โครงการตามพระราชดำ ริ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙
คำ นำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ว.20204 คณะผู้จัดทำ ได้ยกโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริเพื่อให้ผู้อ่านได้ ทราบข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานตามพระราชดำ ริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบ ศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร คณะผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะประโยชน์จน์ากหนังสือE-bookเล่มนี้ไม่มากน้อน้ย แก้ผู้คนที่สนใจ หากหนังสือเล่มนี้ผิดพลาดประการใดคณะผู้จัดทำ ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทำ
สารบัญ เรื่อง หน้า น้ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ ประวัติความเป็นมาของโครงการ ประเภทโครงการต่างๆ 1 1 1 โครงการแกล้งดิน โครงการปลูกหญ้าแฝก โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน โครงการสารานุกนุรมไทยสำ หรับเยาวชน โครงการพระราชดำ ริปางตอง 2(ปางอุ๋ง) แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการฝนหลวง กังหันน้ำ ชัยพัฒนา โครงการเเก้มลิง โครงการฝายชะลอน้ำ 2 3 4 5 6 7 8 9 11 10 เอกสารอ้างอิง 12
ประวัติความเป็นมาของโครงการ พระมหากรุณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานแก่ปวงราษฎรไทยทั้งหลาย ในระยะต้นแห่งการเสด็จขึ้น เถลิงถวัลยสิริราชสมบัตินั้นเป็นพระราชดำ ริด้านการแพทย์และงานสังคมสงเคราะห์เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากในระยะต้นรัชกาลนั้นกิจการด้านการ แพทย์ของไทยยังไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควรและการบริการ สาธารณสุขในชนบทยังมิได้แพร่หลาย เฉกเช่นปัจจุบัน พระราชกรณียกิจช่วงแรก เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๓- ๒๕๐๕ จะเป็นการช่วยเหลือบรรเทาปัญหาเฉพาะหน้าไม่มีลักษณะ เป็นโครงการเต็มรูปแบบอย่างปัจจุบัน โครงการด้านต่างๆ โครงการตามพระราชดำ ริ โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงวางแผนพัฒนา และทรงเสนอแนะให้รัฐบาลหรือหน่วยงานราชการพิจารณาความเป็นไปได้ และร่วมดำ เนินการ เพื่อพัฒนาชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน ต่อมาได้เปลี่ยนใช้คำ ว่า "โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ" เป็นส่วนใหญ่เญ่ ป็นโครงการเต็มรูปแบบอย่างปัจจุบัน ประเภทโครงการต่างๆ โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ 3,248 โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาด้านการเกษตร 170 โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาด้านส่งเสริม อาชีพ 339 โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 182 โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 182 โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข 58 โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาด้านคมนาคม 87 โครงการ/กิจกรรม สวัสดิการสังคม/การศึกษา 398 โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาบรูณาการอื่นๆ 259 โครงการ/กิจกรรม 1
