The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by envoccmail.rpsi, 2021-10-08 03:07:03

แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานประกอบการตามหลักการอาชีวอนามัย สำหรับสถานประกอบการที่มีแรงงานข้ามชาติ

How to prevent COVID-19 in establishment with migrant workers

Keywords: Risk Evaluate,COVID-19,Business comapany

ถอดบทเรียน

แนวทางการประเมนิ ความเส่ยี งการแพร่ระบาดโรคโควดิ 19
ในสถานประกอบการตามหลกั การอาชีวอนามยั
สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ

กลุม่ อาชวี เวชกรรม
สถาบนั ราชประชาสมาสยั กรมควบคุมโรค





คานา

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19 ที่มีการแพรก่ ระจายไปทวั่ ประเทศ ทาให้ส่งผลกระทบ
เปน็ วงกว้างต่อการดาเนินชวี ิต การทางาน กิจการสถานประกอบการ เชน่ การจากัดจานวนพนักงานท่ี
ปฏิบัติในพื้นที่ การเดินทาง เป็นต้น เพื่อเป็นการควบคุมการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19 จึงจาเป็นต้องมี
แนวทางการประเมินความเส่ียงของการแพรร่ ะบาดในสถานประกอบการตามหลกั การอาชวี อนามัย

เพื่อให้สถานประกอบการ สามารถดาเนินกิจการในสภาวะวิกฤตท่ียังคงอยู่ ประกอบกับสถาน
ประกอบการมีพนังงานที่เป็นแรงงานข้ามชาติ ซึ่งมีวิถีชีวิตที่แตกต่างจากแรงงานไทย จึงมีความ
จาเปน็ ต้องมีแนวทางการประเมินความเสี่ยงของการแพรร่ ะบาด สาหรบั สถานประกอบการท่ีมีแรงงาน
ข้ามชาติ โดยเน้นการประเมินความเสี่ยงตามหลักอาชีวอนามัย เพื่อให้สถานประกอบการสามารถ
ประกอบกิจการได้อย่างปลอดภัย

คณะผู้จดั ทา
กันยายน 2564

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ ีแรงงานข้ามชาติ



ผรู้ วบรวม เรยี บเรยี ง และวเิ คราะหข์ อ้ มลู

แพทย์หญิงศิรริ ตั น์ สุวรรณฤทธ์ิ นายแพทย์ชานาญการพเิ ศษ
นางสาวเดือนเพ็ญ บุญเปรม พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ
นางสาวณัฐกาญจน์ แก้วประดับ พยาบาลวชิ าชพี ปฏิบัติการ
นายสุรยิ า ไหมทอง นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ
นายชนะ ไกรกิจราษฎร์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
นางสาวธนัชญา มากพงษ์ นักวชิ าการอาชวี อนามัย
นางสาวญาน์นันกมล นภัสโพธศิ์ รี นักวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ปฏิบตั ิการ

บรรณาธกิ าร

แพทยห์ ญงิ ศิรริ ตั น์ สุวรรณฤทธิ์ นายแพทย์ชานาญการพิเศษ
นายชนะ ไกรกิจราษฎร์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ



สารบญั

คานา.............................................................................................................................................................................................. ก
ผู้รวบรวม เรยี บเรยี ง และวเิ คราะห์ขอ้ มูล ........................................................................................................................ ข
บรรณาธกิ าร................................................................................................................................................................................ ข
สารบญั .........................................................................................................................................................................................ค
บทที่ 1 บทนา ...................................................................................................................................................................... 1

1.1 ความเปน็ มาของการดาเนินงาน ...................................................................................................................... 1
บทที่ 2 แนวคิด หลักการการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาด โรคโควดิ 19 .................................................3

2.1 เหตุผลความจาเปน็ ต่อการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาด โรคโควดิ 19
ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย ..................................................................................... 3

บทท่ี 3 แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19 ในสถานประกอบการ
ตามหลกั การอาชวี อนามยั ............................................................................................................................................... 9

3.1 การเตรยี มการ .....................................................................................................................................................9
3.2 การเดินสารวจและประเมินความเส่ียง.....................................................................................................10
3.3 การสรุปผลและให้ขอ้ เสนอแนะ...................................................................................................................11
บทที่ 4 บทเรยี นและขอ้ เสนอแนะ...............................................................................................................................13
4.1 บทเรยี น................................................................................................................................................................ 13
4.2 ปจั จยั เงอ่ื นไขทมี่ ีผลต่อความสาเรจ็ ของการดาเนินงาน ..................................................................... 13
4.3 ข้อเสนอแนะสาหรบั สถานประกอบการทีป่ ระเมินความเสี่ยงด้วยตนเอง ...................................14
ภาคผนวก ..........................................................................................................................................................................15
ภาคผนวก ก แบบบันทกึ การเดินสารวจ และการประเมินความเส่ียงสถานประกอบการโครงการ
เฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน ควบคมุ โรคโควิด 19 สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ................................16
ภาคผนวก ข แบบสอบถามการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน ควบคุมโรคโควดิ 19
สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ............................................................................................................ 33
ภาคผนวก ค แบบสอบถามการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน ควบคุมโรคโควดิ 19
สาหรบั สถานประกอบการทมี่ ีแรงงานข้ามชาติ............................................................................................................44
เอกสารอ้างอิง................................................................................................................................................................. 58

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ

บทท่ี 1

บทนา

❖❖❖❖❖❖❖❖❖
1.1 ความเปน็ มาของการดาเนินงาน

จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโคโรนาไวรสั 2019 หรอื โรคโควิด 19 โดยพบผู้ป่วยติดเชอ้ื
ค รั้ง แ ร ก ใ น น ค ร อู่ ฮ่ั น เ มื อ ง ห ล ว ง ข อ ง ม ณ ฑ ล หู เ ป่ ห์ ป ร ะ เ ท ศ จี น ต้ั ง แ ต่ ต้ น เ ดื อ น ธัน ว า ค ม
พ.ศ.2562 1 องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดน้ีเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่าง
ประเทศ ในวันท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2563 และประกาศให้เปน็ การระบาดใหญ่ (pandemic) ในวันท่ี 11
มีนาคม พ.ศ.2563 2

ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ แ ร ก ที่ พ บ ผู้ ติ ด เ ช้ือ ยื น ยั น โ ร ค โ ค วิ ด 19 น อ ก ป ร ะ เ ท ศ จีน
เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 3 และพบผู้ป่วยติดเชอื้ จากการแพรเ่ ชอื้ ในประเทศไทยครง้ั แรกเมื่อ
วันท่ี 31 มกราคม พ.ศ. 2563 4 เรม่ิ พบการติดเชอื้ แบบเปน็ กลุ่มก้อน (cluster) โดยพบการระบาดใน
ผู้เท่ียวสถานบันเทิง สนามมวย ในชว่ งเดือนมีนาคม พ.ศ.2563 5 หลังจากนั้นเกิดการระบาดติดเชอื้
กระจายไปในหลายๆ จังหวัด จากการเดินทางของผู้ได้รบั เช้ือจากกรุงเทพมหานครเดินทางกลับ
ภูมิลาเนาต่างจังหวัด การระบาดของโรคโควิด19 ระลอกแรก ในช่วงเวลาเดือนมีนาคม - มิถุนายน
พ.ศ.2563 หลังจากนั้นสามารถควบคุมสถานการณ์การระบาดได้

ในขณะที่สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด19 ในประเทศเมียนมาซง่ึ เปน็ ประเทศเพ่ือนบ้าน
ท่ีมีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยมีช่องทางเข้าออกท้ังด่านตรวจคนเข้าเมืองที่ถูกต้องและชอ่ งทาง
ธรรมชาติทส่ี ามารถเดินทางเขา้ สู่ประเทศไทยได้หลายชอ่ งทางมีรายงานผู้ปว่ ยเพม่ิ มากข้นึ มาต้ังแต่เดือน
พฤษภาคมและสูงขึ้นอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่เดือนกันยายน 2563 โดยข้อมูล ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน
พ.ศ.2563 ประเทศเมียนมามีรายงานผู้ติดเชอ้ื กว่า 63,000 ราย และเสียชวี ิต 1,461 ราย ต่อมาพบการ
ระบาด วนั ท่ี 19 ธนั วาคม พ.ศ.2563 พบการระบาดคลัสเตอรใ์ หม่ในจงั หวดั สมุทรสาครเป็นแรงงานต่าง
ด้าวจากประเทศเมียนมาซงึ่ ทางานในตลาดกุ้ง มีผู้ติดเชอื้ กว่า 1,300 คนใน 27 จงั หวัด การระบาดใน
ระลอกนี้เรยี กว่า การระบาดระลอกใหม่ จากการระบาดในรอบน้ี พบการระบาดแบบเป็นกลุ่มก้อนใน
สถานประกอบการโดยส่วนหนง่ึ พบในแรงงานต่างด้าว

ต้นเดือนเมษายน พ.ศ.2564 เกิดการระบาดระลอก 3 ซงึ่ เปน็ การระบาดครง้ั ใหญ่และต่อเนื่อง
โดยเริ่มพบการระบาดคลัสเตอร์ใหญ่คร้ังแรกจากผู้เที่ยวสถานบันเทิงย่านทองหล่อ -เอกมัย
กรุงเทพมหานคร ต่อมาพบการระบาดแบบเป็นกลุ่มก้อนกระจายในเขตกรุงเทพมหานคร และ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ

2

ปรมิ ณฑลเป็นส่วนใหญ่ ซง่ึ พบการระบาดในชุมชน สถานประกอบการ ครอบครวั รวมทง้ั พบการระบาด
ในราชทณั ฑใ์ นพ้นื ท่ี 4 จงั หวัดชายแดนภาคใต้

การระบาดครงั้ น้ีพบการระบาดเป็นกลุ่มก้อนในสถานประกอบการ ตลาดและแคมปค์ นงาน ซงึ่
ส่วนหนึ่งของลูกจ้างเป็นแรงงานต่างด้าว การให้ความรู้เกี่ยวกับโรค อาการ การติดต่อ และ
การปอ้ งกันการติดเชอ้ื ในแรงงานต่างด้าว จงึ เปน็ ส่วนหนง่ึ ทจ่ี ะชว่ ยลดการแพรก่ ระจายการติดเชอื้ ซง่ึ ทา
ให้การควบคุมโรคเปน็ ไปได้งา่ ยขึน้

คู่มือเล่มนี้จงึ ได้จดั ทาเน้ือหาเกี่ยวกับการใชห้ ลักการอาชวี อนามัยเพื่อเป็นแนวทางการประเมิน
ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโควิด19 ในสถานประกอบการตามหลักการอาชีวอนามัย สาหรบั สถาน
ประกอบการทมี่ ีแรงงานขา้ มชาติ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี แี รงงานขา้ มชาติ

บทท่ี 2
แนวคดิ หลักการการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาด โรคโควดิ 19

❖❖❖❖❖❖❖❖❖
2.1 เหตผุ ลความจาเปน็ ต่อการประเมนิ ความเสย่ี งการแพรร่ ะบาด โรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลกั การอาชวี อนามยั

ในกรณีของงานอาชีวเวชศาสตร์ สิ่งแวดล้อมท่ีสนใจก็คือ “ส่ิงแวดล้อมในสถานท่ีทางาน”
และประชากรท่เี ราสนใจก็คือ “คนทางาน” ดังน้ันสถานประกอบการจงึ มีความจาเปน็ ท่ีต้องมีการประเมินความ
เส่ียงต่อการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 เพ่ือสามารถระบุความเส่ียงจากการแพรร่ ะบาดได้ถูกต้อง โดยใช้
ห ลั ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี่ ย ง ด้ า น อ า ชีว อ น า มั ย ม า ใ ช้ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ ส่ี ย ง โ ร ค โ ค วิ ด 1 9
การประเมินความเส่ียง (Risk Assessment) จะชว่ ยให้ผู้บรหิ าร หรอื นายจา้ งจดั ลาดับ กิจกรรมในการควบคุม
ตามความสาคัญ (วิกฤติ) และชว่ ยในการตัดสินใจว่า ความเสี่ยงใดที่สามารถยอมรบั ได้ และความเส่ียงใดที่
ต้องมีการควบคุม หรอื ขจัดออก และเป็นแนวทางในการจัดลาดับความสาคัญเรง่ ด่วนของความเส่ียง
เพื่อบรหิ ารจัดการความเสี่ยงให้ลดน้อยที่สุด โดยการประเมินความเส่ียง ต้องมีการทบทวนการเม่ือมี
การเปล่ียนแปลงกิจกรรม ภาระงาน และ/หรอื ลักษณะงาน และ/หรอื กระบวนการทางาน และ/หรอื
ขนั้ ตอนปฏิบัติ รวมถึงเปลย่ี นแปลงเครอ่ื งจกั ร อุปกรณ์ วสั ดุ และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน เกิดอุบัติการณ์
ทม่ี ีศักยภาพความสูญเสียสูง เกิดการเปลย่ี นแปลงกฎหมายหรอื ข้อกาหนดทเ่ี ก่ียวขอ้ ง พบข้อบกพรอ่ งจากการ
สังเกตการทางาน แนวทางการประเมินความเสี่ยงของการระบาดของโรคโควิด 19 โดยการประเมินความเสี่ยง
ตามหลกั การอาชวี อนามัยในสถานทท่ี างานประกอบด้วย 5 ข้นั ตอน ดังต่อไปนี้
ขนั้ ตอนท่ี 1 การแยกงานใหช้ ดั เจน

เป็นการแจกแจงงานทั้งหมด ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการทางาน เพ่ือให้ สามารถวิเคราะห์ความเส่ียง
ต่อการระบาดของโรคโควิด 19 ได้อย่างครอบคลุม ทั้งงานที่เกิดข้ึนในพื้นที่กระบวนการผลิต และนอกพ้ืนท่ี
กระบวนการผลิต เชน่ ส่วนคัดกรอง โรงอาหาร สถานทสี่ ูบบุหรี่ ห้องพักพนักงาน รถรบั -ส่งพนักงาน ห้องน้า
ห้องส้วม หอพัก ในส่วนของกระบวนการผลิต อาจนาเทคนิคของการวิเคราะห์งานด้านความปลอดภัย
( Job Safety Analysis: JSA ) มาใชใ้ นการแยกงานได้ ทงั้ น้ีวิธกี ารในการแยกงานนั้น เปน็ ไปตามแผนภาพดังนี้

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ

4

ขนั้ ตอนท่ี 2 การแยกขน้ั ตอนของงานนั้นๆ
ขั้นตอนนี้ ต้องนาเอางานท่ีแยกในขั้นตอนท่ี 1 มาแยกข้ันตอนของงานแต่ละงานให้ครบถ้วน เพื่อให้

สามารถวิเคราะห์ความเส่ียงต่อการระบาดของโรคโควิด 19 ได้อย่างครอบคลุมมากท่ีสุด วิธกี ารในการแยก
ขนั้ ตอนของงานน้ัน อาจเปน็ ไปตามแผนภาพด้านลา่ ง

งานที่ 1 งานที่ 2 งานท่ี 3

ข้ันตอนการ ขน้ั ตอนการ ขน้ั ตอนการ
ทางาน 1 ทางาน 1 ทางาน 1

ขน้ั ตอนการ ขนั้ ตอนการ ขั้นตอนการ
ทางาน 2 ทางาน 2 ทางาน 2

ขั้นตอนการ ข้ันตอนการ ขนั้ ตอนการ
ทางาน 3 ทางาน 3 ทางาน 3

ข้นั ตอนการ ขัน้ ตอนการ ขน้ั ตอนการ
ทางาน4 ทางาน4 ทางาน4

ขนั้ ตอนที่ 3 การประเมนิ ความเสี่ยงต่อการระบาด ของแต่ละขน้ั ตอนงาน

เป็นขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงต่อการระบาดโรคโควิด 19 ของแต่ละขั้นตอนงานท่ีแยกออกมา

อย่างละเอียดแล้ว โดยเกณฑ์การพิจารณาความเส่ียงต่อการติดโรคโควิด 19 นั้น ใช้ “สมการการประเมินความ

เสี่ยงต่อสุขภาพ Risk matrix ของคะแนนระหว่างโอกาสในการแพรเ่ ชอ้ื ในขณะปฏิบัติงาน และลกั ษณะงานมี

ค ว า ม เ ส่ี ย ง ใ น ร ะ ดั บ ใ ด ( สู ง ป า น ก ล า ง ต่ า ) โ ด ย ค ะ แ น น โ อ ก า ส แพ ร่ก ร ะ จ า ย เช้ือ พิ จ า ร ณา จ า ก

5 องค์ประกอบ ดังนี้

1.ความหนาแน่นของ จุดปฏิบัติงาน โดยพิจารณาดังนี้

1 คะแนน = ห่างกันมากกว่า 1 เมตร

2 คะแนน = ห่างกันน้อยกว่า 1 เมตรแต่ไม่เบยี ดเสียด

3 คะแนน = เบยี ดเสียดหรอื ห่างกันน้อยกว่า 30 เซนติเมตร

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ

5

2.ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการปฏิบัติงาน

1 คะแนน = น้อยกว่า 30 นาที

2 คะแนน = น้อยกว่า 30 นาท-ี 1 ชว่ั โมง

3 คะแนน = มากกว่า 1 ชว่ั โมง

3.ลักษณะการพดู คุยระหว่างปฏิบัติงาน

1 คะแนน = พดู ธรรมดา หรอื ไม่มีการพดู คยุ ระหว่างทางาน

2 คะแนน = มีการใชเ้ สียงดัง หรอื ต้องตะโกน เปน็ บางชว่ ง

3 คะแนน = มีการรอ้ งตะโกน เกือบตลอดเวลา

4.การระบายอากาศในบรเิ วณงานทท่ี า

1 คะแนน = ทางานในทโ่ี ล่ง ไม่มีเครอ่ื ง ปรบั อากาศ

2 คะแนน = สถานทป่ี ดิ ติดเครอื่ งปรบั อากาศ มีการระบาย อากาศเพยี งพอ

3 คะแนน = สถานทป่ี ดิ ติดเครอื่ งปรบั อากาศและ ไมม่ ีการระบาย อากาศ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ ีแรงงานข้ามชาติ

6

การคิดคะแนน โดยนาคะแนนแต่ละองค์ประกอบมารวมกัน เพื่อพิจารณาระดับความเส่ียง
ต่อโอกาสแพรเ่ ชอื้ ของโรคโควดิ 19 ตามคะแนนทไ่ี ด้ วา่ ขน้ั ตอนงานนั้นๆ มี ความเส่ียงระดับใด ดังน้ี

