The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวชี้วัดที่ 13.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruuthane, 2021-04-21 09:43:30

ตัวชี้วัดที่ 13.2

ตัวชี้วัดที่ 13.2

ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) นวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่านเคลื่อนท่อี อนไลน์ By ชั้นหนงั สือ E-Book หนา้ 1

ตวั ชี้วดั ที่ 13
ระดับความสำเรจ็ ในการจดั ทำแผนการปฏบิ ัตงิ านท่ีดี (Best Practice)

ช่ือผลงาน นวัตกรรมส่งเสริมการอา่ นเคล่อื นท่อี อนไลน์ By ชัน้ หนังสอื E-Book

ชื่อผูเ้ สนอผลงาน นายอเุ ทน พุม่ จันทร์
ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลวารนิ ชำราบ
กศน.อำเภอวารินชำราบ กศน.ตำบลวารนิ ชำราบ
โทรศพั ท์ 081-7903394

E:mail [email protected]

1. ความเป็นมา/ความสำคญั ของผลงานหรือนวัตกรรมท่ีนำเสนอ
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

พันธกิจ
ข้อ 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรมเทคโนโลยที างการศึกษา การวดั และ

ประเมนิ ผลในทุกรปู แบบให้มีคณุ ภาพและมาตรฐานสอดคล้องกบั รูปแบบการจัดการเรียนรู้และบรบิ ท ในปัจจบุ ัน
ข้อ 3. สง่ เสริมและพฒั นาเทคโนโลยที างการศกึ ษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพอ่ื เพิ่มช่องทางและโอกาส การ

เรยี นรู้ รวมถึงการเพม่ิ ประสิทธิภาพในการจดั และใหบ้ ริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ ับ
ประชาชนกล่มุ เป้าหมายอย่างท่วั ถงึ

ขอ้ 4. สง่ เสริมสนบั สนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชงิ รกุ กบั ภาคีเครือขา่ ย ใหเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ในการ
สนับสนนุ และจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ใหก้ ับ
ประชาชน
เปา้ ประสงค์

ข้อ 3. ประชาชนได้รบั การพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่องทางการ
เรยี นรู้ และกจิ กรรมการเรยี นรรู้ ูปแบบตา่ ง ๆ รวมท้ังมีเจตคติทางสงั คม การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสม สามารถคดิ วเิ คราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนําไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจําวนั รวมถงึ การแกป้ ัญหาและ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ได้อย่างสร้างสรรค์

ข้อ 5. หนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาพัฒนาเพื่อ
เพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนํามาใชใ้ นการยกระดับคณุ ภาพในการจัดการเรยี นรแู้ ละโอกาสการเรยี นรู้ ให้กับประชาชน

ขอ้ 8. บคุ ลากร กศน. ทกุ ประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทกั ษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และ
การใหบ้ ริการทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถงึ การปฏิบตั งิ านตามสายงานอยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
จดุ เน้นการดาํ เนินงานประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2564

3. พัฒนาหลกั สูตร สอื่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา แหลง่ เรยี นรู้ และรปู แบบ การจัดการศกึ ษา
และการเรียนรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท เพื่อประโยชน์ตอ่ การจดั การศึกษาทเ่ี หมาะสม กับทุกกลุ่มเปา้ หมาย มคี วาม
ทนั สมยั สอดคล้องและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจบุ ัน ความต้องการ ของผเู้ รียน และสภาวะการเรยี นรู้
ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ท่จี ะเกิดข้ึนในอนาคต

ผลการปฏิบตั ิงานท่ีดี (Best Practice) นวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่านเคลอ่ื นที่ออนไลน์ By ช้นั หนงั สอื E-Book หน้า 2

3.1 พัฒนาระบบการเรยี นรู้ ONIE Digital Leaning Platform ที่รองรบั DEEP ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
และชอ่ งทางเรียนรรู้ ูปแบบอื่น ๆ ทัง้ Online On-site และ On-air