การแกล้งดินเป็นการเร่งทำ ให้ดินเปรี้ยวเป็นกรดจัดรุนแรงที่สุด จนไม่สามารถปลูกพืช เศรษฐกิจได้จากนั้นหาวิธี การปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดรุนแรงที่สุด ให้สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได้ โดยอาศัยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้ 1. การปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกข้าว • การใช้น้ำ ล้างความเป็นกรด ในปีแรกข้าวเจริญเติบโต แต่ให้ผลผลิตต่ำ และผลผลิตเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในปีต่อมา ช่วงเวลาของการขังน้ำ และระบายน้ำ ทิ้งที่เหมาะสมคือ 4 สัปดาห์ • การใส่หินปูนฝุ่น ข้าวเจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีกว่า การใส่หินปูนอัตราครึ่งหนึ่งของความต้องการปูน (1.5 ตัน/ไร่) ข้าวให้ผลผลิตเทียบเท่ากับการใส่ปูนเต็มอัตราแนะนำ • การใส่ปูนอัตราต่ำ (ครึ่งหนึ่งของความต้องการปูน) เพื่อสะเทินกรด ควบคู่กับการขังน้ำ แล้วเปลี่ยนน้ำ ทุก ๆ 4 สัปดาห์ ข้าวจะให้ผลผลิตดีที่สุด 2. การปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกพืชไร่ พืชผัก • โดยใส่หินปูนฝุ่นอัตรา 2 ตัน/ไร่ ร่วมกับการใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมีอัตราแนะนำ 3. การปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกไม้ผล • ควรขุดยกร่องเพื่อป้องกันน้ำ ท่วมและช่วยล้างกรด บนคันดินลงสู่คูด้านล่างควรปรับปรุงดินบริเวณสันร่องก่อน โดยหว่านหินปูนฝุ่นอัตรา 2 ตัน/ไร่ เพื่อสะเทินกรด ก่อนปลูกพืชรองก้นหลุมด้วยปูนขาวหรือหินปูนฝุ่นร่วม กับปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ไม้ผลที่ทดลองปลูกได้ผลดี คือ มะพร้าวน้ำ หอม ละมุด กระท้อน ชมพู่ 4. จากการทดลองปรับปรุงดินแล้วไม่ใช้ประโยชน์ต่อเนื่อง พบว่าดินจะเปรี้ยวจัดรุนแรงอีก 5. ดินเปรี้ยวจัดในสภาพที่ไม่ถูกรบกวน ความเป็นกรดจะเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ และพืชพรรณธรรมชาติที่ทนทาน ความเป็นกรดขึ้นได้หลายชนิด โครงการแกล้งดินดิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาบ พิตร พระราชทานพระราชดำ ริให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ดำ เนินการศึกษาทดลองเพื่อหาวิธีการปรับปรุงดินเปรี้ยวให้สามารถ ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา 2
โครงการปลูก ลู หญ้า ญ้ แฝก เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2534 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกา ธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรได้พระราชทาน พระราชดำ ริเกี่ยวกับหญ้าแฝกเป็นครั้งแรกกับ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ กปร. ในขณะนั้นว่า ให้ทำ การศึกษาทดลองปลูกหญ้าแฝก เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและอนุรักษ์ความชุ่มชื้นไว้ในดิน หญ้าแฝก เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตระกูลหญ้าชนิดหนึ่ง ซึ่งพบกระจายอยู่ทั่วไปหลายพื้นที่ตามธรรมชาติ จากการ สำ รวจพบว่า มีกระจายอยู่ทั่วโลกประมาณ 12 ชนิดและสำ รวจพบในประเทศไทย 2 ชนิด ได้แก่ 1.กลุ่มพันธุ์หญ้าแฝกลุ่ม ได้แก่ พันธุ์สุราษฎร์ธานี กำ แพงเพชร ศรีลังกา สงขลา และพระราชทาน ฯลฯ 2. กลุ่มพันธุ์หญ้าแฝกดอน ได้แก่ พันธุ์ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ร้อยเอ็ด กำ แพงเพชร นครสวรรค์ และเลย ฯลฯ หญ้าแฝกเป็นหญ้าที่ขึ้นเป็นกอ หน่อเบียดกันแน่น ใบของหญ้าแฝกมีลักษณะ แคบยาว ขอบขนานปลายสอบแหลม ด้านท้องใบจะมีสีจางกว่าด้านหลังใบ มี รากเป็นระบบรากฝอยที่สานกัน แน่นยาว หยั่งลึกในดิน มีข้อดอกตั้ง ประกอบ ด้วยดอกขนาดเล็ก ดอกจำ นวนครึ่งหนึ่งเป็นหมัน การที่หญ้าแฝกถูกนำ มาใช้ปลูกในการอนุรักษ์ดินและน้ำ เนื่องมาจากมีลักษณะเด่นหลายประการ ดังนี้ 1.