The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บัญชีครัวเรือน ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wilailak_2527, 2021-02-16 10:16:32

บัญชีครัวเรือน ม.ปลาย

บัญชีครัวเรือน ม.ปลาย

1

บัญชีครัวเรือน
Home Accounting

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรา เรืองสินภญิ ญา

“บญั ชีครัวเรือน” เป็ นการประยุกต์ทางการบญั ชีเพ่ือใชเ้ ป็ นเครื่องมือประเภทหน่ึงในปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ผจู้ ดั ทาบญั ชีครัวเรือนสามารถลดค่าใชจ้ ่ายที่ไม่จาเป็ น ทาให้เกิดการประหยดั และ
การออม และในที่สุดจะสามารถแกไ้ ขปัญหาหน้ีสินไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน จากรายงานการวิจยั หลายฉบบั ได้
สนับสนุนถึงประโยชน์ของการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน แต่พบว่าบุคคลส่วนใหญ่ยงั คงไม่มีการจดั ทา
เอกสารน้ีจึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน อนั จะเป็ นผลให้มีการจดั ทา
บญั ชีครัวเรือนมากกวา่ ที่เป็นอยใู่ นปัจจุบนั

เนื่องจาก “บญั ชีครัวเรือน” เป็ นเคร่ืองมือประเภทหน่ึงของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงขอ
กล่าวถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งก่อน

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีผูใ้ ห้
ความหมายของคาวา่ “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ไวด้ งั น้ี

สุเมธ ตันติเวชกุล (2550, หนา้ 45) ไดก้ ล่าวสรุปความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว
พระราชดาริไวว้ ่า หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตวั เองได้ ให้มีความพอเพียงกบั ตวั เอง (self-
sufficiency) อยไู่ ดโ้ ดยไม่เดือดร้อน ซ่ึงตอ้ งสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของตวั เองให้ดีเสียก่อน คือให้
ตนเองสามารถอย่ไู ดอ้ ย่างพอกินพอใช้ มิไดม้ ุ่งหวงั ที่จะสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้เจริญอย่าง
รวดเร็วเพียงอยา่ งเดียว

ประเวศ วะสี (2550, หน้า 5) กล่าววา่ เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง พอเพียงในอยา่ งนอ้ ย 7
ประการด้วยกนั คือ 1) พอเพียงสาหรับทุกคน ทุกครอบครัว ไม่ใช่เศรษฐกิจแบบทอดทิ้งกนั 2)
จิตใจพอเพียง ทาให้รักและเอ้ืออาทรคนอ่ืนได้ คนที่ไม่พอจะรักคนอื่นไม่เป็ น และทาลายมาก 3)
สิ่งแวดลอ้ มพอเพียง การอนุรักษแ์ ละเพ่ิมพนู สิ่งแวดลอ้ ม ทาให้ยงั ชีพและทามาหากินได้ เช่น การทา
เกษตรผสมผสาน ซ่ึงไดท้ ้งั อาหารไดท้ ้งั สิ่งแวดลอ้ ม และไดท้ ้งั เงิน 4) ชุมชนเขม้ แข็งพอเพียง การ
รวมตวั กนั เป็ นชุมชนเขม้ แข็งจะทาให้สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ เช่น ปัญหาสังคม ปัญหาความ
ยากจน หรือปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม 5) ปัญญาพอเพียง มีการเรียนรู้ร่วมกนั ในทางปฏิบตั ิ และปรับตวั ได้
อยา่ งตอ่ เนื่อง 6) อยบู่ นพ้ืนฐานวฒั นธรรมพอเพยี ง วฒั นธรรมหมายถึง วถิ ีชีวิตของกลุ่มชนท่ีสัมพนั ธ์

2

อยู่กับส่ิงแวดล้อมที่หลากหลาย ดังน้ัน เศรษฐกิจจึงควรสัมพนั ธ์และเติบโตข้ึนจากพ้ืนฐานทาง
วฒั นธรรม จึงจะมน่ั คง และ 7) มีความมนั่ คงพอเพียง ไม่ใช่วบู วาบ เดี๋ยวจนเดี๋ยวรวยแบบกะทนั หัน
เด๋ียวตกงานไม่มีกินไม่มีใช้ ถา้ เป็ นแบบน้นั ประสาทมนุษยค์ งทนไม่ไหวต่อความผนั ผวนท่ีเร็วเกิน จึง
สุขภาพจิตเสีย เครียด เพ้ียน รุนแรง ฆา่ ตวั ตาย ติดยา เศรษฐกิจพอเพยี งที่มนั่ คงจึงทาใหส้ ุขภาพจิตดี

สรุปได้ว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถทาให้เกิดความพอเพียงหรือ
พอประมาณกบั ตนเอง อยไู่ ดอ้ ยา่ งพอกินพอใชไ้ ม่เดือดร้อน เป็ นการยึดทางสายกลาง เมื่อทาอะไรก็
ตามใหพ้ อเหมาะพอควร มีเหตุมีผล และสามารถสร้างภูมิคุ้มกนั ใหก้ บั ตนเอง โดยอาศยั ท้งั ความรู้และ
คุณธรรมเป็นพ้นื ฐาน

องค์ประกอบของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รงค์ ประพันธ์พงศ์ (2550, หน้า 34) ได้กล่าวถึงองคป์ ระกอบของเศรษฐกิจพอเพียง ไวว้ ่า
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเนน้ ทางสายกลาง หรือแบบมชั ฌิมาปฏิปทาตามหลกั พุทธศาสนา คานิยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดว้ ย 3 คุณลกั ษณะท่ีเป็ นห่วงสอดร้อยประสานกนั เพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิ
ไดแ้ ก่

1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
เบียดเบียนตนเองและผอู้ ื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยใู่ นระดบั พอประมาณ

2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพียงน้นั จะตอ้ งเป็ นไป
อยา่ งมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการทา
น้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ

3. การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ
เปล่ียนแปลงดา้ นต่างๆ ที่จะเกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะ
เกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล

นอกจากคุณลกั ษณะ 3 ห่วงดงั กล่าวแลว้ ส่ิงสาคญั อีกอยา่ งหน่ึง คือ การกาหนดเงื่อนไขไว้ 2
ประการ เพ่ือการตดั สินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดบั พอเพียงน้นั ตอ้ งอาศยั ท้งั ความรู้
และคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน นน่ั คือเง่ือนไขตอ่ ไปน้ี

ก. เงื่อนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วิชาการต่างๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและ
ระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ

ข. เงื่อนไขคุณธรรม ท่ีจะตอ้ งเสริมสร้าง ประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความ
ซ่ือสตั ยส์ ุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ

3

อาจกล่าวไดว้ า่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือทางสายกลางที่ประกอบดว้ ย 3 ห่วง 2 เง่ือนไข
ดงั ภาพที่ 1

ทางสายกลางภายใต้กระแสการเปลยี่ นแปลง

พอประมาณ

มีเหตผุ ล มีภมู ิคุม้ กนั ที่ดีในตวั

เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
(รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ) (ซ่ือสตั ย์ สุจริต ขยนั อดทน สติปัญญา แบ่งปัน)

นาสู่

ชีวติ / เศรษฐกิจ / สงั คม / ส่ิงแวดลอ้ ม
ก้าวหน้าอย่างสมดลุ / มน่ั คง / ยง่ั ยนื

ภาพที่ 1 องคป์ ระกอบของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ที่มา (รงค์ ประพนั ธ์พงศ,์ 2550, หนา้ 36)

ความหมายของบัญชีครัวเรือน
บญั ชีครัวเรือน (home accounting) เป็ นการนาการบญั ชีมาประยุกต์เพ่ือเป็ นเครื่องมืออยา่ ง

หน่ึงของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเป็ นบญั ชีที่ใช้สาหรับบนั ทึกรายได้และรายจ่าย รายได้และ
รายจ่ายท่ีบนั ทึกอาจเป็ นรายไดแ้ ละรายจ่ายส่วนบุคคล หรือรายไดแ้ ละรายจ่ายท่ีเป็ นตน้ ทุนในการผลิต
ของธุรกิจขนาดย่อม เพื่อท่ีจะทาให้ผูป้ ระกอบกิจการทราบถึงผลกาไรหรือขาดทุนจากการประกอบ
ธุรกิจน้นั โดยในเอกสารน้ีจะกล่าวถึงการบนั ทึกบญั ชีรายได้และรายจ่ายที่เป็ นของส่วนบุคคลหรือ
ครอบครัว ท้งั น้ีขอ้ มลู รายไดแ้ ละรายจ่ายที่ไดจ้ ากการบนั ทึกจะถูกวเิ คราะห์เพ่อื ใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป

วตั ถุประสงค์ของการบันทกึ บญั ชีครัวเรือน

โดยทวั่ ๆ ไป จุดมุ่งหมายของการบนั ทึกรายการทางการบญั ชี ก็เพ่ือจดั ให้มีขอ้ มูลท่ีเกี่ยวขอ้ ง
กบั สินทรัพย์ที่กิจการเป็ นเจ้าของ หน้ีสินที่กิจการได้ก่อไว้ และทุนของเจา้ ของกิจการท่ีนามาลง

4

ตลอดจนผลการดาเนินงานของกิจการ กล่าวคือมุ่งเนน้ เพื่อการบริหารงานทางธุรกิจ โดยการจดั ทา
รายงานทางการบญั ชีเพื่อให้เจา้ ของกิจการทราบถึงผลการดาเนินงานที่ผ่านมาว่าไดก้ าไรหรือขาดทุน
เท่าไร หากเกิดการขาดทุนหรือกาไรนอ้ ยกวา่ ที่ควรจะเป็น จะไดห้ าหนทางแกไ้ ขเพื่อใหส้ ามารถดาเนิน
ธุรกิจใหอ้ ยรู่ อดปลอดภยั และสามารถเจริญเติบโตต่อไปในอนาคตได้

ในปัจจุบนั นอกจากการจดั ทาบญั ชีเพ่ือประโยชน์ทางธุรกิจแล้ว ยงั สามารถจดั ทาบญั ชีเพื่อ
ประโยชน์ส่วนบุคคลไดอ้ ีกดว้ ย โดยมีการนาการบญั ชีเขา้ มาประยกุ ต์ใชก้ บั เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึง
เรียกวา่ “บญั ชีครัวเรือน”

วตั ถุประสงคข์ องการบนั ทึกบญั ชีครัวเรือน กเ็ พื่อใหผ้ บู้ นั ทึก
1. สามารถวางแผนการใชจ้ ่ายตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งรอบคอบ ไมใ่ ชจ้ า่ ยเกินกวา่ เงินคงเหลือ
เน่ืองจากทุกคร้ังท่ีบนั ทึกบญั ชีจะทราบถึงยอดเงินคงเหลือของตน
2. ทราบถึงถึงรายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายของตนและครอบครัว ท้งั รายละเอียดและภาพรวม
3. เม่ือผบู้ นั ทึกทาการวเิ คราะห์รายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายของตนที่ไดบ้ นั ทึกไวแ้ ลว้ จะสามารถลด
คา่ ใชจ้ ่ายที่ไมจ่ าเป็น ทาใหเ้ กิดการประหยดั และการออม และหากมีการใชจ้ ่ายเท่าท่ีมีก็จะไม่ก่อใหเ้ กิด
หน้ีสิน จึงสามารถแกไ้ ขปัญหาหน้ีสินไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื

บัญชีครัวเรือนกบั ชีวติ ประจาวนั

การดาเนินชีวติ ประจาวนั ยอ่ มมีรายรับและรายจ่ายต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน รายรับไดม้ าจากการทามาหา
เล้ียงชีพ ท้งั จากอาชีพหลกั และอาชีพรอง ส่วนรายจ่ายก็ไดแ้ ก่ค่าใช้จ่ายต่างๆ ไดแ้ ก่ค่าอุปโภคและ
บริโภคที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิต ซ่ึงค่าใช้จ่ายเหล่าน้ีมีจานวนเพ่ิมสูงข้ึนมาโดยตลอด และไม่มี
แนวโน้มท่ีจะลดลง บัญชีครัวเรื อนเป็ นบัญชีท่ีสาหรับบันทึกรายได้และรายจ่ายที่เกิดข้ึนใน
ชีวิตประจาวนั ของเรา ว่าในแต่ละวนั เรามีรายไดเ้ ขา้ มา แล้วจ่ายค่าใช้จ่ายออกไปเท่าไร ปัจจุบนั
ยอดเงินคงเหลือมีเท่าไร ทาให้เกิดการวางแผนการใช้จ่ายต่อไปอยา่ งรอบคอบ ใช้จ่ายอย่างพอเพียง
เท่าท่ีมีอยา่ งระมดั ระวงั

ความเกยี่ วข้องระหว่างบัญชีครัวเรือนและเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เน่ืองจากผจู้ ดั ทาบญั ชีครัวเรือนจะสามารถทราบถึงรายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายของตนและครอบครัว
จึงสามารถวางแผนการใชจ้ ่ายต่อไปไดอ้ ยา่ งรอบคอบ เกิดความพอประมาณในการใชจ้ ่าย สามารถลด
คา่ ใชจ้ า่ ยที่ไม่จาเป็น ทาใหเ้ กิดการประหยดั และการออม และหากมีการใชจ้ ่ายเท่าท่ีมีก็จะไม่ก่อใหเ้ กิด
หน้ีสิน จึงสามารถแก้ไขปัญหาหน้ีสินได้อย่างยง่ั ยืน เป็ นผลให้เกิดภูมิคุ้มกันที่ดีในการรับการ
เปลี่ยนแปลงทางการเงินท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต หากเกิดการตกงานหรืออุบตั ิเหตุท่ีทาให้ไม่สามารถหา
รายไดม้ าเล้ียงชีพตนเองและครอบครัวได้

5

การบนั ทึกบญั ชีครัวเรือน จึงสามารถทาใหผ้ บู้ นั ทึกเกิดคุณสมบตั ิ 3 ขอ้ คือ
1. ความพอประมาณในการใชจ้ า่ ย
2. มีเหตุมีผลในการตดั สินใจใชจ้ า่ ย ใชจ้ ่ายอยา่ งรอบคอบ และระมดั ระวงั
3. ก่อใหเ้ กิดภูมิคุม้ กนั ท่ีดีในการรับการเปล่ียนแปลงทางการเงินท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต
ซ่ึงเป็ นไปตามคุณลกั ษณะสาคญั 3 ประการในองคป์ ระกอบของเศรษฐกิจพอเพียง โดยอยู่
ภายใต้ 2 เงื่อนไข คือ
ก. ความรู้ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน การวเิ คราะห์รายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ยที่ไดบ้ นั ทึกไว้
ข. คุณธรรม คือการดาเนินชีวติ ดว้ ยความขยนั อดทน และใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ
ผบู้ นั ทึกบญั ชีครัวเรือนสามารถทาให้เกิดความพอเพียงหรือพอประมาณกบั ตนเอง อยไู่ ดอ้ ยา่ ง
พอกินพอใชไ้ ม่เดือดร้อน เป็ นการยึดทางสายกลาง โดยเม่ือทาอะไรก็ตามให้พอเหมาะพอควรและมี
เหตุมีผล ประโยชน์ที่ได้รับจากการบันทึกบญั ชีครัวเรือนดังกล่าวข้างต้น ให้ผลสอดคล้องกับ
ความหมาย คุณสมบตั ิและเงื่อนไขท่ีเป็ นองคป์ ระกอบของเศรษฐกิจพอเพียง จึงถือไดว้ า่ บญั ชีครัวเรือน
เป็นเคร่ืองมืออยา่ งหน่ึงที่ถูกนามาใชใ้ นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ประโยชน์ของจากการจดั ทาบัญชีครัวเรือน

ผลการวจิ ยั ท่ีไดส้ นบั สนุนถึงประโยชน์ของจากการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน ดงั น้ี
การวิจยั ของวาริพิณ มงคลสมยั (2551, บทคดั ยอ่ ) เร่ือง “การจดั การความรู้ทางการบญั ชีเพ่ือ
พฒั นาวิสาหกิจชุมชนในการผลิต ผลิตภณั ฑ์ลาไยอบแห้งสีทองของกลุ่มเกษตรกรบา้ นเหมืองกวกั ต.
มะเขือแจ้ อ.เมือง จ.สาพูน” พบว่า ผลการบนั ทึกบญั ชีทาให้ชุมชนสามารถลดค่าใช้จ่ายท่ีไม่จาเป็ น
และเป็นกาลงั ใจในการหารายไดเ้ ขา้ สู่ครอบครัวมากข้ึน
การวิจยั ของวาริพิณ มงคลสมยั (2552, บทคดั ย่อ) เร่ือง “การจดั การความรู้ทางบญั ชีตาม
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง” พบวา่ การจดั ทาบญั ชีครัวเรือน ทาใหช้ ุมชนลดค่าใชจ้ ่ายที่ไม่จาเป็ น และมี
เงินออมมากข้ึน
การวิจยั ของชนิตา โชติเสถียรกุล (2551, บทคดั ยอ่ ) เร่ือง “การศึกษาสภาพปัญหาการจดั ทา
บญั ชีครัวเรือนของผปู้ กครองนกั ศึกษาสาขาการบญั ชี คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่” พบวา่ การจดั ทาบญั ชีครัวเรือนมีประโยชน์สูงสุด
ในดา้ นท่ีทาให้ ลดค่าใชจ้ า่ ยท่ีเกิดข้ึน และมีเงินออมเพม่ิ ข้ึน
และจากการวิจยั ของศุภโชติก์ แกว้ ทอง และสมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล (2552, บทคดั ย่อ)
เรื่อง “การประเมินผลการจดบนั ทึกบญั ชีครัวเรือนเพ่ือลดปัญหาหน้ีสินของเกษตรกรในเขตตาบลยุโป
อาเภอเมือง จงั หวดั ยะลา” พบว่า หลงั การจดบันทึกบัญชีครัวเรือนส่วนใหญ่มีรายได้เพิ่มข้ึน มี

6

ค่าใช้จ่ายลดลง มีหน้ีสินลดลง และมีเงินออมเพ่ิมข้ึน ผูจ้ ดบนั ทึกสามารถนาข้อมูลท่ีจดบนั ทึกมา
บริหารจดั การในการควบคุมพฤติกรรมในการใชจ้ ่ายของตนได้

สรุปไดว้ ่า เมื่อผูจ้ ดั ทาบญั ชีครัวเรือนทาการบนั ทึกบญั ชี จะทราบยอดคงเหลือของเงินท่ีเป็ น
ปัจจุบนั และสามารถวเิ คราะห์รายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายของตน เป็นผลให้

1. สามารถวางแผนการใช้จ่ายเงินท่ียงั คงเหลืออยู่ได้อย่างรอบคอบ ระมัดระวงั และมี
ประสิทธิภาพ เพอ่ื ท่ีจะไดไ้ ม่ใชจ้ า่ ยเกินกวา่ รายได้

2. สามารถควบคุมพฤติกรรมในการใชจ้ า่ ยของตนได้ ตดั หรือลดค่าใชจ้ ่ายท่ีไม่จาเป็นลง
3. หาหนทางในการเพมิ่ รายได้
4. มีเงินออมเพม่ิ ข้ึน และ
5. ทาใหห้ น้ีสินลดลง

การจดั ทาบญั ชีครัวเรือน

ในการวิจยั ของผูเ้ ขียน (ภทั รา เรืองสินภิญญา, 2552, หน้า 72) เร่ือง “พฤติกรรมการบนั ทึก
บญั ชีรายไดแ้ ละรายจา่ ยส่วนบุคคล ของนกั ศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี” พบวา่
ส่วนใหญไ่ มม่ ีการบนั ทึกบญั ชีรายไดแ้ ละรายจ่ายส่วนบุคคล และไม่มีแนวโนม้ ท่ีจะทาการบนั ทึกบญั ชี
ในอนาคต แมว้ ่าจะมีทศั นคติท่ีดีมากต่อการบนั ทึกบญั ชีก็ตาม และส่วนใหญ่มีความตอ้ งการเรียนรู้ใน
หวั ขอ้ การบนั ทึกบญั ชีรายไดแ้ ละรายจ่ายส่วนบุคคล ปัจจยั ที่มีผลต่อพฤติกรรมการบนั ทึกบญั ชีท่ีสาคญั
ปัจจยั หน่ึงได้แก่ ระดบั ความรู้ดา้ นการบญั ชี ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดบั ความรู้ด้านการ
บญั ชีนอ้ ยจึงเป็นผลใหไ้ ม่มีการบนั ทึกบญั ชี

จากรายงานการวิจยั ของวาริพิณ มงคลสมยั (2552, บทคดั ย่อ) เร่ือง “การจดั การความรู้ทาง
บญั ชีตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” พบว่า ชุมชนส่วนใหญ่ไม่ไดบ้ นั ทึกบญั ชีครัวเรือน เพราะขาด
ความเขา้ ใจในการทาบญั ชีครัวเรือน

เนื่องจากผลการวจิ ยั ขา้ งตน้ ผเู้ ขียนจึงมีความเห็นวา่ หากมีการถ่ายทอดความรู้ในการจดั ทาบญั ชี
ครัวเรือนให้แก่บุคคลทว่ั ไป อาจเป็ นส่ิงกระตุน้ ให้มีการจดั ทาบญั ชีครัวเรือนมากข้ึนกว่าที่เป็ นอยู่ใน
ปัจจุบนั ได้

ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือนน้นั เป็ นเร่ืองที่ทาได้ไม่ยาก ทุกคนสามารถทาการบนั ทึกบญั ชี
ครัวเรือนไดด้ ว้ ยตนเองในเวลาไม่มาก ดงั มีแบบฟอร์มซ่ึงสามารถจดั ทาข้ึนเองไดง้ ่ายๆ ในสมุดหรือ
กระดาษเหลือใชต้ ามตารางที่ 1 มีวธิ ีการบนั ทึกบญั ชีตามหวั ขอ้ เร่ืองวธิ ีการบนั ทึกบญั ชีครัวเรือน และมี
ตวั อยา่ งการบนั ทึกบญั ชีครัวเรือนตามตารางท่ี 2

7

ตารางที่ 1 ตวั อยา่ งแบบฟอร์มบญั ชีครัวเรือน (บญั ชีรายรับและรายจา่ ย)

บัญชีรายรับ-รายจ่าย

    

วนั ที่ รายการ รับ จ่าย คงเหลอื หมายเหตุ

ยอดคงเหลอื ยกมา 

รวม รับ, จ่าย และยอดคงเหลือยกไป



วธิ ีการบันทกึ บญั ชีครัวเรือน
1. ช่อง “วันที่” ใช้บนั ทึก วนั ท่ี เดือน และปี พ.ศ. ที่เกิดรายการรับเงินหรือจ่ายเงินจริง แต่

หากจาวนั ท่ีเกิดรายการไมไ่ ด้ ใหใ้ ชว้ นั ที่ทาการบนั ทึกบญั ชีแทน
2. ช่อง “รายการ” ใชบ้ นั ทึกคาอธิบายหรือรายละเอียดของการรับเงินหรือจ่ายเงิน การรับเงิน

เช่น รับเงินเดือน รับรายไดพ้ ิเศษ การจ่ายเงิน เช่น ค่าอาหาร ค่าพาหนะเดินทาง จ่ายค่าเล่าเรียน เป็ น
ตน้

3. ช่อง “รับ” ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงิน” ท่ีไดร้ ับเขา้ มาทุกรายการ ไม่วา่ จะเป็ นรายรับจากอาชีพ
หลกั หรือรายไดอ้ ่ืน ๆ