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้มปี ระกาศเรอ่ื ง ให้สถานศึกษาในสังกดั และในกำกับของกะทรวงศึกษาธิการ ปดิ เรยี น
ดว้ ยเหตผุ ลพิเศษ ประกาศ ณ วันท่ี 17 มนี าคม 2563 เนื่องจากเกิดสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนไม่สามารถดำเนนิ การได้ตามปกติ จำเปน็ ต้องหารปู แบบหรือ
วธิ กี ารจัดการเรยี นการสอนใหม้ คี วามเหมาะสมในสภาวะการณด์ งั กล่าวและสำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั ได้กำหนดมาตรการจดั ใหม้ ีการเรยี นการสอนให้กับนกั ศกึ ษา/ผู้รับบริการหลกั สูตรตา่ ง ๆ ทัง้
การศกึ ษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 และการศกึ ษาต่อเนอื่ ง ใน
รปู แบบ Online , e-Learning ในลักษณะตา่ ง ๆ เช่น การเรียนผา่ น Platform , Facebook Live นน้ั

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอวารนิ ชำราบ ได้สนองนโยบายการจดั กระบวนการ
เรียนรู้ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผา่ นระบบออนไลน์ เพอ่ื การพฒั นาการเรยี นรู้
และพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ กศน.ตำบล กศน.อำเภอ กลมุ่ เป้าหมาย ผู้รับบรกิ าร เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวิตสร้างสงั คมแห่ง
การอ่านการเรยี นรู้รปู แบบใหม่ ในแหลง่ เรียนรู้ กศน.ตำบล หอ้ งสมุด แหล่งเรียนรู้อ่นื ๆ ในชุมชน หมบู่ า้ น ตอ่ ไป ดังนั้น
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอวารินชำราบ ได้เห็นความสำคัญ และตระหนักในสิง่ เหล่าน้ี จงึ
ไดจ้ ัดทำนวตั กรรมส่งเสรมิ การอ่านเคลื่อนท่อี อนไลน์ By ช้ันหนงั สอื E-Book กศน.อำเภอวารนิ ชำราบ ข้ึนเพื่อใหส้ ง่ เสรมิ
บริการการอ่านสำหรบั ประชาชน นกั ศกึ ษา ตลอดจนบุคคลท่วั ไป

2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการดำเนินงาน
1) เพ่ือใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานราชการ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
2) เพ่ือใชเ้ ป็นนวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่านการเรียนรู้ พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ กศน.ตำบล และแหล่งเรยี นรู้ อ่นื ๆ

ใหท้ ันสมยั เรยี นรู้ได้ทุกท่ีทกุ เวลา โดยใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั

3. วิธกี ารดำเนินการ
3.1 กลุ่มเป้าหมาย
นกั ศกึ ษาและประชานทัว่ ไป

4. กระบวนการผลติ งานหรือขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน(วธิ ปี ฏิบัติที่เป็นเลศิ )
กระบวนการผลิตงานหรือข้ันตอนการดำเนินงาน ประกอบด้วย 4 ขน้ั ตอน (Deming : PDCA) คอื การวางแผน

(P) การปฏิบัติตามแผน (D) การตรวจสอบ (C) และการปรับปรุงแก้ไข (A) ดังนี้ กำหนดสาเหตุของปัญหา จากนั้น
วางแผนเพื่อการเปลี่ยนแปลงหรือทดสอบเพ่ือการปรับปรุงให้ดีข้ึน การปฏบิ ัตติ ามแผนหรือทดลองปฏิบัติเป็นการนำ
ร่องในส่วนย่อย ตรวจสอบเพื่อทราบว่าบรรลุผลตามแผนหรือหากมีสิ่งใดที่ทำผิดพลาดหรือได้เรียนรู้อะไรมาแล้ว
บ้าง ยอมรบั การเปลยี่ นแปลง หากบรรลุผลเปน็ ท่นี า่ พอใจหรือหากผลการปฏบิ ตั ิไม่เป็นไปตามแผน ใหท้ ำซ้ำวงจรโดยใช้การ
เรยี นรู้จากการกระทำในวงจรท่ีไดป้ ฏิบัติไปแล้ว

ผลการปฏิบตั ิงานทดี่ ี (Best Practice) นวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่านเคล่ือนทอี่ อนไลน์ By ชั้นหนงั สือ E-Book หนา้ 3