มีการแตกหน่อรวมเป็นกอ เบียดกันแน่น ไม่แผ่ขยายด้านข้าง 2.มีการแตกหน่อและใบใหม่ ไม่ต้องดูแลมาก 3.หญ้าแฝกมีข้อที่ลำ ต้นถี่ ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อได้ตลอดปี 4.ส่วนใหญ่ไม่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ทำ ให้ควบคุมการแพร่ขยายได้ 5.มีใบยาว ตัดและแตกใหม่ง่าย แข็งแรงและทนต่อการย่อยสลาย 6.ระบบรากยาว สานกันแน่น และช่วยอุ้มน้ำ 7.บริเวณรากเป็นที่อาศัยของจุลินทรีย์ 8.ปรับตัวกับสภาพต่าง ๆ ได้ดี ทนทานต่อโรคพืชทั่วไป 9.ส่วนที่เจริญต่ำ กว่าผิวดิน ช่วยให้อยู่รอดได้ดีในสภาพต่าง ๆ 3
โครงการหน่ว น่ ยแพทย์พ ย์ ระราชทาน โครงการแพทย์หลวงพระราชทาน เริ่มเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ เพื่อ ตรวจรักษาราษฎรในท้องถิ่น ทุรกันดาร โดยไม่คิดมูลค่า และถ้าจำ เป็นก็จัดส่งไป ยังโรงพยาบาลในจังหวัดต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จแปรพระราชฐานประทับแรม และในท้องถิ่น ต่างๆ ที่ห่างไกลตัวเมืองมาก แม้ว่าการบริการของรัฐด้านสาธารณสุข จะขยาย ตัวอย่างรวดเร็วในระยะยี่สิบปีที่ผ่านมา ทั้งในด้านการ รักษาพยาบาล การป้องกันโรคติดต่อ และการส่งเสริมมสุขภาพอนามัย แต่เมื่อพิจารณาถึง การกระจายบริการดังกล่าว พบว่าราษฎรยังขาดแคลน บริการสาธารณสุขขั้นมูลฐานอย่างมาก เมื่อเปรียบเทียบ กับเมืองใหญ่ๆ จะเห็นได้ว่าอัตราการตาย จากโรคที่ป้องกันได้ อัตราการตายของมารดา อัตราของ เด็กขาดอาหาร มีอยู่ในอัตราที่สูง และหากพิจารณา อัตราส่วนของแพทย์ต่อประชากร จะเห็นสภาพปัญหา ด้านสาธารณสุขได้ชัดเจนยิ่งขึ้น กล่าวคือ ในขณะที่กรุงเทพมหานคร มีแพทย์ ๑ คน ต่อประชากร ๙๙๘ คน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และ ภาคใต้ แพทย์ ๑ คน จะต้องบริการราษฎรถึง ๒๖,๑๒๘ คน ๑๒,๙๔๒ คน และ ๑๔,๖๔๓ คน ตาม ลำ ดับ 4
โครงการสารานุก นุ รมไทยสำ หรับ รั เยาวชน สารานุกรมไทยสำ หรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เป็นสารานุกรมภาษาไทยจัดทำ ขึ้นเป็นรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาบาง ส่วนเผยแพร่ในระบบออนไลน์ เป็นสารานุกรมไทยแบบเป็นชุด เน้นความรู้ที่ เกิดขึ้นและใช้อยู่ในประเทศไทย จัดทำ โดยคนไทย เพื่อให้คนไทยทุกเพศ ทุกวัยมีโอกาสได้อ่าน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำ ริที่สำ คัญแก่เยาวชน ได้แก่ โครงการ สารานุกรมไทยสำ หรับเยาวชน โดยทรงมีวัตถุประสงค์ให้เป็น หนังสือความรู้ที่เหมาะแก่เด็กในวัยต่างๆ รวมทั้งผู้ใหญ่ก็สามารถ ใช้ประโยชน์ได้ โดยพระองค์ทรงกำ หนดหลักการทำ คำ อธิบายเรื่อง ต่างๆ แต่ละเรื่องเป็นสามตอนหรือสามระดับ สำ หรับให้เด็กรุ่นเล็ก อ่านเข้าใจระดับหนึ่ ง สำ หรับเด็กรุ่นกลางอ่านเข้าใจได้ระดับหนึ่ง และสำ หรับเด็กรุ่นใหญ่ รวมถึงผู้ใหญ่ผู้สนใจอ่านได้อีกระดับหนึ่ง เพื่ออำ นวยโอกาสให้บิดามารดาสามารถใช้หนังสือนั้น เป็นเครื่อง มือแนะนำ วิชาแก่บุตรธิดา และให้พี่แนะนำ วิชาแก่น้องเป็นลำ ดับ กันลงไป นอกจากนั้น เมื่อเรื่องหนึ่งเรื่องใดมีความเกี่ยวพันต่อ เนื่องถึงเรื่องอื่นๆ ก็ให้อ้างอิงถึงเรื่องนั้นๆ ด้วยทุกเรื่องไป ด้วย ประสงค์ จะให้ผู้ศึกษาทราบและตระหนักว่าวิชาการแต่ละสาขามี ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องถึงกัน ควรศึกษาให้ครบถ้วนทั่วถึง เป็น หนังสือที่ให้ความรู้ในวิชาการทุกสาขา และแต่ละสาขามีความ สัมพันธ์กัน จึงเป็นหนังสือที่ได้ประโยชน์จริง ๆ แก่ทุกฝ่าย 5