4. ช่อง “จ่าย” ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงิน” ที่จ่ายออกไปทุกรายการ ไม่วา่ จะจา่ ยออกไปในเร่ืองใดก็
ตาม

5. ช่อง “คงเหลอื ” ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงิน” คงเหลือ หลงั จากไดร้ ับเขา้ มาหรือจ่ายออกไป ควร
คานวณทุกคร้ังที่มีการบนั ทึกบญั ชีการรับเขา้ หรือจ่ายออก เพ่ือจะไดท้ ราบว่าปัจจุบนั มีจานวนเงินคง
เหลืออยเู่ ท่าใด โดยต้งั ตน้ ดว้ ยจานวนเงินคงเหลือล่าสุด นารายการรับมาบวกเขา้ และนารายการจ่ายมา
หกั ออก จะไดย้ อดคงเหลือปัจจุบนั เพือ่ สามารถวางแผนการใชจ้ า่ ยในอนาคตไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

6. ช่อง “หมายเหตุ” ใชบ้ นั ทึกรายละเอียด ท่ีตอ้ งการบนั ทึกเพิ่มเติมจากช่องรายการ
7. บรรทัด “ยอดคงเหลอื ยกมา” ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงิน” ในช่องคงเหลือ โดยนาตวั เลขมาจาก
จานวนเงินในช่อง “คงเหลือ” จากบรรทดั “รวม” (บรรทดั สุดทา้ ย) ของหนา้ บญั ชีก่อนหนา้ น้ี แต่หาก
เป็นการเริ่มตน้ บนั ทึกบญั ชีเป็นคร้ังแรกในหนา้ น้ี ใหใ้ ส่จานวนเงินคงเหลือตามตวั เลขท่ีมีเงินคงเหลืออยู่
เป็นตวั เลขต้งั ตน้

8

8. บรรทดั รวม รับ, จ่าย และยอดคงเหลือยกไป ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงินรวม” ตามแนวต้งั ใน
ช่อง รับและจ่าย ส่วนช่องคงเหลือ เป็ นจานวนเงินคงเหลือท่ีเป็ นปัจจุบนั โดยนาตวั เลขน้ีมาจากช่อง
คงเหลือล่าสุดของหนา้ บญั ชีน้ี ซ่ึงจานวนเงินน้ีจะนาไปใส่ในบรรทดั ยอดคงเหลือยกมาในช่องคงเหลือ
ของหนา้ บญั ชีถดั ไป แตห่ ากตอ้ งการทราบยอดรวมของรายรับและรายจ่ายในหนา้ บญั ชีถดั ไปดว้ ย ก็ให้
ยกยอดรวมในช่องรับและจ่ายไปใส่ในหนา้ บญั ชีถดั ไปพร้อมกนั จานวนเงินยอดคงเหลือยกไปในหนา้
บญั ชีน้ีจะตอ้ งเทา่ กบั จานวนเงินยอดคงเหลือยกมาในหนา้ บญั ชีถดั ไป

ตัวอย่างการบนั ทกึ บญั ชีครัวเรือน
รายการรับ-จ่าย ท่ีเกิดข้ึนในเดือนมิถุนายน 25x1 มีดงั น้ี
(จานวนเงินคงเหลือ ณ วนั ตน้ เดือนเท่ากบั 300 บาท)
25x1
มิถุนายน 1 รับเงินเดือนจากผปู้ กครอง 2,000 บาท
รับคา่ ทางานพิเศษ 1,000 บาท
5 จ่ายคา่ อาหาร 5 วนั 220 บาท
จ่ายเดินทาง 200 บาท
10 ซ้ือของใชเ้ บด็ เตลด็ 180 บาท
ซ้ือรองเทา้ 300 บาท
จ่ายค่าอาหาร 5 วนั 240 บาท
20 ซ้ือเส้ือนกั ศึกษา 200 บาท
ทาบุญที่วดั 50 บาท
จ่ายคา่ อาหาร 10 วนั 450 บาท
ซ้ือบตั รเติมเงินโทรศพั ทม์ ือถือ 50 บาท
30 จ่ายคา่ หอพกั 500 บาท
จ่ายค่าอาหาร 10 วนั 400 บาท
รับค่าทางานพเิ ศษ 150 บาท
จา่ ยคา่ หนงั สือเรียน 300 บาท
การบนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดบญั ชีครัวเรือน เป็นดงั น้ี

9

ตารางท่ี 2 ตวั อยา่ งการบนั ทึกบญั ชีครัวเรือน (บญั ชีรายรับและรายจ่าย)

บญั ชีครัวเรือน(รายรับ–รายจ่าย)

วนั ท่ี รายการ รับ จ่าย คงเหลอื หนา้ 1
หมายเหตุ
1 มิ.ย. X1 ยอดคงเหลอื ยกมา
รับเงินเดือนจากผปู้ กครอง 300
รับค่าทางานพิเศษ
2,000
5 มิ.ย. X1 คา่ อาหาร 5 วนั
ค่าเดินทาง 1,000 3,300

10 มิ.ย. X1 ซ้ือของใชเ้ บด็ เตลด็ 220
ซ้ือรองเทา้
ค่าอาหาร 5 วนั 200 2,880

20 มิ.ย. X1 ซ้ือเส้ือนกั ศึกษา 180
ทาบุญที่วดั
คา่ อาหาร 10 วนั 300
ซ้ือบตั รเติมเงินโทรศพั ทม์ ือถือ
240 2,160
30 มิ.ย. X1 จ่ายคา่ หอพกั
ค่าอาหาร 10 วนั 200
รับคา่ ทางานพเิ ศษ
จ่ายคา่ หนงั สือเรียน 50

รวม รับ, จ่าย และยอดคงเหลอื ยกไป 450

50 1,410

500

400

150

300 360

3,150 3,090 360

บัญชีครัวเรือน(รายรับ–รายจ่าย)

วนั ที่ รายการ รับ จ่าย คงเหลอื หนา้ 2
หมายเหตุ
1 ก.ค. X1 ยอดคงเหลอื ยกมา
3,150 3,090 360

10

ข้อมูลเพมิ่ เตมิ

ในการบนั ทึกบญั ชีครัวเรือนมีขอ้ มลู เพม่ิ เติมจากขอ้ มูลขา้ งตน้ ดงั น้ี
1. การบนั ทึกบญั ชี อาจบนั ทึกทุกวนั หรือหลายวนั บนั ทึกหน่ึงคร้ังก็ได้ ข้ึนอยู่กบั ความ
สะดวก แตใ่ หเ้ กบ็ รวบรวมหลกั ฐานการรับหรือจ่ายเงินไว้ (ถา้ มี) เช่นใบเสร็จรับเงินจากการใชจ้ า่ ยต่าง ๆ
2. กรณีท่ีตอ้ งการทราบรายละเอียดของรายจ่ายใหช้ ดั เจนวา่ จ่ายไปในเร่ืองใดบา้ ง ให้แบ่งช่อง
รายจ่ายออกเป็นช่องยอ่ ยๆ ลงไปอีกตามท่ีตอ้ งการ เช่น ค่าอาหารและเคร่ืองด่ืม ค่าพาหนะเดินทาง ค่า
การศึกษา ชาระหน้ีสิน และรายจ่ายอื่นๆ เม่ือบนั ทึกบญั ชี ให้นาจานวนเงินบนั ทึกลงในช่องน้นั ๆ ตาม
ประเภท

สรุป

“บญั ชีครัวเรือน” ซ่ึงเป็ นบญั ชีที่ใชส้ าหรับบนั ทึกรายไดแ้ ละรายจ่าย ผจู้ ดั ทาบญั ชีครัวเรือนจะ
ไดร้ ับประโยชน์คือ มีรายไดเ้ พิ่มข้ึน มีค่าใช้จ่ายลดลง มีเงินออมเพิ่มข้ึน มีหน้ีสินลดลง และในที่สุด
จะสามารถแกไ้ ขปัญหาหน้ีสินไดอ้ ย่างยงั่ ยนื อนั เป็ นไปตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมุ่งเนน้ ให้
เกิดความพอเพียงหรือพอประมาณกบั ตนเอง อยไู่ ดอ้ ยา่ งพอกินพอใชไ้ ม่เดือดร้อน เป็ นการยดึ ทางสาย
กลาง โดยอาศยั ท้งั ความรู้และคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน

เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมายคุ รบ 84 พรรษาใน
วนั ที่ 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2554 จึงขอเชิญชวนทุกท่านไดม้ ีการนอ้ มนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ
ใชเ้ พื่อเป็นแนวทางในการดารงชีวติ ประจาวนั ในหนทางท่ีควรจะเป็ น โดยเร่ิมจากสิ่งที่ทาไดไ้ ม่ยากและ
ใกลต้ วั นนั่ ก็คือการบนั ทึกบญั ชีครัวเรือน เพ่ือใหเ้ กิดวนิ ยั ในการใชจ้ ่ายและเป็ นการเสริมสร้างลกั ษณะ
นิสยั การออม อนั จะเป็นผลใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิมีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ึน

11

เอกสารอ้างองิ

ชนิตา โชติเสถียรกลุ . (2551). งานวจิ ัยเร่ืองการศึกษาสภาพปัญหาการจัดทาบัญชีครัวเรือนของ
ผ้ปู กครองนักศึกษาสาขาการบัญชี คณะบริหารธุรกจิ และศิลปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา ภาคพายพั เชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลลา้ นนา.

ประเวศ วะสี. (2550). เศรษฐกจิ พอเพยี ง และประชาสังคม. กรุงเทพฯ : หมอชาวบา้ น.
ภทั รา เรืองสินภิญญา. (2552). พฤติกรรมการบนั ทึกบญั ชีรายไดแ้ ละรายจา่ ยส่วนบุคคลของ

นกั ศึกษาและบุคลากรของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี. วารสารวทิ ยาการจัดการ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี, 1, 69-74.
รงค์ ประพนั ธ์พงศ.์ (2550). เศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎใี หม่. กรุงเทพฯ : เยลโล่การพิมพ.์
วาริพณิ มงคลสมยั . (2551). งานวจิ ัยเรื่องการจัดการความรู้ทางการบัญชีเพอ่ื พฒั นาวิสาหกจิ ชุมชน
ในการผลติ ผลติ ภัณฑ์ลาไยอบแห้งสีทองของกล่มุ เกษตรกรบ้านเหมืองกวกั ต.มะเขอื แจ้
อ.เมือง จ.สาพนู . เชียงใหม่ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม.่

. (2552). งานวจิ ัยเรื่องการจัดการความรู้ทางบัญชีตามแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง.
เชียงใหม่ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม.่
ศุภโชติก์ แกว้ ทอง และสมบูรณ์ เจริญจิระตระกลู . (2552). งานวจิ ัยเรื่องการประเมินผล
การจดบันทกึ บญั ชีครัวเรือนเพอ่ื ลดปัญหาหนีส้ ินของเกษตรกรในเขตตาบลยโุ ป อาเภอ
เมือง จังหวดั ยะลา. สงขลา : มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์.
สุเมธ ตนั ติเวชกลุ . (2550). สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง. กรุงเทพฯ : สานกั งาน
กองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั .

12

แบบฝึ กหัด

1. อธิบายความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
2. อธิบายองคป์ ระกอบของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. อธิบายความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. อธิบายวตั ถุประสงคข์ องการบนั ทึกบญั ชีครัวเรือน
5. อธิบายประโยชน์ของการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน

6. รายการรับ-จา่ ย ที่เกิดข้ึนในเดือนมกราคม 25x1 มีดงั น้ี
(จานวนเงินคงเหลือ ณ วนั ตน้ เดือนเท่ากบั 800 บาท)
25x1
มกราคม 1 รับเงินเดือนจากผปู้ กครอง 3,000 บาท
2 จ่ายคา่ งานเล้ียงปี ใหม่ 250 บาท
4 จา่ ยคา่ อาหาร 4 วนั 350 บาท
7 จ่ายคา่ พาหนะ 280 บาท
15 รับรายไดพ้ ิเศษ 1,500 บาท
20 จ่ายคา่ อาหาร 16 วนั 1,040 บาท
22 ซ้ือกางเกง 1 ตวั 200 บาท
25 จา่ ยค่าพาหนะ 720 บาท
31 จ่ายคา่ อาหาร 11 วนั 715 บาท
จา่ ยคา่ พาหนะ 240 บาท
จ่ายคา่ หอพกั 600 บาท
ให้ทา บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดบญั ชีครัวเรือน

13

7. ตอ่ จากขอ้ 1 รายการรับ-จา่ ย ที่เกิดข้ึนในเดือน กมุ ภาพนั ธ์ 25x1 มีดงั น้ี
25x1

กมุ ภาพนั ธ์ 1 รับเงินเดือนจากผปู้ กครอง 3,000 บาท
5 จ่ายคา่ อาหาร 5 วนั 400 บาท
7 จ่ายค่าพาหนะ 420 บาท
15 รับรายไดพ้ เิ ศษ 1,500 บาท
17 จ่ายคา่ อาหาร 12 วนั 780 บาท
20 จา่ ยค่าดูภาพยนตร์ 100 บาท
22 ซ้ือกางเกง 1 ตวั 200 บาท
21 จา่ ยค่าพาหนะ 450 บาท
28 จ่ายค่าอาหาร 11 วนั 880 บาท
จ่ายคา่ พาหนะ 790 บาท
จ่ายค่าหอพกั 600 บาท

ให้ทา บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดบญั ชีครัวเรือน

8. ต่อจากขอ้ 2 รายการรับ-จา่ ย ที่เกิดข้ึนในเดือน มีนาคม 25x1 มีดงั น้ี
25x1

มีนาคม 1 รับเงินเดือนจากผปู้ กครอง 3,000 บาท
6 จา่ ยค่าอาหาร 6 วนั 600 บาท
7 จ่ายค่าทารายงาน 100 บาท
11 จา่ ยค่าพาหนะ 380 บาท
15 รับรายไดพ้ เิ ศษ 1,800 บาท
16 จ่ายค่าอาหาร 10 วนั 1,000 บาท
19 จ่ายค่าพาหนะ 320 บาท
26 จา่ ยคา่ อาหาร 10 วนั 900 บาท
31 จา่ ยคา่ อาหาร 5 วนั 420 บาท
จา่ ยค่าพาหนะ 430 บาท
จ่ายคา่ หอพกั 600 บาท

ให้ทา บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดบญั ชีครัวเรือน

14

เฉลยแบบฝึ กหัด

6. รายการ รับ จ่าย คงเหลอื หมายเหตุ
ยอดคงเหลือยกมา 3,000 800
วนั ท่ี รับเงินเดือนผปู้ กครอง 3,800
25x1 มกราคม 1 จ่ายค่างานเล้ียงปี ใหม่ 1,500
จา่ ยค่าอาหาร 4 วนั 250 3,550
1 จา่ ยค่าพาหนะ 350 3,200
2 รับรายไดพ้ ิเศษ 280 2,920
4 จา่ ยค่าอาหาร 16 วนั
7 ซ้ือกางเกง 1 ตวั 4,420
15 จ่ายค่าพาหนะ 1,040 3,380
20 จ่ายคา่ อาหาร 11 วนั 200 3,180
22 จ่ายค่าพาหนะ 720 2,460
25 จา่ ยค่าหอพกั 715 1,745
31 240 1,505
600 905

รวมรับ,จ่าย และยอดคงเหลือ 4,500 4,395 905
ยกไป

15

7. รับ จ่าย คงเหลอื หมายเหตุ
4,500 4,395 905
วนั ท่ี รายการ 3,000 3,905
25x1กมุ ภาพนั ธ์1 ยอดคงเหลือยกมา
400 3,505
1 รับเงินเดือนผปู้ กครอง 420 3,085
5 จ่ายค่าอาหาร 5 วนั 1,500 4,585
10 จ่ายคา่ พาหนะ 780 3,805
15 รับรายไดพ้ ิเศษ 100 3,705
17 จา่ ยคา่ อาหาร 12 วนั 200 3,505
20 จ่ายคา่ ดูภาพยนตร์ 450 3,055
22 จา่ ยคา่ กางเกง 1 ตวั 880 2,175
21 จ่ายค่าพาหนะ 790 1,385
28 จา่ ยคา่ อาหาร 11 วนั 600 785

จ่ายคา่ พาหนะ
จา่ ยคา่ หอพกั

รวมรับ,จ่าย และยอดคงเหลือ 9,000 9,015 785
ยกไป

16

8. รายการ รับ จ่าย คงเหลอื หมายเหตุ
ยอดคงเหลือยกมา 9,000 9,015 785
วนั ที่ รับเงินเดือนจากผปู้ กครอง 3,000 3,785
25x1 มีนาคม 1 จา่ ยค่าอาหาร 6 วนั
จ่ายค่าทารายงาน 600 3,185
1 จ่ายค่าพาหนะ 100 3,085
6 รับรายไดพ้ ิเศษ 380 2,705
7 จ่ายค่าอาหาร 10 วนั 1,800 4,505
11 จา่ ยค่าพาหนะ 1,000 3,505
15 จา่ ยค่าอาหาร 10 วนั 320 3,185
16 จ่ายคา่ อาหาร 5 วนั 900 2,285
19 จา่ ยคา่ พาหนะ 420 1,865
26 จ่ายค่าหอพกั 430 1,435
31 600 835

รวมรับ,จ่าย และยอดคงเหลือ 13,800 13,765 835
ยกไป

สมุดบันทกึ รายรับ-รายจ่าย

จัดทาโดย
สาขาการบัญชี คณะวทิ ยาการจดั การ

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

ช่ือผู้บันทึก........................................................................

วธิ ีการบนั ทกึ รายรับ-รายจ่าย

1. ช่อง “วนั ที่” ใชบ้ นั ทึก วนั ท่ี เดือน และปี พ.ศ. ที่เกิดรายการรับเงินหรือ
จ่ายเงิน แต่หากไม่ไดท้ าการบนั ทึกบญั ชีทุกวนั หรือจาวนั ท่ีเกิดรายการไม่ได้ วนั ที่ตรงน้ีอาจ
เป็ นวนั ท่ีที่บนั ทึกกไ็ ด้

2. ช่อง “รายการ” ใชบ้ นั ทึกคาอธิบายหรือรายละเอียดของการรับเงินหรือ
จ่ายเงิน การรับเงิน เช่น รับเงินเดือน รับค่าล่วงเวลา การจ่ายเงิน เช่น ค่าอาหาร ชาระหน้ี
เงินกู้ จ่ายคา่ น้า- ค่าไฟฟ้ า จ่ายคา่ เรียนพิเศษ เป็ นตน้

3. ช่อง “รับ” ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงิน” ท่ีไดร้ ับเขา้ มาทุกรายการ ไม่วา่ จะเป็ น
รายรับจากอาชีพหลกั หรือรายไดอ้ ่ืน ๆ

4. ช่อง “จ่าย” ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงิน” ท่ีจ่ายออกไปทุกรายการ ไม่วา่ จะจ่าย
ออกไปในเร่ืองใดก็ตาม

5. ช่อง “คงเหลอื ” ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงิน” คงเหลือ หลงั จากไดร้ ับเขา้ มา
หรือจ่ายออกไป ควรคานวณทุกคร้ังท่ีมีการบนั ทึกการรับเขา้ หรือจ่ายออก เพื่อจะไดท้ ราบวา่
ปัจจุบนั มีจานวนเงินคงเหลืออยู่เท่าใด โดยต้งั ตน้ ดว้ ยจานวนเงินคงเหลือล่าสุด นารายการ
รับมาบวกเขา้ และนารายการจ่ายมาหกั ออก จะไดย้ อดคงเหลือปัจจุบนั

6. บรรทัด “ยอดคงเหลือยกมา” ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงิน” ในช่องคงเหลือ
โดยนาตวั เลขมาจากจานวนเงินในช่อง “คงเหลือ” จากบรรทดั “รวม” (บรรทดั สุดทา้ ย) ของ
หน้าบญั ชีก่อนหน้าน้ี แต่หากเร่ิมตน้ บนั ทึกเป็ นคร้ังแรกในหน้าน้ี ให้ใส่จานวนเงินคงเหลือ
ตามตวั เลขที่มีเงินคงเหลืออยเู่ ป็ นตวั เลขต้งั ตน้

7. บรรทดั รวม รับ, จ่าย และยอดคงเหลอื ยกไป ใชบ้ นั ทึก “จานวนเงินรวม”
ตามแนวต้งั ในช่อง รับและจ่าย ส่วนช่องคงเหลือ เป็ นจานวนเงินคงเหลือท่ีเป็ นปัจจุบนั โดย
นาตวั เลขน้ีมาจากช่องคงเหลือล่าสุดของหน้าบญั ชีน้ี ซ่ึงจานวนเงินน้ีจะนาไปใส่ในบรรทดั
ยอดคงเหลือยกมาในช่องคงเหลือของหน้าบญั ชีถดั ไป แต่หากตอ้ งการทราบยอดรวมของ
รายรับและรายจ่ายในหนา้ บญั ชีถดั ไปดว้ ย ก็ให้ยกยอดรวมในช่องรับและจ่ายไปใส่ในหน้า
บญั ชีถดั ไปพร้อมกนั จานวนเงินยอดคงเหลือยกไปในหนา้ บญั ชีน้ีจะตอ้ งเท่ากบั จานวนเงินยอด
คงเหลือยกมาในหนา้ บญั ชีถดั ไป

หมายเหตุ:
การบนั ทึก อาจบนั ทึกทุกวนั หรือหลายวนั บนั ทึกหน่ึงคร้ังกไ็ ด้ ข้ึนอยกู่ บั ความ

สะดวก แต่ให้เก็บรวบรวมหลกั ฐานการรับหรือจ่ายเงินไว้ (ถา้ มี) เช่น สลิบเงินเดือน หรือ
ใบเสร็จรับเงินจากการใชจ้ ่ายต่าง ๆ

ตวั อย่างการบนั ทกึ รายรับและรายจ่าย
ตวั อยา่ ง การบนั ทึกรายรับและรายจ่าย แสดงอยใู่ นหนา้ ถดั ไป

หนา้ 1

วนั ที่ รายการ รับ จ่าย คงเหลอื
1 พ.ย. x6 ยอดคงเหลอื ยกมา
300
รับเงินเดือนจากผปู้ กครอง
รับค่าทางานพเิ ศษ 2,000
5 พ.ย. x6 คา่ อาหาร 5 วนั
ค่าเดินทาง 1,000 3,300
10 พ.ย. x6 ซ้ือของใชเ้ บด็ เตลด็
ซ้ือรองเทา้ 220
คา่ อาหาร 5 วนั
20 พ.ย. x6 ซ้ือเส้ือนกั ศึกษา 200 2,880
ทาบุญท่ีวดั
คา่ อาหาร 10 วนั 180
ซ้ือบตั รเติมเงินโทรศพั ทม์ ือถือ
30 พ.ย. x6 จ่ายค่าหอพกั 300
คา่ อาหาร 10 วนั
รับค่าทางานพเิ ศษ 240 2,160
จ่ายค่าหนงั สือเรียน
รวม รับ, จ่าย และยอดคงเหลอื ยกไป 200

วนั ท่ี รายการ 50
1 ธ.ค. x6 ยอดคงเหลอื ยกมา
450

50 1,410

500

400

150

300 360

3,150 3,090 360

หนา้ 2

รับ จ่าย คงเหลอื

3,150 3,090 360

วนั ท่ี รายการ รับ จ่าย คงเหลอื
ยอดคงเหลอื ยกมา

รวม รับ, จ่าย และยอดคงเหลอื ยกไป

วนั ท่ี รายการ รับ จ่าย คงเหลอื
ยอดคงเหลอื ยกมา

รวม รับ, จ่าย และยอดคงเหลอื ยกไป


Click to View FlipBook Version