิวซิง ท่ีระเหยออกมา ท้ังน้ีเพื่อความปลอดภัยและเป็นการรักษาสุขภาพ
เช่น กลูโคสและฟลุคโตสท่ีอุณหภูมิเกินกว่า 120 องศาเซลเซียส ไม่ควรรับประทานปาท่องโก๋ต่อเน่ืองติดกันเป็นประจ�ำทุกวัน
หรือใช้เวลาในการปรุงอาหารนานเกินไป จนอาหารมีความช้ืนต�่ำ ในกรณที รี่ บั ประทานปาทอ่ งโกเ๋ ปน็ อาหารเชา้ ควรหาอาหารทม่ี โี ปรตนี
ปฏิกิริยาน้ีมีช่ือว่า Maillard reaction มีผลให้อาหารมีสีน�้ำตาล เช่น ไข่ดาวหรือไข่ต้ม เพ่ือให้ร่างกายได้รับพลังงานโปรตีนจาก
โดยมีรายงานการศึกษาด้านพิษวิทยา พบว่า ถ้าได้รับปริมาณมาก อาหารอ่ืนเพ่ิมเติมไปด้วย และก่อนซ้ือให้มองดูน�้ำมันในกระทะที่ใช้
มีพิษต่อระบบประสาท และหน่วยงาน International Agency ทอดปาท่องโก๋ ถ้าเห็นว่าน้�ำมันเป็นสีด�ำเข้ม ควรเปล่ียนไปเลือกซ้ือ
for Research on Cancer (IARC) จดั เปน็ สารในกลมุ่ ทอ่ี าจกอ่ มะเรง็ เจ้าอื่นแทน” นายแพทยศ์ ุภกิจ กลา่ ว
ในคน จึงได้มีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณอะคริลาไมด์ในปลาท่องโก๋ สำ� นกั คุณภาพและความปลอดภยั อาหาร... รายงาน
จ�ำนวน 25 ตัวอย่าง ได้แก่ ปาท่องโก๋จ๋ิวแบบกรอบ 14 ตัวอย่าง

คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ D iscovery M oral S ciences/Standards C hange
น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

จดหมายข่าว ปที ี่ 35 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2564 11

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

Department of Medical Sciences

การเฝ้าระวังการกลายพันธุ์และการดื้อยาของ เชื้อไข้หวัดใหญ่
ประจำ�เดือนมกราคม พ.ศ.2564


จากการเฝา้ ระวงั ไขห้ วดั นกและไขห้ วดั ใหญท่ างหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ศนู ยไ์ ขห้ วดั ใหญแ่ หง่ ชาติ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ภายใต้
โครงการ “การศกึ ษาสายพนั ธไ์ุ ขห้ วดั ใหญเ่ พอื่ เตรยี มความพรอ้ มรบั มอื ไขห้ วดั ใหญร่ ะบาดใหญ่ ซง่ึ ไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ จากสถาบนั วจิ ยั วคั ซนี
แหง่ ชาต(ิ องคก์ รมหาชน) ไดส้ มุ่ ตวั อยา่ งจากผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการคลา้ ยไขห้ วดั ใหญ่ (ILI) ผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการรนุ แรง ปอดบวม ปอดอกั เสบ (SARI)
จากระบบเฝา้ ระวงั ไขห้ วดั ใหญแ่ ละไขห้ วดั นก
โดยกระทรวงสาธารณสขุ น�ำมาเพาะเชอ้ื ท�ำการตรวจวเิ คราะหโ์ ดยวธิ ี Genotypic assay เพอื่ หายนี สท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การดอื้ ยา
และวธิ ี Phenotypic assay โดยการทดสอบเชอ้ื ไวรสั กบั ยาตา้ นไวรสั ในกลมุ่ Neuraminidase inhibitor ผลการทดสอบดงั นี้

ผลการทดสอบ ยอดสะสม
ชนดิ / สายพนั ธุไ์ ข้หวัดใหญ่ ประจำ�เดือนมกราคม 2564 ม.ค.52 – 30 ม.ค. 64

จำ�นวนเชือ้ ที่ จำ�นวนเชื้อที่ ร้อยละที่ดื้อยา ร้อยละทดี่ ือ้ ยา
ทดสอบ ด้ือยา
0 (0/2,363)
ไข้หวัดใหญต่ ามฤดูกาล 0 (0/1,803)
1. A/H1N1 (2009) 0 (0/665)
2. A/H3N2 0 0 0(0/0)
3. Influenza B
0 0 0(0/0)

0 0 0(0/0)

ศนู ยไ์ ขห้ วดั ใหญแ่ หง่ ชาติ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ ... รายงาน

ประเมนิ
ความพงึ พอใจ
จดหมายขา่ วสแกน

ฉบับกุมภาพันธ์ พ.ศ.2564 ค�ำถาม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้พัฒนาวิธีตรวจการปนเปื้อนเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร
และบรรจุภัณฑ์ ในการตรวจสารพันธุกรรมของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ชนิดของตัวอย่างที่รับตรวจมีอะไรบ้าง

รายช่อื ผู้โชคดี กรุณาส่งค�ำตอบ พร้อมระบุช่ือท่ีอยู่ เบอร์โทรศัพท์ของท่านที่สามารถติดต่อได้ ส่งมายัง ฝ่ายประชาสัมพันธ์
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 หรือทาง อีเมล
[email protected] หรือ โทรสาร 0 2591 1707 หรือส่งเข้ามาท่ีกล่องข้อความ ในเฟชบุ๊ก
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ลนุ้ รบั รางวลั ........ กลอ่ งโพสตอ์ ทิ จ�ำนวน20รางวลั (หมดเขตสง่ ค�ำตอบลนุ้ รางวลั ภายในวนั ที่31มนี าคมพ.ศ.2564)
ประกาศรายชอ่ื ผโู้ ชคดี ในจดหมายข่าวกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ฉบับเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2564
เฉลยค�ำตอบ และรายชื่อผู้โชคดีประจ�ำเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 (เจลล้างมือ 20 รางวัล )
ค�ำถาม หากถูกพิษ หมึกสายวงสีน้�ำเงิน จะมีอาการอย่างไร
ตอบ มอี าการชาบรเิ วณรมิ ฝีปาก ลิน้ ตอ่ มาชาบริเวณใบหนา้ แขนขาและเปน็ ตะคริวในทสี่ ดุ น้ำ� ลายไหล คลนื่ ไส้
อาเจยี นปวดทอ้ งทอ้ งเสยี ซง่ึ อาการปวดทอ้ งจะเปน็ มากขน้ึ เรอื่ ยๆจากนน้ั กลา้ มเนอื้ จะเรม่ิ ท�ำงานผดิ ปกติ
ออ่ นแรงในผปู้ ว่ ยท่ีไดร้ บั พษิ ปรมิ าณมาก ร ะบบประสาทสว่ นกลางจะไมท่ �ำงานหายใจไมอ่ อกเนอ่ื งจากกลา้ มเนอ้ื
กะบงั ลมและหนา้ อกไมท่ �ำงานท�ำให้ไมส่ ามารถน�ำอากาศเขา้ สปู่ อดได้ผปู้ ว่ ยจะเสยี ชวี ติ ภายใน4-6ชว่ั โมง

คุณพัชราภรณ์ สมยา คณุ จนั ทรเ์ พญ็ โพธิพฒั น์ คณุ พรทิพย์ ด้วงจาด คุณชุดาภา ตนั สวุ รรณ
คณุ ฐิติภา ร่าหมา่ น คุณอัสมะ ยูโซะ คุณสุภาพร รกั ธรรมวาที คณุ อุบลวรรณา เจริญผ่อง
คณุ จฑุ ามาศ โทนค�ำ คณุ อิทตย์ นกุ ลู ธรรม คุณชัยยศ อินทรต์ ยิ ะ คณุ อรสา เกตุเรือน
คณุ อรชมุ า มที รพั ย์ คณุ มณฑณี สงู ชยั ภูมิ คุณจงรกั ษ์ คีรวี งษ์ คณุ กรรภริ มย์ เลศิ บ�ำรงุ ชัย
คุณโสภณ สมบญุ สา คณุ ประพัฒน์ ลาภเจริญกจิ คณุ จิตติพร ศรสี รอ้ ย คุณภณดิ า เก้ือสวุ รรณ
D iscovery M oral S ciences/Standards
คา่ นยิ ม กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ น�ำ ความรมู้ าประยกุ ต์ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ท�ำ งานอยา่ งมมี าตรฐาน C hange
ใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั วชิ าการ ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
อยา่ งสรา้ งสรรคท์ �ำ งานเปน็ ทมี

12 กเรตมือวนทิเตยภือ์ฯัยนระวัง “ยาคลายเครียดผงสชี มพู” ตรวจพบมสี ว่ นผสมของยาอแี ละยาบา้
1

ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี ได้รับตัวอย่าง นายแพทย์ศุภกิจ กล่าวต่ออีกว่า จากข้อมูลของต�ำรวจที่ได้
จากสถานีต�ำรวจในพ้ืนท่ีจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีลักษณะเป็นผงละเอียด สอบถามผู้บริโภคแล้วให้การว่า กินยาคลายเครียด ซ่ึงยาคลายเครียด
สีชมพูปนเกล็ดสีขาว ตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดและตัวยาอ่ืนๆ พบว่ามี หรือยานอนหลับ ยากลุ่มนี้ออกฤทธ์ิต่อสมองและมีผลข้างเคียง เช่น
สว่ นผสมของตวั ยาเมทลิ ลนี ไดออกซเี มทแอมเฟตามนี และเมทแอมเฟตามนี อาการตดิ ยา ถา้ ไมไ่ ดก้ นิ ไมห่ ลบั ดอื้ ยา ฤทธย์ิ าตกคา้ ง เปน็ ตน้ หากกนิ ไป
ช้ีหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจเป็นอันตรายต่อร่างกาย ท�ำให้เกิด เพื่อคลายเครียดหรือติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจเป็นอันตราย
อาการติดยาเสพติด ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม และปัญหายาเสพติด ตอ่ ร่างกาย ท�ำใหเ้ กิดอาการตดิ ยาเสพตดิ ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาทางสังคม
ตามมาได้ และปัญหายาเสพติดตามมาได้
“จึงขอแจ้งเตือนให้ประชาชนทราบถึงผลิตภัณฑ์
นายแพทยศ์ ุภกจิ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์ ยาคลายเครียดที่มีความเส่ียงในชุมชน ซ่ึงอาจได้รับยาจ�ำพวก
การแพทย์ เปิดเผยว่า กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ได้โดยไม่รู้เท่าทัน หากประชาชน
โดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี ต้องการใช้ยากลุ่มนี้ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ เพื่อป้องกันไม่ให้
ไดร้ บั ตวั อยา่ งจากสถานตี �ำรวจในพน้ื ทจ่ี งั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี บุคคลในครอบครัวหรือชุมชนได้รับอันตรายจากผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีชมพูปนเกล็ดสีขาว น้�ำหนัก และขอความรว่ มมอื จากประชาชนและเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ในพนื้ ท่ี
ประมาณ 3.14 กรัม บรรจอุ ยูใ่ นถงุ พลาสตกิ ใสซปิ ลอ็ ค ชว่ ยกนั เปน็ หเู ปน็ ตา เปน็ เครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพอนั ตราย
ไม่มีฉลากแสดงข้อมูลผลิตภัณฑ์ส่วนประกอบ เลขสารบบ และสถานที่ ในชุมชน รวมถึงหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้ร่วมมือกันแก้ไขปัญหา
ผลิตใดๆ ได้ท�ำการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อหาสารเสพติดและ
ตวั ยาอนื่ ๆ ทผ่ี สมในตวั อยา่ งดงั กลา่ ว ดว้ ยเทคนคิ Gas Chromatography ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 11 สรุ าษฎรธ์ าน.ี .. รายงาน
Massspectrometry (GC-MS) ผลการทดสอบ พบว่า มีส่วนผสม
ของตัวยาเมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน (Methylenedioxy
methamphetamine ; MDMA) หรือยาอี และเมทแอมเฟตามีน
(Methamphetamine) หรือยาบา้ ซงึ่ สารทง้ั 2 ชนิดนีจ้ ัดเปน็ ยาเสพตดิ
ให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ทั้งน้ีได้รายงานผลให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทราบ เพื่อป้องกันน�ำไป
ใช้ในทางทีผ่ ดิ และเฝ้าระวงั การแพรร่ ะบาดของยาดงั กล่าวในพ้นื ที่

ค้นหา รายช่อื ห้องปฏบิ ตั กิ าร เครือข่ายตรวจ SARS-CoV-2
ทผี่ า่ นการทดสอบความชำ�นาญทางห้องปฏิบัตกิ าร จากกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ช�ำ ระคา่ ฝากส่งเปน็ รายเดือน
88/7 ซอยติวานนท์ 14 ถนนติวานนท์ ใบอนุญาตเลขท่ี 22/2552
อำ�เภอเมอื ง จังหวดั นนทบุรี 11000 ไปรษณีย์กระทรวงสาธารณสุข

เสนอแนะ ตชิ ม หรอื
สง่ บทความลงตพี มิ พ์ สง่ มาไดท้ ่ี
กองบรรณาธกิ าร
ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์
ส�ำ นกั งานเลขานกุ ารกรม
กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
ถนนตวิ านนท์ อ�ำ เภอเมอื ง
จงั หวดั นนทบรุ ี 11000
โทร. 0-2951-0000 ตอ่ 99081
โทรสาร 0-2951-0312
E mail: [email protected]
www.dmsc.moph.go.th
www.dmscsmartlifeblog.com

กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

ทป่ี รึกษา อธบิ ดี รองอธิบดี ผทู้ รงคณุ วุฒิ ผู้เช่ียวชาญเฉพาะ ผูอ้ ำ�นวยการส�ำ นกั / สถาบัน / ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กองบรรณาธกิ าร
อภสิ ทิ ธ์ิ เหมาะสมสกลุ , วชพิ ร แดงอทุ ยั , วริ ะวญั อนิ ทรงิ , พรี ยทุ ธ คนั ทะชมภ,ู จงกล เงนิ มาก, ธีระพล ดีโสภา, สรพล สินเจรญิ รงุ่ , สนุ ันทา สุขสุมติ ร,
สุวรรณ โพธม์ิ า, กิตตพิ ร องิ คนนิ นั ท์, เพชรนภา ด้วงจาด


Click to View FlipBook Version