โครงการพระราชดำ ริปริางตอง 2(ปางอุ๋ง) เป็นโครงการในพระราชดำ ริของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ทรงเล็งเห็นว่า พื้นที่บริเวณนี้ อยู่ติดกับแนวชายแดนประเทศเมียนมาร์ ซึ่งเป็นพื้นที่อันตราย เพราะมีกองกำ ลัง ต่างๆ มีการขนส่งอาวุธ ปลูกพืชเสพติด รวมถึงบุกรุกทำ ลายป่าไม้อยู่เสมอ จึง โปรดให้รวบรวมราษฎรบริเวณนี้ โดยมีพระราชประสงค์เพื่อสร้างความมั่นคงตาม แนวชายแดน พร้อมพัฒนาความเป็นอยู่ สร้างอ่างเก็บน้ำ และฟื้นฟูอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์อย่างยั่งยืน 6 ปัจจุบันปางอุ๋งเป็นหนึ่งที่ท่องเที่ยวอันดับต้นๆของจ.แม่ฮ่องสอน เนื่องจากมีบรรยากาศโรแมนทิคแทบทุกพื้นที่ทิวสนสูงใหญ่ เมื่อตัดกับผืนน้ำ ช่างงดงามยิ่งนัก ปางอุ๋ง จึงได้รับขนานนามว่า เป็น "สวิทเซอร์แลนด์แห่งเมืองไทย" ไฮไลท์อยู่ที่บรรยากาศยาม เช้า จะมีไอหมอกจางๆ ลอยขึ้นเหนือผืนน้ำ มีหงษ์สีดำ /ขาว มากมาย ซึ่งทางโครงการฯ เลี้ยงไว้ ต่างเล่นน้ำ แหวกว่ายชูคอ อย่างมีความสุข วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้มีอยู่ในอัตราส่วนที่เหมาะสมที่จะรักษาดุลธรรมชาติ เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ดิน ป่าไม้ และสัตว์ป่า เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในท้องถิ่น เพื่อสร้างจิตสำ นึกให้ประชาชนเกิดความรัก หวงแหน รู้ถึงคุณประโยชน์ของป่าไม้ เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2527 ให้มีการปรับปรุงสภาพป่าบริเวณรอบ ๆ พื้นที่ที่จะสร้างอ่างเก็บน้ำ ห้วยปางตองและฝายปางอุ๋ง ตำ บลหมอกจำ แป่ อำ เภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กรมป่าไม้ ในขณะนั้นจึงได้จัดตั้งโครงการขึ้นมา เพื่อฟื้นฟูป่าตามพระราชดำ ริดังกล่าว โดยได้เริ่มดำ เนินการปลูกและฟื้นฟูสภาพป่า ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2528 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่ "ทฤษฎีใหม่" เป็นแนวทางหรือหลักในการบริหารจัดการที่ดิน และน้ำ เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำ รินี้เพื่อเป็นการช่วยเหลือเกษตรกร ที่ประสบความยากลำ บาก ให้สามารถผ่านช่วงวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำ ได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลำ บากนัก การดำ เนินงานตามทฤษฎีใหม่มี 3 ขั้นตอน คือ 1 ) การผลิต ให้พึ่งตนเองด้วยวิธีง่าย ค่อยเป็นค่อยไปตามกำ ลัง ให้พอมีพอกิน 2 ) การรวมพลังกันในรูปแบบ หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกัน ในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา 3 ) การดำ เนินธุรกิจโดยติดต่อ ประสานงาน จัดหาทุนหรือแหล่งเงิน ในขั้นแรกที่เป็นการผลิต ถือเป็นขั้นสำ คัญที่สุด ให้แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ตาม อัตราส่วน 30 : 30 : 30 : 10 ดังนี้ หลักการและแนวทางสำ คัญในการดำ เนินงานเกษตรตาม แนว"ทฤษฎีใหม่" ที่ควรทราบมีดังนี้ - เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถ เลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน - ต้องมีพื้นที่ส่วนหนึ่งทำ นาข้าว