คะแนน ระดับความเส่ียง
4-5 ตา่
6-10
11-12 ปานกลาง
สูง

เม่ือประเมินความเส่ียงของแต่ละขั้นตอนงานแล้ว ผู้รบั ผิดชอบการดาเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน
คว บคุม โรคโ ควิ ด 1 9 ข อ งส ถา นที่ทา งา น ต้ อ งทา ตา ม ม า ตรกา รเพ่ือ ป้อ งกั น คว บคุม คว า ม เ สี่ ยง
ที่อาจเกิดข้ึนตามระดับความเสี่ยงท่ีพบ โดยข้ันต่าต้องดาเนินการตามมาตรการพื้นฐาน ในกรณีมีความเส่ียง
ปานกลาง และสูง ให้มีดาเนินการตามมาตรการพ้ืนฐาน และเพิ่มเติมมาตรการเฉพาะ ตามองค์ประกอบท่ี
ประเมินแล้วพบว่าเป็นปัญหาโดยการนามาตรการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตามหลักการ
“hierarchy of controls” มาใช้ สาหรบั การควบคมุ ส่ิงคุกคามทพ่ี บ ในสถานประกอบการนั้น มาตรการทด่ี ีทสี่ ุดใน
การควบคุมส่ิงคกุ คาม คือการนาสิ่งคกุ คามนั้นออกไป

ในกรณีของโรคโควิด 19 น้ัน เราไม่สามารถจดั ส่ิงคุกคามออกไปได้ จงึ ต้องใชว้ ิธกี ารลดการสัมผัสให้
ได้มากท่ีสุด โดยวิธีท่ีเหมาะสมท่ีสุดในการป้องกัน เรียงจากที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุดไปยังน้อยที่สุ ด
การเลือกใชว้ ิธีใดวิธหี นึ่ง มีข้อดี ข้อเสียท่ีต้องคานึงถึง ทั้งในด้านประสิทธิภาพและค่าใช้จ่าย ส่วนใหญ่จะใช้
มากกว่า 1 วธิ ี ไม่สามารถแยกวธิ ใี ดวิธหี นง่ึ ออกจากกันได้

หลกั การควบคมุ โรคโควดิ 19 ในสถานทท่ี างาน มดี ังน้ี

1. หลักการควบคุมทางวิศวกรรม ใช้หลักการทางวิศกรรมมาช่วย ในการออกแบบการทางาน
หรอื สภาพแวดลอ้ มการทางาน ให้สามารถควบคมุ หรอื ลดการสัมผัสกับสิ่งคกุ คาม โดยไม่ต้องอาศัยพฤติกรรม
ของพนักงาน และ เปน็ วิธที ี่มีประสิทธภิ าพมากที่สุดทส่ี ามารถทาได้ ในกรณีของโรคโควิด 19 ตัวอย่าง ของการ
ควบคมุ ทางวศิ วกรรมเชน่ การติดตั้งเครอื่ งกรองอากาศทม่ี ีประสิทธภิ าพสูงซงึ่ วธิ นี ้ีมีค่าใชจ้ า่ ยสูง การเพ่ิมอัตรา
การไหลเวียนอากาศในสภาพแวดล้อมการทางาน โดยการเปิดประตูหน้าต่าง การติดตั้งเครอ่ื งป้องกัน
ทางกายภาพเชน่ พลาสติกใสป้องกันละอองน้าลาย จากการพูดคุย ไอ จาม การติดต้ังหน้าต่างก้ันระหว่าง
การส่ือสารสาหรบั ศูนย์บรกิ ารลกู ค้า เปน็ ต้น

2. การควบคุมโดยการบรหิ ารจัดการ ต้องดาเนินการ โดยอาศัยความรว่ มมือของนายจ้างและลูกจ้าง
เพ่ือลดหรอื ทาให้สัมผัสส่ิงคุกคามน้อยท่ีสุด เช่น การปรบั เปล่ียนนโยบาย โดยต้องกาหนดให้เจ้าหน้าที่

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

7

พนักงานทุกคน ต้องปฏิบัติอย่างเครง่ ครดั เช่น บุคคลภายนอกท่ีเข้ามา ต้องสวมหน้ากากอนามัยหรอื
หน้ากากผ้า 100% ตลอดเวลา และใชห้ น้ากากอนามัยอย่างถูกต้อง ห้ามคนไม่สวมหน้ากากเข้ามาในสถาน
ประกอบการ มีการตรวจวัดอุณหภูมิรา่ งกาย สอบถามประวตั ิเสี่ยง ประวัติการเดินทางในชว่ ง 14 วัน ทผ่ี ่านมา

ณ จุดคัดกรองการทางาน นอกจากนี้ยังต้องเพิ่มกระบวนการ สนับสนุนให้พนักงานที่ป่วยพักรกั ษา
อาการที่บ้าน ลดการสัมผัสระหว่างพนักงานและลูกค้า แบบเผชิญหน้า (face to face) หรอื การทางาน
ผ่านทางไกล (telecommunication) หากเป็นไปได้ งดการเดินทางไปในที่ๆ ไม่จาเป็นในระหว่างชว่ งการ
ระบาดของโรคโควิด 19 มีการพัฒนาแผนสื่อสารฉุกเฉิน รวมถึงการเตรยี มตัวสาหรบั การตอบข้อกังวล
และการส่ือสาร การให้ความรู้เรื่องปัจจัยเส่ียงและการป้องกัน โรคโควิด 19 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เรอื่ งมาตรการ Social Distancing รวมทั้งพิจารณาความเหมาะสมของงาน การลดระยะเวลา ความถ่ี
ของการสัมผัสสิ่งคกุ คาม เชน่ การจดั ให้มีทรพั ยากรและสภาพแวดล้อมการทางานทสี่ นับสนนุ ให้เกิดสุขอนามัย
ส่วนบุคคลท่ีดี โดยจัดให้มี อุปกรณ์ทาความสะอาดเฉพาะบุคคล และสิ่งแวดล้อมที่พอเพียง เช่น ถังขยะ
ท่ี ไ ม่ ต้ อ ง สั ม ผั ส ส บู่ เ ห ล ว ล้ า ง มื อ แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ล้ า ง มื อ ที่ ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย 7 0 % แ อ ล ก อ ฮ อ ล์
น้า ย า ทา ความสะอาดท่ัวไป รวมท้ังพิจารณาปรับรูปแบบการทางาน เช่น มีการจัดให้ ทางานท่ีบ้าน
(Work from home) กรณีที่งานน้ันสามารถทาที่บ้านได้ มีการจดั การประชุมทางโทรศัพท์หรอื อินเตอร์เน็ต
แทนการจดั ประชุมทพ่ี นักงานต้องมารวมตัว รวมทัง้ การจดั แบ่งการใชพ้ ้ืนท่สี ่วนกลางอย่างเหมาะสม เพิ่มความถี่
ในการทาความสะอาดเครอื่ งปรบั อากาศ อย่างน้อย 2 เดือนต่อครง้ั มอบหมายฝ่ายบุคคลหรอื มีพนักงาน
ติดตามการป่วยและขาดงาน หากพบการป่วยด้วยอาการทางเดินหายใจ ต้ังแต่ 5 คนให้แจ้งเจ้าหน้าที่
สาธารณสุข เม่ือมีอาการป่วยให้หยุดงาน หากมีประวัติหรอื สงสัยว่าจะติดเชอื้ ให้พบแพทย์ ให้ผู้ปฏิบัติงานใช้
โปรแกรมหมอชนะ และไทยชนะทุกคน เน้นย้ามาตรการป้องกันส่วนบุคคลได้แก่ มาตรการ D-M-H-T-T-A
คือ D : Distancing เว้นระยะห่าง อย่างน้อย 1-2 เมตร M : Mask wearing สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา
H : Hand washing ล้างมือบ่อย ๆ T : Temperature ตรวจวัดอุณหภูมิ T : Testing ตรวจเชอ้ื โรคโควิด 19
เมื่อมีข้อสงสัย และ A : Application Thaichana ใชแ้ อปพลิเคชนั ไทยชนะ/หมอชนะ และสามารถเข้าไป
ประเมินตนเองได้ผ่านแอปพลเิ คชนั ต่าง ๆ ว่ามีความเสี่ยงทจี่ ะแพรเ่ ชอื้ หรอื ไม่ เปน็ การปกปอ้ งคนในครอบครวั
และเพ่ือนในที่ทางานไม่ให้เป็นโรคโควิด 19 และหากมีการระบาดของโรคโควิด 19 มีความชุกการติดเชือ้
ประมาณ 10% ข้ึนไป ต้องมีการดาเนินมาตรการ Bubble and seal เพื่อปอ้ งกันการแพรเ่ ชอื้ ระหว่างกลุ่มคน
ในกลุ่มก้อนระบาด กับชุมชนรอบนอก ป้องกันการเสียชวี ิตและลดผลกระทบทางเศรษฐกิจสังคมจากการหยุด
กิจการ

3. การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคล จาเป็นสาหรับการป้องกันการสัมผัสสารคัดหล่ัง
โดยการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลอย่างถูกวิธี จะสามารถป้องกันการสัมผัสสารคัดหล่ังของผู้มีเชื้อ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