ผงั วงจร (Deming : PDCA)
1. ศึกษาสภาพ ปญั หา/สำรวจความตอ้ งการของผู้รบั บริการ

2. วิเคราะห์ความต้องการเรื่องทจี่ ดั ทำให้ผู้รบั บริการ P
สามารถนำไปปฏบิ ตั ิตอ่ การดำรงชวี ติ ได้จริง

3. นำขอ้ มูลที่วเิ คราะห์กำหนดกรอบ/แผนการดำเนินงาน D
4. ตรวจสอบความถกู ต้องสมบรู ณ์ของข้อมูล/จัดกิจกรรม

5. ประเมนิ ความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร/สังเกตุ/สัมภาษณ์ C
6. ติดตามผลการจัดกิจกรรม/การขยายผล/ผู้รับบรกิ าร

7. สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการ/เผยแพรผ่ ลงาน A
8. นำผลการดำเนนิ งานและข้อเสนอแนะมาปรับปรุง

ผลการปฏบิ ตั ิงานท่ีดี (Best Practice) นวัตกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นเคลื่อนท่ีออนไลน์ By ชัน้ หนังสอื E-Book หน้า 4

ขน้ั ตอนการดำเนนิ การสรา้ งนวัตกรรม ช้นั หนังสอื ออนไลน์เคลื่อนที่

ขน้ั ตอนท่ี 1 ขน้ั ตอนท่ี2

ขัน้ ตอนท่ี 3 ขน้ั ตอนที่ 4

ข้นั ตอนที่ 5 ขน้ั ตอนที่ 6

ผลการปฏิบตั ิงานที่ดี (Best Practice) นวตั กรรมส่งเสรมิ การอ่านเคลื่อนทอ่ี อนไลน์ By ชั้นหนงั สือ E-Book หนา้ 5

ขน้ั ตอนท่ี 7 ขั้นตอนท่ี 8

ขน้ั ตอนท่ี 9 ข้ันตอนท่ี 10

ขัน้ ตอนที่ 11 ขัน้ ตอนที่ 12

ผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ี (Best Practice) นวตั กรรมสง่ เสรมิ การอ่านเคลือ่ นท่อี อนไลน์ By ชน้ั หนังสือ E-Book หน้า 6

5. ผลการดำเนินงาน ผลสมั ฤทธิแ์ ละประโยชน์ที่ไดร้ ับ
ผลการดำเนินงาน
หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอวารนิ ชำราบ รว่ มกับ ครู กศน.ตำบลวารนิ ชำราบ

และกล่มุ งานอัธยาศัย ไดน้ ำนวัตกรรม ช้นั หนงั สอื E-Book ส่งเสรมิ การอา่ นออนไลนเ์ คลอื่ นที่ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน

ในแหลง่ เรยี นรู้ ชุมชน หมู่บา้ น ใหก้ บั กลุม่ เป้าหมาย เด็ก นักเรียน นกั ศึกษา กศน. ประชาชนท่ัวไป ไดร้ ับบริการความรู้

ผลสมั ฤทธต์ิ ามวตั ถุประสงค์

ท่ี วัตถุประสงคข์ องโครงการ/ สภาพความสำเรจ็ ผลการการดำเนินงาน

กจิ กรรม บรรลุ ไมบ่ รรลุ

1 เพือ่ ใชเ้ ป็นนวัตกรรมสง่ เสริมการ  แหลง่ เรยี นรู้ และกศน.ตำบล

อ่านการเรียนรู้ พัฒนาแหล่ง มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มที่เอื้อตอ่

เรยี นรู้ กศน.ตำบล และแหล่ง การเรียนรู้ กลุม่ เป้าหมาย เด็ก นักเรียน

เรยี นรู้ อืน่ ๆ ใหท้ ันสมัย เรยี นรู้ได้ นักศึกษา กศน. และประชาชนทัว่ ไป ได้

ทุกทท่ี ุกเวลา โดยใช้เทคโนโลยี เรยี นรู้กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นการเรียนรู้

ดิจทิ ลั ที่ทันสมัยด้วยนวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน

ออนไลนเ์ คลื่อนที่ โดยใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล

ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั
1) ผู้รับบริการและผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้อ่านหนังสือโดยใช้วิธีที่สะดวก ไม่ต้องอ่านหนังสือผ่านตัวเล่ม
หนงั สอื สแกนควิ อารโ์ ค๊ด ผา่ นทางโทรศพั ทม์ ือถอื อา่ นได้ทกุ ทที่ กุ เวลา
2) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านด้วย นวัตกรรม ชั้นหนังสือ E-Book ส่งเสริมการอ่านออนไลน์เคลื่อนที่ สามารถ
ประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมได้ทุกงาน กิจกรรมในชุมชน และแหล่งเรียนรู้ อื่น ๆ เช่น กิจกรรมจัดการเรียนการสอน กศน.
กิจกรรมการประชุมในชุมชนหมู่บ้าน งานบุญภายในวัด งานส่งเสริมการท่องเที่ยวเทศกาล กิจกรรมเคลื่อนที่ของส่วน
ราชการอำเภอย้ิมเคล่อื นท่ี

6. กลยุทธห์ รือปจั จยั ท่ีส่งผลให้ประสบผลสำเรจ็
6.1 การมีส่วนร่วมของครู ชมุ ชน ในการวิเคราะห์ข้อมลู พื้นฐานของชมุ ชน ทำให้รู้ สภาพปัญหา และความ

ตอ้ งการพฒั นาให้ไปสูเ่ ปา้ หมายทตี่ อ้ งการได้
6.2 การนำเอานวตั กรรม วัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ตลอดจนทรัพยากรในชมุ ชน เปน็ องคค์ วามรู้

พ้ืนฐานในการต่อยอดความรู้ให้เกดิ การพัฒนา
6.3 การสร้างนวตั กรรมส่งเสริมการอ่าน คร้ังนี้ ดำเนนิ การตามแนวทางของ เดมม่ิง (Deming Cycle : PDCA )

ซ่งึ เปน็ การดำเนินการอยา่ งเป็นระบบ สามารถตรวจสอบไปไดท้ กุ ขน้ั ตอน โดยเร่มิ ตั้งแต่การวเิ คราะห์สภาพปัญหา และ
ความต้องการของนักศึกษา รวมทัง้ การมสี ่วนรว่ มในการวางแผนออกแบบกิจกรรม ตลอดจนการติดตามประเมินผลทุก
ขั้นตอน จงึ ทำให้สามารถพฒั นากลุม่ เป้าหมายได้บรรลุตามตวั ชว้ี ัด

ผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีดี (Best Practice) นวัตกรรมสง่ เสรมิ การอ่านเคลอื่ นที่ออนไลน์ By ชน้ั หนังสอื E-Book หนา้ 7

7. ทำไมถึงเลือกเป็น Best Practice
เน่อื งดว้ ย ช้ันหนงั สือ E-Book ส่งเสริมการอา่ นออนไลน์เคลื่อนที่ เปน็ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นที่ได้รับความนิยม

จากผูร้ ับบริการ ซึ่งกลุ่มเปา้ หมายที่เข้าร่วมกจิ กรรมให้ความสนใจเป็นพิเศษเพราะเปน็ กิจกรรมรูปแบบใหม่ จดั กจิ กรรมได้
ทกุ ที่ทกุ เวลา ผา่ นระบบออนไลน์ ซึ่งสามารถพัฒนานวัตกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นนี้ ใหท้ ันสมัยตลอดเวลา และพฒั นาต่อยอด
ไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง โดยมปี ระโยชนต์ อ่ การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้

7.1) พฒั นาแหล่งเรยี นรใู้ ห้มบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้
7.2) ส่งเสริมการจดั การเรียนรทู้ ท่ี นั สมยั และมปี ระสิทธภิ าพ
7.3) พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชนต์ อ่ การจดั การศึกษาผ่านระบบออนไลน์
7.4) พัฒนาศักยภาพคนดา้ นทกั ษะและความเขา้ ใจในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล
8. บทเรียนท่ีไดร้ บั
ขา้ พเจ้าได้พฒั นาและสร้างนวัตกรรมส่งเสริมการอ่านด้วยวัสดุและอปุ กรณ์สำนักงาน และของใช้ทว่ั ไป สำหรบั
จัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านออนไลนเ์ คล่ือนที่ นำกิจกรรมรูปแบบใหม่ ออกแบบกิจกรรมทเี่ หมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมายใน
พ้ืนท่ี ใหส้ ามารถนำไปประยุกตใ์ ช้จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านการเรียนรู้ได้หลากหลายสถานที่ ทีเ่ ปน็ แหล่งเรยี นรู้

9. ข้อเสนอแนะ
9.1 ควรจดั ใหม้ ีอุปกรณเ์ ครือ่ งเสียงในการออกจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน

10. เอกสารอ้างอิง
นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงานของสำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

ประจำปงี บประมาณ 2564 (ระบบออนไลน์) http://www.nfe.go.th/onie2019/
(วันทคี่ น้ ข้อมลู 12 มี.ค 2564)

เผยแพรห่ นา้ หลักของบทเรยี นออนไลน์ โดยนายอเุ ทน พุ่มจันทร์ ครู กศน.ตำบล
https://www.facebook.com/AA-22200025-102836757934799 (วันทค่ี น้ ขอ้ มลู 14 กรกฎาคม 2563)

11. การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรับ/รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ
ขา้ พเจ้า นายอเุ ทน พุ่มจันทร์ ไดม้ ีการเผยแพร่นวตั กรรมส่งเสริมการอ่านเคลือ่ นท่อี อนไลน์ By ช้ันหนงั สือ

E-Book ผ่านหน้าเพจ เทศบาลตำบลวารินชำราบ https://www.facebook.com/AA-22200025-102836757934799
และกลุม่ Line นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลวารนิ ชำราบ และกลมุ่ Line นกั ศึกษา ครูอุเทน พุ่มจนั ทร์

ผลการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) นวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่านเคล่ือนท่อี อนไลน์ By ชนั้ หนังสอื E-Book หน้า 8

รางวลั ทีไ่ ด้รบั ในการประกวดนวัตกรรมการปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practice)

ชอ่ื ผลงาน นวัตกรรมส่งเสริมการอ่านเคล่อื นทอ่ี อนไลน์ By ชั้นหนงั สือ E-Book
โดย นายอุเทน พมุ่ จันทร์ ครู กศน.ตำบลวารนิ ชำราบ

ผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ี (Best Practice) นวัตกรรมส่งเสรมิ การอา่ นเคลอื่ นท่อี อนไลน์ By ช้ันหนงั สือ E-Book หน้า 9

ภาพการจัดกจิ กรรม

นวัตกรรมส่งเสริมการอา่ นเคลื่อนท่ีออนไลน์ By ชน้ั หนังสือ E-Book

ผลการปฏบิ ตั ิงานทดี่ ี (Best Practice) นวตั กรรมส่งเสรมิ การอ่านเคล่ือนทอี่ อนไลน์ By ชั้นหนังสอื E-Book หนา้ 10

ท่ีปรกึ ษา เมฆา คณะผูจ้ ัดทำ
นางมัจฉา คงอ่อน
นางสาวรุจิรา โพธิสาร ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอวารินชำราบ
นายไชยวตั ร ขนั คำ บรรณารักษ์ชำนาญการพิเศษ
นางสาวนลิน ครู
ครูผชู้ ว่ ย

รวบรวมข้อมลู /วเิ คราะห์/พิมพ์ ครู กศน.ตำบลวารินชำราบ
นายอเุ ทน พุ่มจันทร์

ผลการปฏิบตั งิ านทีด่ ี (Best Practice) นวตั กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นเคลื่อนทอี่ อนไลน์ By ชั้นหนังสอื E-Book หนา้ 11

ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) นวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่านเคลื่อนท่อี อนไลน์ By ช้นั หนงั สอื E-Book หนา้ 12

ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) นวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่านเคลื่อนท่อี อนไลน์ By ช้นั หนงั สอื E-Book หนา้ 13


Click to View FlipBook Version