เพราะข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือน ต้องปลูก เพื่อให้มีข้าวพอบริโภคตลอดทั้งปี - ต้องมีน้ำ สำ รองไว้ใช้เพียงพอตลอดปี เพื่อการเพาะปลูกในระยะฝนทิ้ง ช่วง หรือในฤดูแล้ง - ใช้อัตราส่วน30 : 30 : 30 : 10 ในการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ไม่ว่าจะมีพื้นที่ถ์อครองน้อยกว่าหรือมากกว่า 15 ไร่ คือ 30 % ใช้ขุดสระเก็บกักน้ำ 30 % ใช้ปลูกข้าว 30 % ใช้ปลูกพืชผัก ผลไม้ พืชไร่ ไม้ยืนต้น 10 % ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและอื่นๆ 7
ในวันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 เสด็จ พระราชดำ เนินโดยรถยนต์เดลาเฮย์ ซีดานสีเขียว จาก จังหวัดนครพนมไปจังหวัดกาฬสินธุ์ ผ่านจังหวัด สกลนครและเทือกเขาภูพาน ได้ทรงรับทราบถึงความ เดือดร้อน ทุกข์ยากของราษฎร และเกษตรที่ขาดแคลน น้ำ อุปโภคบริโภค และการเกษตรเมื่อเสด็พระราชดำ เนิน กลับถึงกรุงเทพมหานคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล วิศวกรและนักประดิษฐ์ ควายเหล็กที่มีชื่อเสียงเข้าเฝ้าฝ้ฯ แล้วพระราชทานแนว ความคิดนั้นแก่หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุลจาก ทฤษฎีเริ่มแรกที่เกิดขึ้นหลังจากพระราชดำ ริ พระบาท สมเด็จ โครงการฝนหลวง โครงการพระราชดำ ริฝนหลวง เกิดขึ้นจากพระ ราชดำ ริส่วนพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดิ นทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เมื่อคราวเสด็จ พระราชดำ เนินเยี่ยมราษฎรในพื้นที่แห้งแล้งทุรกันดาร 15 จังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ 2-20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช ยังทรงใช้เวลาอีก 14 ปี ในการวิเคราะห์วิจัย ทบทวน เอกสาร รายงานผลการศึกษาและข้อมูลต่างๆ พระราชทานให้ หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล เพื่อ ประกอบการค้นคว้าทดลองมาโดยตลอดจาก พ.ศ. 2498 เป็นป็ต้นมา ทรงศึกษาค้นคว้าและวิจัย ทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ ซี่งทรงรอบรู้และเชี่ยวชาญ เป็นป็ที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ จนทรงมั่นพระทัยจึงพระราชทานแนวคิดนี้แก่ หม่อมราชวงศ์เทพ ฤทธิ์ เทวกุล ผู้เชี่ยวชาญในการวิจัยประดิษฐ์ทางด้านเกษตรวิศวกรรม ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ขณะนั้น ในปีถัปี ถัดมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทำ ให้เกิด การทดลองปฏิบัติการในท้องฟ้าฟ้ให้เป็นป็ ไปได้การทดลองในท้องฟ้าฟ้เป็นป็ครั้งแรก จนถึงปี 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดตั้งหน่วยบินปราบศัตรูพืชกรมการข้าวและพร้อมที่จะให้การ สนับสนุนในการสนองพระราชประสงค์ หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล จึงได้นำ ความขึ้น กราบ บังคมทูลพระกรุณาทรงทราบ 8
กังหันน้ำ ชัยพัฒนา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความรุนแรงของ ปัญปัหาที่เกิดขึ้น และทรงห่วงใยต่อพสกนิกรที่ต้องเผชิญในเรื่อง ดังกล่าวเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2531 ได้พระราชทานพระราชดำ ริ นการแก้ไขปัญปัหาน้ำ เสียด้วยการใช้เครื่องกลเติมอากาศโดย พระราชทานรูปแบบสิ่งประดิษฐ์ที่เรียบง่ายแต่มีประสิทธิภาพสูงใน การบำ บัดน้ำ เสียซึ่งเป็นป็ที่รู้จักกันดีในชื่อกังหันน้ำ ชัยพัฒนาและนำ มาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพน้ำ ตามสถานที่ต่างๆทั่วทุกภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยในความเดือดร้อน ทุกข์ยากที่เกิดขึ้นนี้ ได้เสด็จพระราชดำ เนินทอดพระเนตร สภาพน้ำ เสียในพื้นที่หลายแห่งหลายครั้งทั้งในเขต กรุงเทพมหานครปริมณฑลและต่างจังหวัดพร้อมทั้ง พระราชทานพระราชดำ ริเกี่ยวกับการแก้ไขน้ำ เน่าเสียในระยะ แรกระหว่างปี พ.