8

โรคโควิด 19 ได้ แต่ไม่ควรใช้แทนวิธีอ่ืนๆ ที่กล่าวมาในข้างต้น ตัวอย่างของอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
ส่วนบุคลที่สาคัญสาหรบั โรคโควิด 19 เช่น หน้ากากอนามัย ถุงมือ แว่น อุปกรณ์ป้องกันส่วนใบหน้า
และอุปกรณ์ปกปดิ รา่ งกาย เมื่อมีการระบาดของเชน่ โรคโควิด 19 แนะนาให้ใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายส่วน
บุคคล ให้เหมาะสมกับลักษณะการทางาน เหมาะสมกับสิ่งคุกคาม รวมท้งั มีการตรวจสอบความเหมาะสมของ
อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคลเป็นระยะ ๆ สวมใส่อุปกรณ์ด้วยความถูกต้องและใช้อย่างสม่าเสมอ
ตรวจสอบ ซอ่ มแซมอุปกรณ์และเปลี่ยนใหม่เมื่อจาเป็น ทาความสะอาด จัดเก็บและท้ิงอย่างเหมาะสมเพ่ือ
ลดการปนเป้ ือนต่อตนเอง และสภาพแวดล้อม โดยนายจา้ งมีหน้าที่จดั หาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่จาเป็นให้
พนักงานทป่ี ฏิบัติงาน รวมทง้ั ระบบการทงิ้ และทาลายขยะอย่าถกู วธิ ี

จะเห็นได้ว่า สถานประกอบการเปน็ เป้าหมายของการติดเชอ้ื เน่ืองจากเปน็ สถานที่ ทีม่ ีปัจจยั เส่ียงต่อ
การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 สูง ดังกล่าวข้างต้น ในขณะเดียวกันที่เชอื้ โรคโควิด 19 ที่ระบาดในขณะนี้
มีการกลายพันธ์ ทาให้อัตราการแพรก่ ระจายเช้ือโรคเรว็ ข้ึน ความรุนแรงของโรคถึงข้ันเสียชวี ิตเพ่ิมสูงข้ึน
สาคัญทสี่ ุดทส่ี ถานประกอบการ มีมาตรการณ์การปอ้ งกันการแพรก่ ระจายโรคโควิด 19 อย่างเขม้ ขน้ รวมทง้ั การ
รกั ษาสุขอนามัยพน้ื ฐานของสถานประกอบการมีความสาคัญกว่าการตรวจคัดกรอง

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี แี รงงานข้ามชาติ

บทท่ี 3

แนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลกั การอาชวี อนามยั

❖❖❖❖❖❖❖❖❖
3.1 การเตรยี มการ

3.1.1 ขอ้ มูล /เครอื่ งมือ/อุปกรณ์
1) ขอ้ มูล

ข้อมูลท่ีใช้ในการประกอบการประเมินความเส่ียงในสถานประกอบการ ได้แก่
ชอื่ สถานประกอบการ ท่ีอยู่ จานวนลูกจา้ ง ข้อมูลสวัสดิการ ข้อมูลการจดั บรกิ ารสุขภาพอนามัย ข้อมูล
การบรกิ ารจดั การด้านอาชวี อนามัยและความปลอดภัย กระบวนการและข้ันตอนการผลิตตามลักษณะ
งาน ข้อมูลสิ่งคุกคามที่พนักงานสถานประกอบการสัมผัส (ด้านกายภาพ ด้านชวี ภาพ/คุณภาพอากาศ
ด้านเคมี ด้านการยศาสตร์ ด้านอุบัติเหตุ และด้านจิต-สังคม) โดยเน้น ด้านกายภาพ ชวี ภาพ/คุณภาพ
อากาศเปน็ หลัก

2) เครอื่ งมือ
เครอื่ งมือท่ีใช้ในการประกอบการประเมินความเส่ียงในสถานประกอบการท่ีมีคว าม

เหมาะสมท่ีสุดควรเป็นแบบสารวจ (check-list) ท่ีมีเน้ือหาครอบคลุมตามปัจจัยที่สาคัญของการแพร่
ระบาดโรคโควิด 19 ทมี ผู้สารวจจงึ ได้มีการนาค่มู ือแบบสารวจต่างๆ ได้แก่

2.1) แนวทางการประเมินความเสี่ยงของการระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานทท่ี างาน
2.2) ค่มู ือการจดั การโรคโควดิ 19 สาหรบั สถานประกอบการ
2.3) แบบประเมินสถานประกอบการมาตรฐานความสะอาดปลอดภัย ปอ้ งกันโรคโรคโควิด
19 รองรบั สุขภาพดีวถิ ีใหม่
มาประยุกต์เขา้ ด้วยกันและจดั ทาเปน็ “แบบบันทกึ การเดินสารวจ และการประเมินความ
เสี่ยงสถานประกอบการ และแบบสอบถามการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคโควิด 19 สาหรบั สถาน
ประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ” โดยสอบถามเปน็ รายบุคคลประกอบด้วย 2 ส่วน
(1) ผู้บรหิ าร
(2) พนักงานแรงงานขา้ งชาติทปี่ ฏิบัติงาน (ตัวแทนแรงงาน)
(3) อุปกรณ์

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ

10

เครอ่ื งมือตรวจวัดทางสุขศาสตรอ์ ุตสาหกรรมเบ้ืองต้น เชน่ เครอ่ื งวัดความเข้มแสง
เครอื่ งวดั ระดับเสียง เครอื่ งมือวดั ระดับความรอ้ น เครอื่ งวัดการไหลเวียนของอากาศ

3.1.2 ความรูท้ จี่ าเป็นต้องมี
ความรูท้ ่ีจาเป็นในการประเมินความเสี่ยงในสถานประกอบการ ได้แก่ การเดินสารวจสถาน
ประกอบการเพ่ือดูกระบวนการทางาน สภาพแวดล้อม ค้นหาส่ิงคุกคาม (Walk Through Survey)
เครื่องมือตรวจวัดทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรมเคร่ืองมือด้านอาชีวเวชศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับ
พระราชบัญญตั ิความปลอดภัยอาชวี อนามัยและสถาพแวดลอ้ มในการทางาน ปพี .ศ. 2554
3.1.3 บุคลากร
บุคลากรที่เก่ียวข้องกับการประเมินความเส่ียงการระบาดโรคโควิด 19 ในสถานประกอบการ
ได้แก่
1) เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทางาน (จป.) ของสถานประกอบการ
2) เจา้ หน้าทด่ี ้านการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล
3) แพทย์อาชวี เวชศาสตร์
4) พยาบาลอาชวี อนามัย
5) นักวชิ าการสาธารณสุข
3.1.4 สถานที่
สถานประกอบการทม่ี ีความเสี่ยงการระบาดโรคโควดิ 19

3.2 การเดินสารวจและประเมนิ ความเสยี่ ง

3.2.1 การแบ่งงานสารวจความเสี่ยง
การแบ่งงานสารวจความเส่ียง แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของการเดินสารวจสถาน
ประกอบการเพ่ือค้นหาสิ่งคุกคาม (Walk Through Survey) และ ส่วนการสารวจจากการสอบถาม/
สัมภาษณ์ผู้ทเี่ กี่ยวข้อง เชน่ ผู้บรหิ าร หัวหน้างาน เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทางาน (จป.)/เจา้ หน้าท่ี
ด้านการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล และพนักงานทป่ี ฏิบตั ิงานในสถานประกอบการ
3.2.2 การบันทกึ ข้อมูล
การบันทึกข้อมูลผ่านแบบบันทึกการเดินสารวจและการประเมินความเสี่ยงสถานประกอบการ
และแบบสารวจการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคโควิด 19 สาหรบั สถานประกอบการท่ีมีแรงงาน
ข้ามชาติ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ

11

3.2.3 จุดตรวจสอบ/จุดสงั เกตความเส่ียงต่อการระบาดโรคโควดิ 19
1) บรเิ วณพื้นทสี่ าธารณะ ทม่ี ีการใชพ้ ื้นทร่ี ว่ มกัน เชน่ โรงอาหาร ห้องนา้ จุดบรกิ ารนา้ ดื่ม จุดลา้ งมือ
จุดทพี่ ักพนักงาน จุดรบั ส่งพนักงาน ซงึ่ อาจพบการใชส้ ่ิงของรว่ มกัน และเสี่ยงต่อการระบาดโรคโควิด 19
2) จุดสัมผัสบ่อย เช่น ลูกบิด/ที่จับประตู อุปกรณ์ของใช้ในสานักงาน โทรศัพท์ ราวบันไดที่
สแกนนิ้ว/บตั ร
บรเิ วณพ้ืนท่ีสาธารณะ จุดสัมผัสต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น และจุดปฏิบัติงาน ควรมีการดูความ
หนาแน่นของพนักงานต่อขนาดของพื้นท่ี ระยะเวลาท่ีใช้ การพูดคุยระหว่างปฏิบัติงาน และระบบการ
ระบายอากาศ เพื่อประเมินโอกาสการแพรก่ ระจายเชอื้ โรคโควดิ 19

3.3 การสรปุ ผลและใหข้ อ้ เสนอแนะ

3.3.1 การประชมุ ทมี สารวจความเส่ียง
การประชุมทมี สารวจความเสี่ยง เพื่อค้นหาความเสี่ยงของสถานประกอบการนั้น ว่ามีส่ิงคุกคาม
ทางด้านใดบ้าง ทเี่ สี่ยงต่อการแพรร่ ะบาดของโรคโรคโควิด 19
3.3.2 สรปุ ความเส่ียง
สรปุ ระดับความเส่ียงต่อการระบาดของโรคโควิด 19 ตามแผนก / ลกั ษณะงาน โดยแบ่งเปน็ เสี่ยง
น้อย เสี่ยงปานกลาง เสี่ยงสูง
3.3.3 การจดั ทาขอ้ เสนอแนะต่อผบู้ รหิ ารสถานประกอบการ
เพื่อเป็นการคืนข้อมูลในการเดินสารวจความเส่ียงและให้ข้อเสนอแนะกับสถานประกอบการ
ในการเฝ้าระวังโรคโควิด 19 ท่ีทางสถานประกอบการสามารถดาเนินการแก้ไขได้เองเบ้ืองต้น โดยยังไม่
อาศัยความชว่ ยเหลอื จากองค์กรภายนอก เชน่
1) การทาความสะอาดพ้นื ทเ่ี ส่ียงทม่ี ีการสัมผัสบ่อยครงั้
2) การเวน้ ระยะห่าง
3) การแยกอุปกรณ์ของใชส้ ่วนตัวของพนักงาน
4) การไม่รบั ประทานอาหารรว่ มกัน และกาหนดที่นงั่ ให้ชดั เจน
5) การบรหิ ารจัดการคัดกรองก่อนเข้าทางาน และซกั ประวัติพนักงานท่ีเดินทางไปพ้ืนที่เส่ีย ง
ตามมาตรการของกรมควบคมุ โรค
6) เพิม่ จุดบรกิ ารเจลแอลกอฮอล์ในส่วนการผลติ และจุดลา้ งมือ
7) การบรหิ ารจดั การในส่วนการผลิตจดั ทศิ ทางพัดลมให้เหมาะสม ตามหลักการระบายอากาศ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

12

8) ให้ความรู้การป้องกันโรคโควิด 19 กับผู้บรหิ าร และหัวหน้างานในจัดทาสื่อให้ความรู้
(สื่อ 3 ภาษา) เพ่ือให้แรงงานข้ามชาติเขา้ ใจมากขน้ึ

9) มีการวธิ กี ารทง้ิ และคัดแยกขยะติดเชอื้ ทถี่ กู ต้อง

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ

บทที่ 4
บทเรยี นและขอ้ เสนอแนะ

❖❖❖❖❖❖❖❖❖
4.1 บทเรยี น

4.1.1 การเตรยี มการ
ทางทีมสารวจควรมีการประสานกับสถานประกอบการล่วงหน้า เพ่ือขอรบั ทราบข้อมูลเก่ียวกับ
สถานประกอบการเบอื้ งต้นเชน่ ชอื่ สถานประกอบการ ทอ่ี ยู่ จานวนลกู จา้ ง ขอ้ มูลสวัสดิการ กระบวนการ
และข้ันตอนการผลิตตามลักษณะงาน เพ่ือใช้ประกอบการเดินสารวจสถานประกอบการเพื่อค้นหาส่ิง
คุกคาม (Walk Through Survey)
4.1.2 การเดินสารวจและประเมินความเสี่ยง
ทางทมี สารวจควรมีการแบ่งทมี การสารวจอยา่ งน้อย 2 – 3 ทมี เพื่อลดระยะเวลาการเดินสารวจ
ในหน้างานกระบวนการผลิต และลดการรบกวนการทางานของผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งเกิดประสิทธภิ าพ
ของการบันทกึ ข้อมูลได้อย่างครอบคุมทุกกระบวนการผลิต โดยทมี สัมภาษณ์ผู้บรหิ ารและผู้ปฏิบัติงาน
(ตัวแทนแรงงาน) ตามแบบสอบถามการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคโควิด 19 สาหรับสถาน
ประกอบการที่มีแรงงานข้ามชาติควรมีการเดินสารวจส่ิงแวดล้อม สาหรบั ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
รว่ มกับขอ้ มูลจากแบบสัมภาษณ์ เพ่อื ให้ได้ขอ้ มูลทถ่ี ูกต้องตามความเปน็ จรงิ
4.1.3 การสรปุ ผลและให้ขอ้ เสนอแนะ
ทาให้สถานประกอบการทราบข้อมูลความเส่ียงของตนเอง และเกิดการแลกเปล่ียนข้อมูล
รวมท้ัง ให้ความรูเ้ ก่ียวกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคโควิด 19 สาหรบั สถานประกอบการที่มี
แรงงานข้ามชาติระหว่างทีมสารวจกับทมี ของสถานประกอบการ นอกจากน้ียังมีการหาแนวทางในการแก้ไข
ปญั หา และให้ข้อเสนอแนะกับทางสถานประกอบการเพื่อให้สามารถดาเนินการตามมาตรการการป้องกัน
การแพรร่ ะบาดของโรคโรคโควิด 19

4.2 ปจั จยั เงอื่ นไขทมี่ ผี ลต่อความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน

4.2.1 ความรว่ มมือของสถานประกอบการ ตั้งแต่ระดับผู้บรหิ าร หัวหน้างาน เจ้าหน้าท่ีความ
ปลอดภัยในการทางาน (จป.) เจา้ หน้าทด่ี ้านการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล และพนักงานที่ปฏิบัติงานในสถาน
ประกอบการ เพือ่ การเฝ้าระวัง ควบคมุ ปอ้ งกันโรคโควดิ 19

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ ีแรงงานข้ามชาติ

14

4.2.2 การดาเนินงานในการเฝ้าระวัง ควบคุมปอ้ งกันโรคโควิด 19 และติดตามสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรค เพื่อปรบั แผนการดาเนินงานให้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ในปจั จุบนั

4.2.3 สถานประกอบการมีการรว่ มมือกับเครอื ข่าย/หน่วยงานสาธารณสุขเพ่ือรว่ มประเมินความ
เส่ียงของการแพรร่ ะบาด และทราบแนวทางการปอ้ งกัน/แก้ไขทถ่ี กู ต้อง

4.3 ขอ้ เสนอแนะสาหรบั สถานประกอบการทป่ี ระเมนิ ความเสี่ยงด้วยตนเอง

ควรมีการศึกษาแบบบันทึกการเดินสารวจ การประเมินความเสี่ยงสถานประกอบการ และ
แบบสอบถามการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคโควิด 19 สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ
ให้เขา้ ใจก่อนการประเมิน เพือ่ ให้ได้ข้อมูลทถี่ กู ต้องครบถ้วน และสามารถนาขอ้ มูลดังกลา่ วมาดาเนินการ
เฝ้าระวัง ปอ้ งกัน ควบคุมโรคโควดิ 19 ในสถานประกอบการได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ ีแรงงานข้ามชาติ

ภาคผนวก

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ ีแรงงานข้ามชาติ

ภาคผนวก ก

แบบบนั ทกึ การเดนิ สารวจ และการประเมนิ ความเสย่ี งสถานประกอบการโครงการเฝา้
ระวงั ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคโควดิ 19 สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ ีแรงงานข้ามชาติ

17

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ

18

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

19

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

ในสถ

20

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ

ในสถ

21

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ

ในสถ

22

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ

23

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

24

ตัวอยา่ งการบันทกึ แบบบนั ทกึ การเดินสารวจ และการประเมินความเส่ียงสถานประกอบการ โครงการ

เฝา้ ระวัง ปอ้ งกัน ควบคมุ โรคโควดิ 19 สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานข้ามชาติ

25

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

26

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

10. ขอ้ มูลส่ิงคุกคาม

ผปู้ ฏิบตั ิงาน / พ้นื ที่

ที่ ขน้ั ตอน/ลกั ษณะ จานวน ระยะเวลา ขนาด ลักษณะ
งาน พนักงาน การทางาน/ พืน้ ท่ี การ
แสงส ่วาง
ความถี่ พูดคุย เ ีสยง ัดง

1 บดผสม 11 คน 6วนั / ห่างกัน พดู คุย
(Mixing) (เมยี นมา สัปดาห์ มากกวา่ ธรรมดา
- งานบด ทงั้ หมด) 2กะ/วัน 1 เมตร หรอื ไม่มี
- งานผสม 8 ชม. /กะ การพดู คยุ

OT 4 ชม. /กะ

2 ทาแม่พิมพ์ 11 6 วนั / ห่างกัน พูดคยุ /
(Mold design) (ไทย สัปดาห์ มากกวา่ ธรรมดา
ทัง้ หมด) 1 กะ/วนั 1 เมตร หรอื ไม่มี
8 ชม. /กะ การพูดคุย

OT 4 ชม./กะ

ในสถ

27

กายภาพ สิง่ คุกคาม
มาตรการควบคมุ ชวี ภาพ / คณุ ภาพอากาศ

ความร้อน มาตรการควบคมุ
มีความรู้ ึสกแอ ัอด ึอด ัอด
PPE อากาศร้อนหรือเย็นเ ิกนไปวศิ วกรรม PPE วศิ วกรรม/
ระบบระบายอากาศไม่ ีด/บรหิ าร บรหิ าร

มี ่ฝุน
มีก ิ่ลนฉุนของสารเคมี

ัอบ ึทบ ช้ืน
พบเช้ือราตาม ื้พน ิผว

ใชพ้ ดั ลม / หน้ากาก - มกี ารเปิด
ติดผนัง // อนามยั / หน้าต่าง
หน้ากากผ้า ระบาย
/ ใชพ้ ัดลม
ติดผนัง อากาศ
- มาตรการ
เวน้
ระยะห่าง
- มีการคัด
กรอง
พนักงาน
ก่อนเข้า
ทางาน
หน้ากาก - มาตรการ
อนามยั / เว้นระยะห่าง
หน้ากากผ้า - ใชส้ ารเคมี
ในเครอ่ื งจกั ร

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานข้ามชาติ

ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน / พนื้ ที่

ที่ ขน้ั ตอน/ลกั ษณะ จานวน ระยะเวลา ขนาด ลกั ษณะ
งาน พนักงาน การทางาน/ พ้ืนท่ี การ
แสงส ่วาง
ความถ่ี พูดคยุ เ ีสยง ัดง

3 ฉีดขนึ้ รปู /
/
(Injection /

molding)

4 - ควบคุมเครอื่ งจกั ร ประมาณ 6 วัน/ นั่งห่างกัน พดู คุย
- ตรวจสอบคุณภาพ 60 คน สัปดาห์ น้อยกวา่ ธรรมดา
(ไทย 20% 2 กะ/วัน 8 1 เมตร หรอื ไมม่ ี
- บรรจุลงกลอ่ ง เมยี นมา ชม./กะ การพูดคุย
เป่าขนึ้ รูป 80%) OT 4 ชม./กะ แต่ไม่
(Blow molding)
เบียดเสียด
- ควบคุมเครอ่ื งจกั ร

- ตัดเศษ/

ตรวจสอบคณุ ภาพ

- บรรจุลงกลอ่ ง

5 ชรงิ้ ค์ ฟิลม์ 3 – 4 คน 6 วัน/สัปดาห์ น่ังห่างกัน พูดคุย

(Shrink) ขนึ้ กับ 2 กะ/วัน น้อยกว่า ธรรมดา

- นาฉลากสินคา้ ปรมิ าณงาน 8 ชม./กะ 1 เมตร หรอื ไมม่ ี
ห่อบรรจุภัณฑ์ OT 4 ชม./กะ แต่ไม่ การพูดคุย
และนาเข้า (เมียนมา
ทั้งหมด) เบยี ดเสียด

เครอื่ งอบความรอ้ น

- ใชค้ วามรอ้ นเป่า

ฟิลม์ ส่วนขอบ

- บรรจุลงกลอ่ ง

ในสถ

28

กายภาพ สิ่งคุกคาม
มาตรการควบคุม ชวี ภาพ / คณุ ภาพอากาศ

ความร้อน มาตรการควบคมุ
มีความรู้ ึสกแอ ัอด ึอด ัอด
อากาศร้อนหรือเย็นเ ิกนไปPPEวศิ วกรรม PPE วิศวกรรม/
ระบบระบายอากาศไม่ ีด/บรหิ าร บรหิ าร

มี ่ฝุน
มีก ิ่ลนฉุนของสารเคมี

ัอบทึบ ช้ืน
พบเช้ือราตาม ื้พน ิผว

/ Ear ใชพ้ ัดลม / หน้ากาก - มาตรการ
plug ตั้งโต๊ะ // อนามัย/ เว้นระยะห่าง
// หน้ากาก - คดั กรอง
ผา้ พนักงานก่อน
เขา้ ทางาน

/ Ear ใชพ้ ัดลม หน้ากาก - แอลกอฮอล์
plug ต้ังโต๊ะ อนามยั / สาหรบั ล้างมอื
หน้ากากผา้ - มกี ารคัดกรอง

พนักงานก่อน
เข้าทางาน

/ - Ear ใชพ้ ัดลม หน้ากาก - คดั กรอง
plug อนามัย/ พนักงาน
- ถงุ หน้ากากผ้า ก่อนเขา้
มอื ผา้
ทางาน

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี แี รงงานขา้ มชาติ

ที่ ขนั้ ตอน/ลกั ษณะงาน เคมี
มาตรการควบคุม
ชอื่ สารเคมี
PPE วิศวกรรม&บรหิ าร

1 บดผสม หน้ากาก - ใชพ้ ัดลมดูด

(Mixing) อนามยั / อากาศเฉพาะจุด

- งานบด หน้ากากผา้ - เปิดหน้าต่าง

- งานผสม ระบายอากาศ

2 ทาแมพ่ ิมพ์ 1. จารบี หน้ากาก ใชส้ ารเคมีใน

(Molding design) 2. ทนิ เนอร์ อนามัย/ เครอื่ งจกั รระบบปิด

3. สี (ห้องแอร)์ หน้ากากผ้า

4. นา้ มัน

5. น้ายาหล่อเยน็

3 ฉดี ข้นึ รปู 1. ผงพลาสติก หน้ากาก ใชส้ ารเคมีใน

(Injection molding) 2. กาว อนามัย/ เครอื่ งจกั รระบบปิด

- ควบคุมเครอื่ งจกั ร 3. ไอระเหยจาก หน้ากากผ้า

การหลอมเหลว

พลาสติกบรเิ วณ

หัวฉีดอยนู่ อก

เครอ่ื งจกั ร

4 เป่าขน้ึ รปู (Blow 1. ผงพลาสติก หน้ากาก ใชส้ ารเคมใี น
เครอ่ื งจกั รระบบปิด
molding) 2. กาว อนามยั /

- ควบคมุ เครอ่ื งจกั ร 3. ไอระเหยจาก หน้ากากผา้

- ตัดเศษ การหลอม

- บรรจุลงกล่อง พลาสติก

ในสถ

29

ส่งิ คุกคาม

อ่ืน ๆ

การยศาสตร์ มาตรการควบคมุ
ุอบั ิตเห ุต
จิต- ัสงคม PPE วศิ วกรรม&บรหิ าร
- แวน่ ตานิรภัย
มกี ารก้มยก - อัคคภี ัย - หมวกคลมุ ศีรษะ - ใชอ้ ปุ กรณท์ ุ่นแรง
ของ และ - เศษพลาสติก - ผ้ากันเป้ ือน (รถเข็น)
เอ้อื มตัว กระเด็นเข้าตา - มีถังดับเพลงิ /
รองเทา้ Safety สัญญาณแจง้ เหตุ

- การทางานกับ
เครอ่ื งกลงึ /
เครอื่ งจกั ร
- ของหลน่ ทบั เทา้

- น่งั ทางาน การทางานกับ - จดั เวลาพกั ยดื
นาน โดยเก้าอี้ เครอื่ งจกั ร เหยยี ด ปรบั
ไมเ่ หมาะสม เปล่ยี นอริ ยิ าบถ
- ทางานด้วย -ปิดครอบเครอื่ ง
ทา่ ทาง จกั รในจุดทีเ่ ป็น
ซา้ ๆ ทาให้ อนั ตราย
ปวดขอ้ มอื

- นง่ั ทางาน - การทางานกับ - จดั เวลาพกั ยดื
นาน โดยเก้าอ้ี เครอื่ งจกั ร เหยยี ด ปรบั
ไม่เหมาะสม - การใชม้ ดี ในการ เปลีย่ นอริ ยิ าบถ
- ทางานด้วย ตัดเศษพลาสติก
ทา่ ทาง ซ้า ๆ - ลื่นจากนา้ ที่
ทาให้ปวด ระบายออกจาก
ขอ้ มือ เครอ่ื งจกั ร

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานข้ามชาติ

ที่ ขนั้ ตอน/ลกั ษณะงาน เคมี
มาตรการควบคุม
ชอื่ สารเคมี
PPE วิศวกรรม&บรหิ าร

5 ชรง้ิ ค์ ฟิล์ม (Shrink) ไอระเหยจากฟิล์ม หน้ากาก

- นาฉลากสินค้าห่อ ทีผ่ ่านความรอ้ น อนามยั /

บรรจุภัณฑ์ และนาเขา้ หน้ากากผา้

เครอ่ื งอบความรอ้ น

- ใชค้ วามรอ้ นเป่า

ฟิล์มส่วนขอบ

- บรรจุลงกล่อง

ในสถ

30

สง่ิ คกุ คาม อน่ื ๆ

-น่งั ทางานนานการยศาสตร์ มาตรการควบคุม
โดยเก้าอีไ้ ม่ ุอบั ิตเห ุต
เหมาะสม จิต- ัสงคม PPE วิศวกรรม&บรหิ าร
- ทางานด้วย จดั เวลาพัก ยดื เหยียด
ท่าทาง ปรบั เปล่ียนอิรยิ าบถ
ซา้ ๆ ทาให้
ปวดข้อมือ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานข้ามชาติ

11. ประเมินระดับความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคโควิด 19 แต่ละลกั ษณ



ความหนาแน่นจุดปฏิบตั ิงาน (A) ระยะเวลาทใ่ี ช้ (

1 = ห่างกันมากกว่า 1 เมตร 1 = น้อยกว่า 30

2 = ห่างกันน้อยกวา่ 1 เมตร 2 = 30 นาที - 1

ที่ ขน้ั ตอน/ลักษณะงาน แต่ไมเ่ บยี ดเสียด 3 = มากกวา่ 1 ช
3 = เบียดเสียด หรอื ห่างกัน

น้อยกวา่ 30 ซม.

1 บดผสม (Mixing) 2 3
1 1
2 2.1 ทาแมพ่ มิ พ์ 1 3
1 3
(Mold design) (ใน) 2 3
2 3
2.2 ทาแม่พมิ พ์

(Mold design) (นอก)

3 ฉีดข้ึนรูป
(Injection molding)

4 เป่าขน้ึ รูป (Blow molding)

5 ชรง้ิ ค์ ฟิล์ม(Shrink)

ในสถ

31

ณะงาน

คะแนนโอกาสแพรเ่ ชอ้ื ระดบั ความเสย่ี ง
= (A)+(B)+(C)+(D)
(B) การพูดคุยระหวา่ งปฏิบตั ิงาน (C) การระบายอากาศ (D) 4 - 5 คะแนน ต่า
6 - 10 คะแนน ปานกลาง
นาที 1 = พูดธรรมดา หรอื ไม่มี 1 = ทางานในทโ่ี ล่ง ไม่ 11 - 12 คะแนน สูง

ชม. การพูดคยุ เครอื่ งปรบั อากาศ 7 = ปานกลาง
6 = ปานกลาง
ชม. 2 = มกี ารใชเ้ สียงดังหรอื 2 = สถานท่ีปิด ติด

ต้องตะโกนเป็นบางชว่ ง เครอ่ื งปรบั อากาศ

3 = มีการรอ้ งตะโกนเกือบ มกี ารระบายอากาศ

ตลอดเวลา เพียงพอ

3 = สถานท่ีปิด ติด

เครอ่ื งปรบั อากาศ

ไมม่ กี ารระบายอากาศ

11

13

1 1 6 = ปานกลาง

1 1 6 = ปานกลาง
1 1 7 = ปานกลาง
1 1 7 = ปานกลาง

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

32

12. สรปุ ผลการประเมนิ ระดับความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคโควดิ 19 แต่ละลกั ษณะงาน

12.1. จานวน SEG ทง้ั ส้ิน 6 SEG
ปานกลาง
ระดับความเสี่ยงตา่ SEG 6 SEG สูง SEG

13. ขอ้ เสนอแนะตามระดับความเส่ียง

ความเสี่ยงระดับปานกลาง ท้ัง 6 SEG ควรมีการดาเนินการตามมาตรการพื้นฐาน มาตรสาหรบั
ความเส่ียงต่าทกุ ข้อและดาเนินการได้ตามมาตรการสาหรบั ความเสี่ยงปานกลาง ดังน้ี

1. มีการประเมินความเส่ียงของการระบาดของโรคโควดิ 19
2.ดาเนินการมาตรการปอ้ งกันควบคมุ การระบาดโรคโควิด 19 ตามมาตรการพื้นฐาน
3.ดาเนินการมาตรการปอ้ งกันควบคุมการระบาดโรคโควิด 19 ตามความเสี่ยงของแต่ละงาน
4.ติดตามขอ้ มูลขา่ วสารทเ่ี ปน็ ปจั จุบัน จากหน่วยงานภาครฐั
5.มีการประชาสัมพนั ธข์ ่าวสารแก่พนักงาน อยา่ งทว่ั ถึง
6.มีการจดั ทาแผนประคองกิจการ ในกรณีเกิดการระบาด โรคโควดิ 19
7.จดั อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการปอ้ งกัน ควบคมุ โรคโควดิ 19
8.จดั อบรมให้ความรเู้ ก่ียวกับการจดั การความเครยี ด
9.มีการระบบการคัดกรอง วดั อุณหภมู ิก่อนเข้าพน้ื ที่
10.มีแนวทางการส่งต่อกรณีสงสัยว่าปว่ ยเพ่ือเขา้ รบั การตรวจรกั ษาในโรงพยาบาล
11.มีนโยบายให้ผู้ทมี่ ีการสงสัยวา่ จะปว่ ยเปน็ โรคโควิด 19 หยุดอยูบ่ ้าน 14 วัน
12.มีการกาหนดให้พนักงาน "เว้นระยะห่าง อยา่ งน้อย 1 เมตร" ในพ้ืนทสี่ ่วนกลาง
13.จดั จุดล้างมือ พรอ้ มสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ อย่างเพยี งพอและทว่ั ถึง
14.เพม่ิ ความถี่ในทาความสะอาดด้วยน้ายาฆ่าเชอ้ื ในบรเิ วณทมี่ ีความเสี่ยง
15.อนญุ าตให้พนักงานสวมใส่หน้ากากอนามัยหรอื หน้ากากผ้า ทง้ั ในและนอกสถานทที่ างาน
16.มีการติดตามผู้ปฏิบัติงานทต่ี ้องกักตัวท่บี า้ นอย่างสม่าเสมอ
17.กรณีสถานทที่ างานมีหอพกั ต้องดาเนินการควบคุมปอ้ งกันครอบคลุมพื้นท่ี
18.กรณีมีรถรบั -ส่งต้องครอบคลมุ ปอ้ งกันโรค
19.สถานทท่ี างานประเมินมาตรการเปน็ ระยะ ๆ เพือ่ ความเหมาะสมกับสถานการณ์
20.มีการปรบั ปรุงสถานทท่ี างานสามารถระบายอากาศได้ดี ให้มีการหมุนเวยี นอากาศมากขึน้
เพิ่มความถ่ีในการทาความสะอาดเครอื่ งปรบั อากาศอยา่ น้อย 2 เดือนต่อครง้ั เปน็ ต้น
21.จดั ทากระจกกั้น/แผ่นใสก้ันในจุดทพ่ี นักงานต้องสื่อสารพูดคุยกันผู้อื่น ทง้ั ภายใน/นอก
องค์กรในระยะประชดิ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

ภาคผนวก ข
แบบสอบถามการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน ควบคมุ โรคโควดิ 19 สาหรบั สถานประกอบการทมี่ ี
แรงงานขา้ มชาติ

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

34

แบบสอบถามการเฝา้ ระวงั ป้องกัน ควบคุมโรคโควิด 19 สาหรบั สถานประกอบการท่ีมีแรงงานขา้ มชาติ

วตั ถปุ ระสงค์
แบบสารวจน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือให้นายจ้าง/ผู้บรหิ าร หรอื คณะกรรมการที่เก่ียวข้องในการเฝ้าระวัง

ป้องกัน ควบคุมโรคโควิด 19 นาไปใชป้ ระเมินมาตรการการดาเนินงานปอ้ งกันโรคโควิด 19 ของสถาน
ประกอบท่ีมีแรงงานข้ามชาติ รวมท้ังเป็นข้อมูลสาหรบั หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนามาวางแผนสนับสนุน
สถานประกอบการในการจดั ทามาตรการต่างๆ เพ่ิมเติม เพ่ือความปลอดภัยของพนักงานและผู้มาติดต่อ

❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖

โปรดทาเครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งทตี่ รงกับการดาเนินการจรงิ ของสถานประกอบการ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป

1. ชอ่ื สถานประกอบการ.................................................................. จงั หวดั .........................................

2. ตาแหนง่ ผู้ตอบแบบสอบถาม

 ผู้บรหิ าร  เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภัย

 เจา้ หน้าทฝี่ า่ ยบุคคล  อื่น ๆ โปรดระบุ………………………………………

ส่วนที่ 2 มาตรการการการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน ควบคุมโรคโควดิ 19 สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ

การดาเนนิ การ

ข้อ มาตรการ ยงั ไมไ่ ด้ อยรู่ ะหวา่ ง ดาเนนิ การเสรจ็
ดาเนนิ การ ดาเนนิ การ สิน้ แลว้
1 มนี โยบายในการป้องกัน ควบคุมการระบาดของเชอ้ื โรคโควดิ 19
ในสถานประกอบการ

2 มกี ารจดั ทาแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ. (Business Continuity
Planning: BCP Plan) เพอื่ ป้องกัน
โรคโควิด 19

3 มีการแต่งตั้งผู้จดั การแผนฯ หรอื ผ้รู บั ผิดชอบหลัก เพ่ือทาหน้าที่
ประสานกับหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งและบรหิ ารจดั การกรณีเกดิ การ
ระบาด

4 มกี ารติดตามข้อมูลข่าวสารทีเ่ ปน็ ปัจจุบันจากหน่วยงานภาครฐั เชน่
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน เปน็ ต้น

5 มีการประชาสัมพันธข์ อ้ มูลข่าวสาร ความรู้ แนวทางและมาตรการ
ต่างๆ ทสี่ ถานประกอบการกาหนดมาส่ือสารกับพนักงานให้
ชดั เจน เข้าใจ และทัว่ ถึง เชน่ การใชเ้ สียงตามสาย หรอื ติดปา้ ย
ประกาศ หรอื การส่ือสารออนไลน์

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเส่ียงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี แี รงงานขา้ มชาติ

35

การดาเนนิ การ

ขอ้ มาตรการ ยงั ไมไ่ ด้ อยรู่ ะหวา่ ง ดาเนนิ การเสรจ็
ดาเนนิ การ สิน้ แลว้
ดาเนนิ การ

6 มกี ารจดั อบรมให้ความรพู้ นักงานเกีย่ วกับการป้องกันและควบคุม

การติดต่อของโรคโควดิ 19

7 มกี ารอบรมให้ความรพู้ นักงานเก่ียวกับการจดั การความเครยี ด
หรอื สภาพปัญหาทางจติ ใจทอี่ าจเกดิ ขึน้ จากของโรคโควดิ 19

8 หัวหน้างานมีการให้ความรพู้ นักงานก่อนการปฏิบัติงานทุกวันเชน่
“COVID talk”

9 มีการคัดกรองพนักงานกอ่ นเขา้ ทางาน เชน่ ซกั ประวัติ
วัดอณุ หภมู ริ า่ งกาย เปน็ ต้น

10 มีแนวปฏิบัติในการปอ้ งกันโรคโควิด 19 สาหรบั ลกู ค้า หรอื ผมู้ า
ติดต่อจากภายนอก

11 มแี นวทางการส่งต่อกรณีสงสัยผู้ป่วย เพือ่ เขา้ รบั การตรวจรกั ษา
ในโรงพยาบาล

12 ให้ผูท้ ม่ี ีอาการสงสัย ป่วยเป็นโรคโควดิ 19 หรอื ผู้ทสี่ ัมผัสเสี่ยงสงู
หยดุ อยบู่ า้ นอย่างนอ้ ย 14 วัน และมีการติดตามผ้ทู ตี่ ้องกักตัวอย่าง
สม่าเสมอ

13 มีการจดั ให้ทางานทบี่ า้ น กรณงี านทส่ี ามารถทาทบ่ี า้ นได้

14 มกี ารจดั การประชุมทางโทรศัพทห์ รอื อนิ เตอรเ์ น็ต แทนการ
ประชุมแบบห้องประชุมทพ่ี นักงานต้องมาเจอกัน

15 มกี ารจดั สถานทท่ี างานเน้นการมีระยะห่างกันอยา่ งน้อย
1 เมตร

16 มกี ารกาหนดให้พนักงาน “เวน้ ระยะห่าง” ในพ้นื ทส่ี ่วนกลางของ
สถานประกอบการ เชน่ การต่อแถวซอื้ อาหาร การนงั่ รบั ประทาน
อาหาร มมุ พักผอ่ นเปน็ ต้น

17 สถานประกอบการจดั มาตรการด้านสุขอนามัย ไมใ่ ชข้ องใช้
ส่วนตัวรว่ มกัน เชน่ แกว้ น้า ชอ้ น แนะนาให้พนักงานนาชอ้ น
ส่วนตัวมาเอง และไม่ใชอ้ ุปกรณ์ทาความสะอาดรว่ มกัน หรอื
นากลับไปล้างทบี่ ้าน

18 มกี ารเพิม่ ความถ่ีในการทาความสะอาดด้วยนา้ ยาฆ่าเชอ้ื โรค
บรเิ วณทม่ี คี วามเส่ียงอยา่ งนอ้ ย ทกุ 2 ชวั่ โมง เชน่ ลูกบดิ ประตู
ก๊อกนา้ สวิตชไ์ ฟ เครอ่ื งถ่ายเอกสาร หรอื อปุ กรณ์ อื่น ๆ ทมี่ ักมี
ผู้สัมผัสจานวนมาก

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมนิ ความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทมี่ แี รงงานขา้ มชาติ

36

การดาเนินการ

ข้อ มาตรการ ยงั ไมไ่ ด้ อยรู่ ะหวา่ ง ดาเนนิ การเสรจ็
ดาเนนิ การ ดาเนนิ การ สิน้ แลว้
19 มีการเหลอื่ มเวลาพัก ทคี่ รอบคลุมทัง้ เวลาพักรบั ประทานอาหาร
กลางวันและพักเบรก

20 มกี ารจดั ให้มอี ่างลา้ งมือและสบูเ่ หลวทไี่ มผ่ า่ นการเจอื จาง หรอื มี
จุดบรกิ ารเจลแอลกอฮอล์ ทเี่ พียงพอแก่พนักงาน

21 กาหนดให้พนักงานสวมใส่หน้ากากอนามัยทัง้ ในและนอกสถานท่ี
ทางาน

22 มีการแนะนาขั้นตอนการทงิ้ หน้ากากอนามัยทถี่ ูกต้อง

23 มกี ารปรบั ปรุงสถานทที่ างาน เชน่ การเพมิ่ ระบบระบายอากาศ

24 มกี ารทากระจก/แผน่ ใสกั้นในแผนกประชาสัมพันธ/์ ต้อนรบั ทตี่ ้อง
ส่ือสารกับบุคคลภายนอก

25 มีการปรบั ปรงุ กระบวนการทางานเพอ่ื ปอ้ งกันโรคโควิด 19 โดย
รบั ฟังข้อเสนอแนะจากลูกจา้ งท่ีปฏิบัติงาน อาจใชเ้ ทคนิคการ
ปรบั ปรุงงานต่างๆ เชน่ ไคเซน (Kaizen), One point lesson
(OPL) หรอื เทคนิคอนื่ ๆ เพอ่ื ให้สามารถดาเนินการได้โดยไมเ่ ป็น
อปุ สรรคต่อการทางาน

26 กรณีสถานทที่ างานมีการให้บรกิ ารทพี่ นักงานทต่ี ิดต่อกับ
บุคคลภายนอกเป็นประจาให้มีมาตรการ ในการลดความเส่ียงต่อ
การสัมผัสเชอื้ เชน่ การใชร้ ะบบการให้บรกิ ารโดยไมต่ ้องลงจากรถ
(Drive Through service) การใชร้ ะบบ cashless การใชร้ ะบบย่นื
เอกสารแบบออนไลน์ เป็นต้น

27 สถานประกอบการมีการประเมินมาตรการท่กี าหนดเปน็
ระยะ ๆ เพอื่ ปรบั ให้เหมาะสมกับสถานการณ์

28 มแี นวทางปฏิบัติหรอื รายงาน กรณพี นักงานจาเปน็ ต้องเดินทาง
ไปยังพ้นื ทเี่ สี่ยงตามประกาศรายชอ่ื พืน้ ทเี่ ส่ียงต่อโรคโควดิ 19
เม่อื กลับเข้าทางาน

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี แี รงงานข้ามชาติ

37

การดาเนนิ การ

ข้อ มาตรการ ยงั ไมไ่ ด้ อยรู่ ะหวา่ ง ดาเนนิ การเสรจ็

ดาเนนิ การ ดาเนนิ การ สนิ้ แลว้

29 (ตอบเฉพาะ สปก.ทม่ี รี ถรบั -ส่งพนักงาน)

กรณีสถานประกอบการมรี ถรบั -สง่ พนักงาน มกี ารดาเนนิ การควบคุม ป้องกันโรคทค่ี รอบคลุมพื้นทร่ี ถรบั -ส่ง

- การจดั ให้มีแอลกอฮอลเ์ จลล้างมอื ก่อนขึน้ รถ

- ขณะโดยสารต้องสวมหน้ากากอนามัย/หนา้ กากผา้ ตลอด
ระยะเวลาทอี่ ยบู่ นรถ

- มกี ารจดั ทน่ี งั่ โดยการเว้นระยะห่าง อยา่ งนอ้ ย 1 เมตร

- ห้ามพูดคยุ ขณะโดยสาร

- ทาความสะอาดเชด็ เบาะรถ ทจี่ บั ประตู ราวจบั รถ
หลังจากรบั -ส่ง ทกุ ครงั้

30 (ตอบเฉพาะ สปก.ทมี่ หี อพักหรอื มกี ารจดั การหอพักให้พนักงาน)
กรณีสถานประกอบการมีหอพักให้กับพนักงาน ได้มีการดาเนินการควบคมุ ป้องกันโรค ทคี่ รอบคลุมพนื้ ทหี่ อพัก
- การจดั ให้มีแอลกอฮอลเ์ จลลา้ งมือ

- การเพิม่ ความถี่ในการทาความสะอาดพื้นทสี่ ่วนกลาง ต่างๆ

- มีการจดั เตรยี ม หรอื ประสานสถานทส่ี าหรบั แยกพนักงาน หาก
พบผ้ทู ม่ี ีอาการเส่ียงโรคระบบทางเดินหายใจ

- กรณีท่ีไมส่ ามารถปิดสถานประกอบการได้ แต่มีพนักงานติด
เชอื้ โรคโควิด 19 มีมาตรการแยกพนักงานทไี่ ม่มีภาวะเส่ียงการ
ติดเชอื้ โรคโควดิ 19

สว่ นท่ี 3 การปฏบิ ตั ิตามมาตรการของพนกั งานขณะอยใู่ นบรเิ วณสถานประกอบการ

การปฏิบตั ิ

ขอ้ มาตรการ น้อย ปาน มาก
กลาง
31 ท่านสังเกตเห็นวา่ พนักงานมีการระมัดระวงั ไม่อยู่ใกล้ผู้อ่ืน ในระยะ 1-2 เมตร
32 ทา่ นสังเกตเห็นว่าพนกั งานใส่หน้ากากอนามัย/หน้ากากผ้าตลอดเวลา
33 ท่านสังเกตเห็นว่าพนกั งาน ล้างมือบอ่ ย ๆ หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์เชด็ มือ
34 ทา่ นสังเกตเห็นว่าพนักงาน ให้ความรว่ มมือในการรายงาน เม่ือ

พาตนเองไปยงั พื้นทเ่ี สี่ยงหรอื ท่ีมีการแพรร่ ะบาด

ถอดบทเรยี น แนวทางการประเมินความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

ในสถานประกอบการตามหลักการอาชวี อนามัย สาหรบั สถานประกอบการทม่ี ีแรงงานขา้ มชาติ


Click to View FlipBook Version