ศ. 2527-2530 ทรงแนะนำ ให้ใช้น้ำ ที่มี คุณภาพดีช่วยบรรเทาน้ำ เสียและวิธีกรองน้ำ เสียด้วยผักตบ ชวาและพืชน้ำ ต่างๆซึ่งก็สามารถช่วยแก้ไขปัญปัหาได้ผลใน ระดับหนึ่งกังหันน้ำ พระราชทาน ต่อมาในช่วงปี พ.ศ.2531 เป็นป็ต้นมา สภาพความเน่าเสียของน้ำ บริเวณต่างๆ มีอัตราแนวโน้ม รุนแรงมากยิ่งขึ้น การใช้วิธีธรรมชาติไม่อาจบรรเทาความเน่าเสียของน้ำ อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ ควร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงขอพระราชทานพระราชดำ ริให้ประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศ แบบประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถผลิตได้เองในประเทศ ซึ่งมีรูปแบบ "ไทยทำ ไทยใช้"โดยทรงได้ แนวทางจาก "หลุก" ซึ่งเป็นป็อุปกรณ์วิดน้ำ เข้านาอันเป็นป็ภูมิปัญปัญาชาวบ้านเป็นป็จุดคิดค้นเบื้องต้น และทรงมุ่งหวังที่จะช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาลในการบรรเทาน้ำ เน่าเสียอีกทางหนึ่งด้วย การนี้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุนงบประมาณ เพื่อการศึกษาและ วิจัยสิ่งประดิษฐ์ใหม่นี้ โดยดำ เนินการจัดสร้างเครื่องมือบำ บัดน้ำ เสียร่วมกับกรมชลประทาน ซึ่งได้มี การผลิตเครื่องกลเติมอากาศขึ้นในเวลาต่อมา และรู้จักกันแพร่หลายทั่วไประเทศในปัจปัจุบันคือ "กังหันน้ำ ชัยพัฒนา" 9
โครงการเเก้มลิง “แก้มลิง” เป็นป็ โครงการอเนกประสงค์สำ คัญยิ่ง เพราะไม่เพียงแต่ช่วยบรรเทาอุทกภัยให้กับพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเท่านั้น แต่ยังช่วยระบายน้ำ จากภาคเหนือลงสู่อ่าวไทย ตามจังหวะการขึ้นลงของระดับน้ำ ทะเล โดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกและการสูบน้ำ ที่เหมาะสม ทั้ง ยังเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ ตามคู คลองธรรมชาติในช่วงฤดูฝนอีกด้วย นอกจากนี้โครงการแก้มลิงยังช่วยป้อป้งกันการรุกล้ำ ของน้ำ เค็มในช่วงฤดูแล้ง ไม่ให้น้ำ เค็มจาก ทะเลไหลเข้าสู่แม่น้ำ ลำ คลองและพื้นที่การเกษตร รวมทั้งแก้มลิงยังสามารถเก็บกักน้ำ จืดไว้ด้านเหนือ ประตูระบายน้ำ ประชาชนจึงสามารถนำ น้ำ ไปใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตรกรรมอุตสาหกรรม และ การอุปโภคบริโภคอีกด้วยที่สำ คัญโครงการแก้มลิงยังมีส่วนสำ คัญในการช่วยอนุรักษ์น้ำ และสิ่ง แวดล้อม เนื่องจากน้ำ ที่ถูกกักเก็บไว้ในแก้มลิงต่างๆ เมื่อถูกระบายสู่คู คลอง จะไปช่วยบำ บัดน้ำ เน่าเสียให้เจือจางลง กระทั่งผลักดันให้น้ำ เน่าเสียเดิมที่มีอยู่ ถูกระบายออกไปได้ใน ที่สุดและแม้วันนี้พระองค์จะเสด็จสู่สวรรคาลัย แต่พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่จะสถิตอยู่ในใจคน ไทยชั่วกาลนาน ไม่ต่างจากโครงการพระราชดำ ริต่าง ๆ ที่จะก่อเกิดประโยชน์แก่ลูกหลานเราสืบไป ด้วยสำ นึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ โครงการพระราชดำ ริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงมีพระราชดำ ริ ไว้แก้ปัญปัหาอุทกภัยในประเทศไทยและยังคงใช้เป็นป็แนวทางการแก้ ปัญปัหาน้ำ ท่วมจวบจนปัจปัจุบัน ปัญปัหาน้ำ ท่วมในประเทศไทยเป็นป็ ปัญปัหาที่เรื้อรังมายาวนาน และตั้งแต่เกิดเหตุการณ์น้ำ ท่วมครั้งใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร และเขตปริมณฑลยาวนานกว่า 2 เดือน เมื่อปี พ.ศ. 2538 พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร จึงมีพระราชดำ ริจัดทำ โครงการแก้มลิง เพื่อช่วย บรรเทาปัญปัหาอุทกภัย โดยอิงจากหลักการกินกล้วยของฝูงลิง 10
โครงการฝายชะลอน้ำ พิจารณาดำ เนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายในท้องถิ่น เช่น แบบทิ้งหินคลุมด้วยตาข่ายปิดปิกั้นร่องน้ำ กับลำ ธารเล็ก ๆ เป็นป็ระยะ ๆ เพื่อให้เก็บกักน้ำ และตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน้ำ ที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไปในดินทำ ให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยายออกไป ทั้งสองข้าง ต่อไปจะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ป้อป้งกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็ว และพันธุ์ไม้ไม่ทิ้งใบ เพื่อฟื้นฟื้ ฟูที่ต้นน้ำ ลำ ธารให้มีสภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นป็ลำ ดับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความสำ คัญของการอยู่รอดของป่าป่ ไม้เป็นป็ อย่างยิ่ง ทรงเสนออุปกรณ์อันเป็นป็เครื่องมือที่จะใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์และฟื้นฟื้ ฟูป่าป่ ไม้ที่ได้ ผลดียิ่งกล่าวคือ ปัญปัหาสำ คัญที่เป็นป็ตัวแปรแห่งความอยู่รอดของป่าป่ ไม้นั้น น้ำ คือสิ่งที่ ขาดไม่ได้โดยแท้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแนะนำ ให้ใช้ฝายกั้นน้ำ หรือเรียกว่า Check Dam หรืออาจเรียกขานกันว่าฝายชะลอความชุ่มชื้นก็ได้เช่นกัน 11
เอกสารอ้างอิง 12 ประวัติ ความเป็นมาของโครงการ สืบค้นจาก https://bit.ly/3ZkhpX5 ( 7 พฤศจิกายน 2565) โครงการแกล้งดิน สืบค้นจาก https://bit.ly/3ikjHF9 ( 7 พฤศจิกายน 2565) ประเภทโครงการต่างๆ สืบค้นจาก https://bit.ly/3ZkhpX5 ( 7 พฤศจิกายน 2565) โครงการปลูกหญ้าแฝก สืบค้นจาก https://bit.ly/3ij0ljH (9 เมษายน 2561) โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน สืบค้นจาก https://bit.ly/3W14Bln ( 21 พฤศจิกายน 2565) โครงการสารานุกนุรมไทยสำ หรับเยาวชน สืบค้นจาก https://bit.ly/3Xy3XgL ( 15 ธันวาคม 2565) แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่ สืบค้นจากhttps://bit.ly/3vOnflW (15 ธันวาคม 2565) โครงการฝนหลวง สืบค้นจาก https://bit.ly/3vRg0tD ( 19 ธันวาคม 2565) กังหันน้ำ ชัยพัฒนาสืบค้นจาก https://bit.ly/3iuYecp ( 7 พฤศจิกายน 2565) โครงการเเก้มลิง สืบค้นจากhttps://bit.ly/3vPe98C ( 19 ธันวาคม 2565) โครงการฝายชะลอน้ำ สืบค้นจากhttps://bit.ly/3IQI2xd (20 ธันวาคม 2564) โครงการพระราชดำ ริปางตอง 2(ปางอุ๋ง) สืบค้นจาก http://royal-project.maehongson.go.th ( 19 ธันวาคม 2565)
คณะ ผู้จัดทำ เด็กชาย จิรกร เลิศประวัติ เลขที่ 4 2/2 เด็กชาย วิริยะ แสงรัมย์ เลขที่ 14 2/2 เด็กชาย อัจฉริยวัฒน์ ดาวแก้ว เลขที่ 15 2/2
“คำ ว่าพอเพียงความหมายอีกอย่างหนึ่ง มีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการ มีพอสำ หรับใช้เองเท่านั้น แต่มีความหมายว่า พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง”