The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surassavadee.su, 2022-10-04 11:14:51

เอกสาร หมายเลข 001คำแนะนำการปฏิบัติ

001คำแนะนำการปฏิบัติ

คำแนะนำ

ใช้เปน็ แนวทางในการศึกษาตามหลักสตู ร
ของ

วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร
หลกั สูตรการป้องกนั ราชอาณาจักร (วปอ.) รนุ่ ที่ ๖๕

ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖
เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเรอ่ื งท่คี วรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร ๑

คำแนะนำการปฏิบตั ิ และเรือ่ งที่ควรทราบ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) เป็นสถาบันการศึกษาระดับสูงของ
กระทรวงกลาโหม จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการ กรมเสนาธิการกลาโหม
พ.ศ.๒๔๙๘ ลงวันที่ ๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๔๙๘

แนวความคิดในการจัดต้ัง วปอ.ฯ นั้น กล่าวไว้ในบทนำของระเบียบกระทรวงกลาโหม
วา่ ด้วยวิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร พ.ศ.๒๔๙๘ ท่ีประกาศใช้เมือ่ วนั ที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๘
ดังนี้

“ในการป้องกันประเทศชาติให้พ้นจากการรุกรานในสมัยนี้ หาได้มีความสำคัญอยู่ท่ี
กำลงั ทหารแต่ฝ่ายเดียวไม่ ตรงกนั ข้ามบรรดาเจ้าหน้าที่ในกระทรวง ทบวง กรม ตลอดจนองคก์ าร
ท้ังสิ้น ย่อมมีความสำคัญในการป้องกันชาติร่วมกัน รวมท้ังพลเมืองของชาติ ตลอดจนทรัพยากร
ท้งั มวลจะต้องเข้าอยใู่ นแผนการป้องกันชาติด้วย เพื่อที่จะให้การร่วมมือประสานงานกันได้เรียบร้อย
ท้ังในการต่อสู้ การจัดสรรพกำลัง การปกครอง และการรักษาความสงบ รัฐบาลจึงจำเป็นต้อง
ตั้งสถาบนั การศกึ ษาข้นึ เปน็ แหลง่ กลางเพ่ือประศาสนค์ วามรู้ในสาขาตา่ ง ๆ โดยกว้างๆ ใหแ้ ก่ผู้ทจ่ี ะ
ทำหน้าท่ีดำเนนิ การเป็นฝ่ายปฏบิ ตั ิการชน้ั สงู ของรฐั บาลในด้านการปอ้ งกันราชอาณาจักร สถาบันแห่งนี้
ใหช้ อื่ วา่ “ วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร” (วปอ.)

ที่มาของแนวความคิดดังกล่าวเร่ิมขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๒ หลังจากสงครามโลก
ครั้งที่สอง ส้ินสุดลงแล้ว จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงกลาโหม ในขณะน้ัน โดยความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีได้มอบหมายภารกิจให้
พล.อ. หลวงหาญสงคราม เสนาธิการกลาโหม เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการในโครงการจัดต้ัง วปอ.
และมี พล.ท. สุรพล สุรพลพิเชฏฐ์ ผู้อำนวยการกรมการศึกษาวิจัย กรมเสนาธิการกลาโหม เป็น
ผู้ดำเนินการปฏิบัติ ท้ังน้ีโครงการเร่ิมปรากฏผลเป็นรูปธรรมเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๖ ในสมัยท่ี พล.อ. เดช
เดชประดิยุทธ เป็นเสนาธิการกลาโหม โดยได้มีการวางศิลาฤกษก์ ่อสร้างอาคาร วปอ. ท่บี ริเวณมุม
อาคารด้านหลังของกระทรวงกลาโหม ทางทิศเหนือ ใกล้คลองโรงไหม (คลองหลอด) เมื่อวันท่ี
๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๖ จากน้ันได้ทำพิธีเปิดอาคาร และ เปิดการศึกษาหลักสูตร วปอ.รุ่นที่ ๑
เม่ือวันท่ี ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๘ โดยมี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรฐั มนตรี เป็นประธาน
ในพิธี

ระเบียบกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ .ศ.๒๔๙๘
เป็นระเบียบที่วางโครงสร้างการจัดองค์กรของ วปอ.ฯ ไว้เป็นครง้ั แรก โดยกำหนดให้ วปอ.ฯ เป็น
ส่วนราชการขึ้นตรงของกรมเสนาธิการกลาโหม กระทรวงกลาโหม ผู้บังคับบัญชาระดับสูงของ
วปอ.ฯ เป็นไปตามตำแหน่ง คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นผู้บัญชาการวิทยาลัยฯ
เสนาธิการกลาโหม เป็น รองผู้บัญชาการวิทยาลัยฯ ผู้อำนวยการกรมการศึกษาและวิจัย
กรมเสนาธิการกลาโหม เป็น ผู้อำนวยการวิทยาลัยฯ และ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยฯ แต่งต้ังจาก
บคุ คลตามความเหมาะสม คณะผ้บู รหิ ารชุดแรกของวิทยาลัยฯ ได้แก่

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั ิและเรื่องทคี่ วรทราบ

วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร ๒

จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ผบู้ ญั ชาการวิทยาลยั ฯ

พล.อ. จริ วิชิตสงคราม รองผู้บัญชาการวิทยาลัยฯ

พล.ท. สุรพล สรุ พลพิเชฏฐ์ ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยฯ

พล.ต. หมอ่ มเจ้าคัสตาวัส จักรพนั ธุ์ รองผอู้ ำนวยการวิทยาลยั ฯ

พ.ศ.๒๕๐๓ ได้มีการปรับปรุงการจัดกระทรวงกลาโหม โดยยุบเลิกกรมเสนาธิการ

กลาโหม และจัดต้ังกองบัญชาการทหารสูงสุดขึ้นแทน ด้วยเหตุน้ี วปอ.ฯ จึงเปล่ียนไปอยู่ในการ

กำกับดูแลของกองบัญชาการทหารสูงสุดและมีผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นรองผู้บัญชาการ

วทิ ยาลัยฯ โดยตำแหน่ง

วปอ.ฯ ตั้งอยู่ ณ อาคารบริเวณด้านหลังของกระทรวงกลาโหม จนถึง พ.ศ.๒๕๐๙

โดยที่อาคารดังกล่าวเป็นสถานท่ีซง่ึ ใช้ร่วมกันกับสว่ นราชการอ่ืนๆ ของ กองบัญชาการทหารสูงสุด

จึงมีความไม่สะดวกและคับแคบ ดังนั้นจึงไดร้ ับอนุมัติให้ย้ายท่ีต้ังมาอยู่ที่บริเวณหลักกิโลเมตรที่ ๗

ถนนวิภาวดีรังสิต เขตห้วยขวาง ซ่ึงเป็นท่ีตั้งปัจจุบัน ท้ังนี้ได้วางศิลาฤกษ์ก่อสร้างอาคารพร้อม

หอประชุมหลังใหม่ขึ้นเมื่อวันท่ี ๑๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๙ การก่อสร้างแล้วเสร็จทำพิธีเปิดอาคาร

เมื่อวันท่ี ๑๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๐ โดย จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี และ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และผู้บัญชาการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เป็นประธาน

ในพิธี จากการที่ วปอ.ฯ ได้รับมอบหมายใหเ้ ปิดการศึกษาเพ่มิ ขนึ้ อกี หนง่ึ หลักสตู ร กอปรกบั จำนวน

ผ้เู ข้ารับการศกึ ษาในแตล่ ะปกี ารศกึ ษาน้ันเพม่ิ มากขน้ึ เรื่อยๆ ทำให้อาคารเรยี นและทที่ ำการซ่ึงใชอ้ ยู่

มีความไม่สะดวก จึงได้มีโครงการก่อสร้างอาคารข้ึนใหม่เป็น ตึก ๕ ช้ัน จำนวน ๑ หลัง และ

หอประชุมใหญ่ จำนวน ๑ หลัง ท้ังน้ีมีพิธีวางศิลาฤกษ์เพื่อก่อสร้างอาคารโดย พล.อ. ชาติชาย

ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เม่ือวันที่ ๒ กุมภาพันธ์

พ.ศ.๒๕๓๔ การก่อสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์มีพิธีเปิดอาคารอย่างเป็นทางการโดย พล.อ. วิโรจน์

แสงสนทิ ผบู้ ัญชาการทหารสงู สดุ เมือ่ วันที่ ๒ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๙

สำหรับการจัดการศึกษานั้น วปอ.ฯ เปิดหลักสูตรการศึกษา วปอ.รุ่นท่ี ๑ - รุ่นที่ ๓

พ.ศ.๒๔๙๘ พ.ศ.๒๕๐๑ และ พ.ศ.๒๕๐๓ ตามลำดับ โดยมีระยะเวลาศึกษาประมาณ ๑๐ เดือน

จากน้นั จงึ เปิดการศึกษาเป็นประจำทกุ ปีโดยต่อเนอ่ื ง มาจนถงึ ปัจจุบนั นี้ เป็นผลให้สามารถสงั เกตได้

โดยง่ายว่า ลำดับที่รุ่นของหลักสูตร วปอ. น้ันจะตรงกับเลขสองตัวสุดท้ายของปี พ.ศ. ท่ีเข้ารับ

การศึกษา เร่ิมจากหลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๔ ซ่ึงเปิดการศึกษาเม่ือ พ.ศ.๒๕๐๔ เป็นต้นมาจนถึง

ปจั จบุ ันนี้ โดยไดม้ ีการพัฒนาปรับปรุงหลักสตู รการศึกษา ตลอดจนระเบียบวธิ กี ารจัดการศึกษาเป็น

ประจำทุกปีการศกึ ษา เพือ่ ให้มคี วามทันสมัยและสอดคล้องกบั สถานการณ์ท่ีเป็นอยใู่ หม้ ากที่สุด

หลังจากท่ีได้จัดการศึกษาหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร หรือ หลักสูตร วปอ.

เรื่อยมา จนถึง พ.ศ.๒๕๓๒ จึงได้มีพัฒนาการในเร่ืองการศึกษาข้ึนมาอีกระดับหนึ่ง สืบเนื่องจาก

การท่ี วปอ.ฯ ยึดหลักในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับเง่ือนไข และ สถานการณ์ท่ีประเทศ

กำลังเผชิญอยู่ และคาดว่าจะต้องเผชิญในอนาคต ตลอดจนการที่ผู้บงั คับบญั ชาระดับสงู ในขณะนั้น

ซ่ึงได้แก่ พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ

นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้ให้นโยบายมาว่า “เราจะทำอย่างไรท่ีจะชัก

จูงภาคเอกชนให้เข้ามาร่วมกับภาครัฐบาลในการรักษาผลประโยชน์ของชาติให้ดีท่ีสุด เพราะนับวัน

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั แิ ละเรอื่ งทีค่ วรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร ๓

ภาคเอกชนจะเข้ามามบี ทบาทในด้านเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศมากย่ิงข้ึน” ประกอบกับ
คำขวัญท่ีว่า “ประเทศมั่นคงประชาชนมั่งค่ัง” ดังนั้น วปอ.ฯ จึงได้นำแนวความคิดดังกล่าวมา
พฒั นาการจดั การศกึ ษา และได้เปิดการศึกษาหลักสูตรการปอ้ งกันราชอาณาจกั รภาครฐั ร่วมเอกชน
หรือหลักสูตร ปรอ. ข้ึนเป็นครั้งแรก เมื่อวันท่ี ๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๒ เพื่อจัดการศึกษาให้กับ
ขา้ ราชการภาครัฐ อันได้แก่ ข้าราชการทหาร ตำรวจ พลเรือน พนักงานรัฐวิสาหกิจ และนักธุรกิจ
ภาคเอกชนจากสาขาตา่ ง ๆ โดยมีแนวความคิดทจี่ ะเสริมสร้างอุดมการณท์ างเศรษฐกิจของชาติบน
รากฐานของระบบเศรษฐกิจเสรีนยิ ม และการรกั ษาผลประโยชน์ของชาติ รวมทั้งการริเร่มิ และสรา้ ง
ความสำนึกในการดำเนินนโยบายเศรษฐกจิ อยา่ งเป็นระบบ มีการจดั องค์กรสนบั สนุนซ่ึงกันและกัน
ตลอดจนเปน็ การเตรยี มบุคลากรของประเทศให้มคี วามพร้อมท่ีจะก้าวเข้าสู่ระบบสังคมโลกยุคใหม่
และเป็นประเทศช้ันนำในภูมิภาคภายใต้สถานการณ์และสภาวะแวดล้อมของโลกท่ีเป็นอยู่ ถึงแม้
การเปดิ หลักสูตร วปอ. ได้เร่มิ มาตั้งแตป่ ี ๒๔๙๘ จนมาถงึ ปงี บประมาณ ๒๕๔๕ - ๒๕๔๖ เป็นรุ่นท่ี
๔๕ และหลักสูตร ปรอ. รุ่นท่ี ๑๕ ก็ยังมีข้าราชการและเอกชนที่ยังมีความสนใจต้องการท่ีจะเข้า
ศึกษาใน วปอ.ฯ อย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงของการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ปี พ.ศ.๒๕๔๐ ท่ีผ่านมามีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางการเมืองอย่างมาก สภา วปอ. ได้เห็น
ความสำคญั ว่าในปัจจุบัน เรอื่ งความมั่นคงทางฝ่ายการเมอื งมีบทบาทสูงกว่าในอดีตที่ผา่ นมา สภา
วปอ. โดย พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม ในฐานะประธาน สภา วปอ.
ในขณะน้ันได้ขอให้ วปอ.ฯ ศึกษาการรับนักการเมืองเข้ามาเรยี นในหลกั สตู รของ วปอ.ฯ

วปอ.ฯ ได้ศึกษา และนำเรียนแนวทางปฏิบัติให้กับกรรมการ สภา วปอ. ทราบ เม่ือ
วนั ที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๖ จึงได้มีมติให้จัดหลักสูตรใหม่เป็นการทดลอง ท่ีเปิดให้ข้าราชการ
ทหาร ตำรวจ พลเรอื น พนักงานรัฐวิสาหกิจ นกั ธุรกิจภาคเอกชน และข้าราชการการเมือง ได้
ศึกษาร่วมกันในหลักสูตร วปม. (การป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง) โดย
ได้รับการอนุมัติให้เปิดหลักสูตร วปม. รุ่นที่ ๑ เม่ือวันที่ ๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๖ และได้เปิดให้
การศึกษามาจนถึง วปม. รุ่นที่ ๔ สภา วปอ. จึงมีมติให้ปิดการศึกษาหลักสูตร วปม. ลง เม่ือ ๑๖
พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๐ แต่ยังคงให้นักการเมืองสามารถเขา้ มาศกึ ษาร่วมในหลักสูตร ปรอ. ได้ โดย
เขา้ มาศึกษาในคุณสมบัติของ บุคคลทั่วไป เพ่อื ใหท้ ุกๆ ฝ่ายได้เสริมสร้างความมั่นคงร่วมกนั ในอันท่ี
จะรักษาผลประโยชน์ของชาติ ภายใต้สภาพแวดลอ้ มที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ในปัจจุบนั ท่ี
ทกุ ๆ ฝ่ายตอ้ งคิดร่วมกัน และปฏิบัติร่วมกันภายใต้ความมั่นคงในมิตใิ หม่ จากนั้น สภา วปอ. ได้มี
มติให้เปิดการศึกษาหลักสูตร วปม. อีกครั้ง โดยหลักสูตร วปม. รุ่นท่ี ๕ ได้เปิดการศึกษาเมื่อวันที่
๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ และมีการศึกษาต่อเน่ืองมาจนถึง วปม.รุ่นท่ี ๗ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ –
๒๕๕๗ ต่อมาสภา วปอ. ได้มีมติเห็นชอบในการประชุมสภา วปอ. เม่ือวันท่ี ๑๒ มิถุนายน
พ.ศ.๒๕๕๗ ให้เปดิ การศกึ ษาในปีการศึกษา ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ เหลือเพียงหลกั สูตรเดียว คือ วปอ.
รนุ่ ที่ ๕๗ โดยมีการปรับหัวข้อวิชาท้ังสามหลักสูตรรวมเป็นหลักสตู รเดียวเพ่ือให้การจัดการศึกษา
มคี วามเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันและไม่เกิดความแตกต่างกันในแต่ละหลักสูตร และได้จัดการศึกษา
เปน็ หลกั สูตรเดยี วมาจนถงึ ปจั จบุ ัน รวมทั้ง วปอ.ฯ ได้ทำการปรับปรงุ ห้องเรยี นและหอประชุมพิบูล
สงคราม (หอ้ งบรรยายรวม) ใหม้ ีความทนั สมัยและสามารถรองรับนักศกึ ษาได้

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเรอื่ งทค่ี วรทราบ

วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ๔

นับจากวันแรกที่ วปอ.ฯ ได้รับมอบหมายภารกจิ ให้ดำเนนิ การ และรบั ผิดชอบในฐานะ
สถาบนั การศกึ ษาระดับสงู ของประเทศ จนถึงวันนอี้ าจกล่าวไดว้ ่า วปอ.ฯ ไดป้ ฏบิ ตั ิหน้าทด่ี งั กล่าวได้
อย่างสมบรู ณ์และบรรลุถึงซ่งึ เป้าหมายทีก่ ำหนดแล้ว อย่างไรก็ตาม วปอ.ฯ มิได้หยุดนิ่งท่ีจะพัฒนา
ระบบการจัดการศึกษา เพ่ือเผยแพร่วิทยาการดา้ นการป้องกันประเทศตามเจตนารมณ์ให้สอดคล้อง
กับสถานการณ์และสภาวะแวดล้อมท่ีเป็นอยู่ ผลการดำเนินการที่ปรากฏเม่ือเปรยี บเทียบกับการจัด
การศึกษาของสถาบันการศึกษาในระดับเดียวกนั ในประเทศต่าง ๆ แล้ว น่าจะกล่าวได้ว่า วปอ.ฯ ของ
ไทยเป็นสถาบันการศึกษาที่กำหนดโครงการและหลักสูตรการศึกษาอย่างเป็นระบบ บทเรียน และ
หัวข้อวิชาตา่ ง ๆ มีความมุ่งหมายและขอบเขตท่ชี ัดเจน มคี วามทันสมยั และลึกซ้ึงในเนื้อหา มีความ
เป็นมาตรฐานท่ีประเทศต่าง ๆ ยอมรบั จะเห็นได้จากการท่ีประเทศซ่ึงมีสถาบันการศึกษาเกีย่ วกับ
การป้องกันประเทศให้ความสนใจมาเย่ียมชม และแลกเปล่ียนข้อคิดเห็นในการดำเนินการของ
วปอ.ฯ โดยสม่ำเสมอเป็นประจำทุกปี นอกจากนนั้ ผูท้ สี่ ำเรจ็ การศึกษาจาก วปอ.ฯ นน้ั ล้วนแต่เป็น
ผู้ท่ีดำรงตำแหน่งในระดับสูงมีโอกาสปฏิบัติหน้าท่ีและรับผิดชอบในภารกิจสำคัญๆ ของรัฐบาลมี
บท บาท ร่วม ใน การก ำห น ดน โยบ ายแ ละ รักษ าความ ม่ั น คง แห่ งชาติม าทั้ง ใน อ ดีตแ ละ ปั จจุบั น
ซึ่งนับว่าเป็นความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งของ วปอ.ฯ และของผู้ท่ีได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษาใน
สถาบันระดบั สูงของชาติแห่งนี้

สัญลักษณ์หน่วย

สญั ลักษณ์ของ วปอ.ฯ เป็นรูปเคร่ืองหมาย "รัฏฐาภิรักษ์" มีลักษณะเป็นรูปโล่ ทำด้วย
โลหะ พื้นลงยาสีฟ้าอ่อน ขลิบทองโดยรอบ มีแถบธงชาติลงยาพาดกลางเฉียงข้ึนจากขวาไปซ้าย
ประดับด้วยพระมหามงกุฎทองเปล่งรัศมีเหนืออุณาโลม ซึ่งอยู่เบื้องบนรูปจักรและสมอมี ปีกนก
ออกจากรูปจักรโอบลอ้ มพระมหามงกุฎ ต่อจากรูปสมอลงมาเป็นช่อชัยพฤกษ์ และครึ่งวงกลมล้อม
ดาวหา้ แฉก สองขา้ งชอ่ ชัยพฤกษป์ ระดบั ดว้ ยรูปคชสีหแ์ ละรูปราชสหี ย์ ืนเผ่นหันหนา้ เข้าหากันอย่บู น
ฐานทางด้านขวาและซ้ายของรูปข้างละตัว ความหมายของสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ประกอบเป็น
เครือ่ งหมาย มดี งั นี้

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเร่ืองทีค่ วรทราบ

วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร ๕

รูปโล่ หมายถึง สิ่งท่ีใช้ป้องกันภัยและอันตราย เมื่อนำมาใช้รวมกับภาพธงชาติ จึงมี
ความหมายถงึ การปอ้ งกนั ประเทศชาติใหอ้ ยรู่ อดปลอดภยั

แถบธงชาตไิ ทย หมายถึง ราชอาณาจกั รไทย
สีฟ้าอ่อน ซ่ึงเป็นสีของพื้นโล่ เป็นสีของท้องฟ้า อันเป็นส่ิงท่ีสูง มีความหมายว่า
เป็นสถาบนั การศึกษาชั้นสูงของประเทศ
พระมหามงกฎุ พร้อมรัศมี หมายถงึ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์
อุณาโลม เป็นเครื่องหมายท่ีใช้ในพิธีทางศาสนาโดยท่ัวไป จึงนำมาใช้เพื่อให้หมายถึง
ศาสนาประจำชาติ
จกั ร หมายถึง กองทพั บก
สมอเรือ หมายถึง กองทพั เรือ
ปกี นก หมายถงึ กองทพั อากาศ
ราชสีห์และคชสีห์ เป็นส่วนหน่ึงของตราประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และสำนัก
นายกรัฐมนตรี หมายรวมถึง กระทรวง ทบวง ต่าง ๆ
ดาว (ห้าแฉก) หมายถึง การผนึกกำลังต่าง ๆ ท้ัง ๕ ฝ่าย (ทหารบก ทหารเรือ ทหาร
อากาศ ตำรวจ และพลเรือน) ให้เป็นหน่ึงเดยี ว
ช่อชัยพฤกษ์ หมายถึง ชัยชนะอันเกิดจากความสามัคคี ความพร้อมเพรียงกันของ
บุคคลทุกฝา่ ยในชาติ

(การใช้เครอ่ื งหมายอันเปน็ สญั ลกั ษณ์ของวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ดหู นา้ ๒๗)

การแบง่ สว่ นราชการและหนา้ ทข่ี องวทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร

ภารกจิ

วปอ.ฯ มีหน้าที่ประศาสน์วิทยาการและวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันราชอาณาจักรให้แก่
ข้าราชการท้ังฝ่ายทหาร และพลเรือน ตลอดจนพนักงานองค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ รวมท้ัง
เอกชน และนักการเมือง เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในความรับผิดชอบร่วมกันเกี่ยวกับการรักษาความ
ม่ันคงแห่งชาติและเพ่อื ประโยชน์ในการกำหนดนโยบาย การวางแผน และการอำนวยการรักษาความ
มน่ั คงแห่งชาติ มีผู้อำนวยการวิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร เปน็ ผู้บังคับบญั ชารับผิดชอบ

หน้าท่ี

ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ผอ.วปอ.สปท) มีหน้าที่รบั ผิดชอบในการ
ประศาสน์วิทยาการให้แก่นักศึกษา วปอ. บริหารงาน ปกครองบังคับบัญชาข้าราชการ
ลกู จ้างประจำ พนักงานราชการ นักศึกษา วปอ. และสว่ นราชการภายใน วปอ.สปท.

วปอ.ฯ มีคณะกรรมการรับผิดชอบในการดำเนินการเกี่ยวกับการประศาสน์วิทยาการ
แก่นกั ศกึ ษา ๒ คณะ คอื

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัติและเร่อื งทคี่ วรทราบ

วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร ๖

๑. สภาวิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร (สภา วปอ.) มีรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม
เปน็ ประธาน มีหนา้ ทพี่ ิจารณาในเร่ืองเกยี่ วกบั

๑.๑ การกำหนดนโยบายในการประศาสนว์ ิทยาการ
๑.๒ การอนมุ ัติโครงการศึกษาและหลักสูตรการศกึ ษาต่างๆ ของ วปอ.ฯ
๑.๓ การกำหนดจำนวน และคณุ สมบตั ขิ องผทู้ ่ีจะเข้าศึกษาในแต่ละหลกั สูตร
การศึกษา ตลอดจนการใหค้ วามเหน็ ชอบในตวั บุคคลทจี่ ะเขา้ ศึกษา
๑.๔ การอนุมัติปริญญา ปรญิ ญากิตติมศักด์ิ และวุฒิการศึกษาของหลักสูตรการศึกษา
ตา่ ง ๆ
๑.๕ การเสนอแนะการแตง่ ตั้งผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
๑.๖ การแต่งต้ังคณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพื่อกระทำการใดๆ
อนั อยใู่ นอำนาจและหนา้ ทข่ี องสภา วปอ.
๑.๗ การตงั้ รวม และยุบเลกิ สถาบนั ศนู ยห์ รอื หนว่ ยขน้ึ ตรง วปอ.ฯ
๑.๘ เรอื่ งต่าง ๆ เกย่ี วกบั กิจการของ วปอ.ฯ
๒. คณะกรรมการการศึกษาวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร มี ผ้อู ำนวยการวิทยาลัย
ป้องกนั ราชอาณาจกั ร (ผอ.วปอ.สปท.) เป็นประธาน มหี นา้ ที่
๒.๑ พิจารณาและจดั ทำโครงการศึกษาและหลักสูตรการศึกษา รวมทั้งกิจกรรม
อนื่ ๆ ที่เก่ยี วกบั การศกึ ษาของ วปอ.ฯ ตามนโยบายของสภา วปอ. และนโยบายของผู้บงั คับบญั ชา
๒.๒ กำกับดูแลการบริหารการศึกษาของ วปอ.ฯ ให้เป็นไปตามที่สภา วปอ.ฯ
และผู้บงั คบั บัญชาไดม้ อบหมาย

การแบ่งสว่ นราชการ

วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.สปท.) แบ่งส่วนราชการเป็นกองตา่ ง ๆ ดังนี้.-
กองอำนวยการ (กอก.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีในการธุรการท่ัวไป การธุรการเกี่ยวกับ
การศึกษา และอุปกรณ์การศึกษาการสารบรรณ การรักษาความปลอดภัย การกำลังพล การข่าว
การสง่ กำลงั และซอ่ มบำรุงของ วปอ.สปท.
กองพัฒนาการศึกษา (กพศ.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีพจิ ารณาเสนอความคิดเห็น วางแผน
อำนวยการ ประสานงานด้านกิจการพลเรือน ดำเนินการและพัฒนาในเรื่องที่เก่ียวกับการศึกษาของ
นักศึกษา จัดทำโครงการและหลักสูตรการศึกษา พิจารณาให้การศึกษาเพิ่มเติมแก่นักศึกษาท่ีสำเร็จ
การศึกษาแล้วตลอดจนการประสานงานกับนักศึกษา ทั้งน้ี เพื่อให้การจัดการศึกษาของ วปอ.ฯ
เปน็ ไปตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้
กองเอกสารวิจัยและห้องสมุด (กอส.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีให้การศึกษาเก่ียวกับการ
เขียนเอกสารวิจัย และดำเนินการเกี่ยวกับกิจการห้องสมุด ตามระเบียบของวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจักร เพ่ือสนับสนุนการเขียน รายงานการวิจัย และคัดเลือกเอกสารวิจัยดีเด่น หรือชมเชย
และเผยแพรเ่ อกสารวจิ ัยแก่หน่วยท่เี ก่ียวข้อง รวมทั้งให้คำปรกึ ษาแนะนำเกย่ี วกับการจัดทำช่อื เรื่อง
เค้าโครงเรื่อง การดำเนินการวิจัย และข้อมูลการวิจัย ตรวจแก้ แจกจ่ายเอกสารวิจัย ฯ ประเมินการ
เขียนเอกสารวิจยั ฯ และให้บริการข้อมูลสารสนเทศ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั ิและเรื่องท่คี วรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร ๗

สำนักวิทยาการความมั่นคง (สวม.วปอ.สปท.) มีหน้าที่พิจารณาเสนอความเห็น
นโยบาย วางแผน อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และดำเนินการด้านวิชาการ ประกอบด้วย
งานจัดการศึกษา งานวิชาการของหน่วย งานวิชาการร่วมกับสถาบันอ่ืนๆ งานพัฒนาปรับปรุง
โครงการและหลักสูตรการศึกษา และงานประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยกองวิชาการ
จำนวน ๔ กองวิชา ไดแ้ ก่

กองยุทธศาสตร์และความม่ันคง (กยศ.สวม.วปอ.สปท.) มีหน้าที่ให้การศึกษา
เกี่ยวกับศิลปะและศาสตร์ ในการพัฒนาและการใช้พลังของชาติทางการเมือง เศรษฐกิจ
สงั คมจติ วทิ ยา กำลังทางทหาร วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ท้ังในยามปกติและในยามสงคราม รวมท้ัง
ประมวลความ คิดเห็นของนักศึกษา เพื่อพัฒนานโยบายความม่ันคงแห่งชาติ นอกจากน้ีมีหน้าท่ีให้
คำปรกึ ษาการเขียนเอกสารวจิ ัย ตรวจแก้ และประเมินผลเอกสารวิจัยดา้ นยุทธศาสตร์

กองการเมืองและการทหาร (กมท.สวม.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีให้การศึกษาเกี่ยวกับ
สภาพทางการเมือง สนธิสัญญาต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตลอดจนนโยบาย และพลัง
ทางการเมืองของประเทศไทยและของต่างประเทศ และศึกษาเก่ียวกับขีดความสามารถทาง
การทหาร นโยบายการทหาร ยุทธศาสตร์ทหาร และพลังทางทหาร ทั้งของประเทศไทยและ
ต่างประเทศ รวมท้ังประมวลความคิดเห็นทางการเมืองและการทหารของนักศึกษา เพื่อพัฒนา
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ นอกจากนี้มหี น้าที่ใหค้ ำปรึกษาการเขียนเอกสารวิจัย ตรวจแก้ และ
ประเมินผลเอกสารวจิ ยั ด้านการเมอื งและการทหาร

กองการเศรษฐกิจและสังคมจิตวิทยา (กศส.สวม.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีให้การศึกษา
เก่ียวกับขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์และพลังทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกับ
ต่างประเทศ และศกึ ษาเกีย่ วกบั ภาวะทางสงั คมจิตวทิ ยา ความสัมพันธ์ และพลงั ทางสังคมจิตวิทยา
ของนักศึกษา รวมทั้งประมวลความคิดเห็นทางการเศรษฐกิจและสังคมจิตวิทยาของนักศึกษา
เพื่อพัฒนานโยบายความม่ันคงแห่งชาติ นอกจากน้ีมีหน้าที่ให้คำปรึกษาการเขียนเอกสารวิจัย
ตรวจแก้ และประเมนิ ผลเอกสารวจิ ัยด้านเศรษฐกิจและสงั คมจติ วิทยา

กองวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและส่ิงแวดล้อม (กวท.สวม.วปอ.สปท.)
มีหน้าท่ีใหก้ ารศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม
เพอ่ื ให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ และความม่นั คงแห่งชาติในดา้ นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งประมวลความคิดเห็นทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ของนักศึกษาเพื่อพัฒนานโยบาย
ความม่ันคงแห่งชาติ นอกจากน้ีมีหน้าที่ให้คำปรึกษาการเขียนเอกสารวิจัย ตรวจแก้ และ
ประเมินผลเอกสารวิจัยด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดล้อม

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั ิและเรอ่ื งทีค่ วรทราบ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ๘
ผังการจัดสถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ
ผงั การจัดทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร

สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเรื่องทีค่ วรทราบ

วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร ๙
ผงั การจัดวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร

สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ

สภาวทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร

วิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร
คณะกรรมการการศึกษา วปอ.

กองอำนวยการ กองพัฒนา กองเอกสารวจิ ัย สำนกั วิทยาการ
การศึกษา และหอ้ งสมดุ ความมนั่ คง

กองยทุ ธศาสตร์
และความมน่ั คง

กองการเมือง
และการทหาร

กองการเศรษฐกิจ
และสังคมจิตวทิ ยา

กองวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
การพลังงาน

และสงิ่ แวดล้อม

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ัตแิ ละเรือ่ งทคี่ วรทราบ

วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร ๑๐

การดำเนนิ การศึกษา

เวลาศึกษาภาคการปฐมนิเทศ

จะทำการศึกษาในวันจันทร์ – วันศุกร์ ระยะเวลาในการศึกษาประมาณ ๓ เดือน
เวลาการศกึ ษาในแต่ละวัน มดี งั นี้

๐๘๓๐ – ๑๐๐๐ คาบเรยี นที่ ๑
๑๐๐๐ – ๑๐๓๐ เวลาพกั
๑๐๓๐ - ๑๒๐๐ คาบเรยี นที่ ๒

เวลาศึกษาภาคการศกึ ษาหลัก

ปกติแล้วจะทำการศึกษาในวันอังคาร พุธ และพฤหัสบดี เวลาการศึกษาในแต่ละวัน
มีดังน้ี

๐๘๓๐ – ๑๐๐๐ คาบเรยี นท่ี ๑
๑๐๐๐ – ๑๐๓๐ เวลาพกั
๑๐๓๐ - ๑๒๐๐ คาบเรยี นที่ ๒
ห้วงระยะเวลาการศึกษาประจำวันน้ันอาจเปล่ียนแปลงได้ตามหัวข้อวิชา หรือตามที่
วปอ.ฯ เห็นวา่ เหมาะสมในแตล่ ะบทเรยี น

การสำเรจ็ การศกึ ษา

ระเบียบกระทรวงกลาโหม วา่ ดว้ ยวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร พ.ศ.๒๕๔๗ ข้อ ๑๖
กำหนดไว้ว่า ผู้ที่จะได้รับการพิจารณาอนุมัติให้สำเร็จการศึกษาจาก วปอ.ฯ จะต้องมีคุณสมบัติครบ
ดงั นี้

๑๖.๑ มีเวลารับการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของเวลาการศึกษาในภาคปฐมนิเทศ
และภาคการศกึ ษาหลกั

๑๖.๒ เสนอเอกสารวิจัยส่วนบุคคลต่อ วปอ.ฯ ตามกำหนด และได้รบั อนมุ ตั ิ
๑๖.๓ มีสว่ นร่วมในกิจกรรมการศึกษาตามกระบวนการศึกษาในหลักสูตร และกิจกรรมที่เป็น
ประโยชนต์ ่อกองทัพและประเทศชาติ ตามที่ วปอ.ฯ กำหนด โดยให้ วปอ.ฯ กำหนดเกณฑ์การประเมินผล
๑๖.๔ จัดทำบทความวิชาการ เพื่อนำเสนอผลงานจากความรู้และประสบการณ์
ในการทำงาน ตามจำนวนที่ วปอ.ฯ กำหนด เสนอต่อ วปอ.ฯ ภายในเวลาท่ีกำหนด
๑๖.๕ ไม่ดำเนนิ การใดๆ อันนำความเสอ่ื มเสยี มาสู่ชอ่ื เสียงของ วปอ.ฯ

การปฏิบัติระหว่างการศกึ ษา

๑. ทุกวันที่ทำการศึกษา นักศึกษาต้องบันทึกเวลามารับการศึกษาประจำวันตามท่ี
วปอ.ฯ กำหนด นอกจากนี้ นายทหารกำกับการบรรยายประจำแต่ละช่วั โมงจะเป็นผู้ตรวจสอบและ
บันทึกเวลามารับการศึกษาประจำวันของนักศึกษาแต่ละคน โดยตรวจสอบยอดจากผังท่ีนั่งของ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั ิและเร่ืองที่ควรทราบ

วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ๑๑

นักศกึ ษาซงึ่ จัดไว้ให้ ปกติผงั ท่นี ั่งจะมีการเปลีย่ นทุก ๒ เดือน เพ่ือเปิดโอกาสให้นักศึกษาทกุ คนได้มี
โอกาสทำความรจู้ ักคุ้นเคยกันอยา่ งท่ัวถงึ

๒. นักศึกษาท่ีมีความจำเป็นมารับการศึกษาไม่ได้เพราะติดราชการจำเป็นหรือป่วย
จะต้องสง่ ใบลาตามแบบที่กำหนดให้ ผอ.วปอ.ฯ ทราบทกุ ครงั้ โดยใส่ไว้ในตรู้ ับเอกสารของ วปอ.ฯ
ในห้องพักผ่อนนักศึกษา (ห้องกาแฟ) หรอื ส่งโดยตรงท่ี กองพฒั นาการศกึ ษา ช้นั ๔

๓. การแตง่ กาย
๓.๑ การฟังบรรยายในห้องบรรยาย นักศึกษาท่ีเป็นข้าราชการทหาร ตำรวจ

พลเรือน พนักงานรัฐวิสาหกิจ แต่งชุดเคร่ืองแบบปฏิบัติราชการตามปกติ นักศึกษาภาคเอกชน
สุภาพบุรษุ แต่งชุดสากล สุภาพสตรแี ต่งชุดสุภาพ

๓.๒ การเดินทางไปดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ แต่งกาย
เช่นเดียวกับการฟังบรรยายในห้องเรียน หรือตามท่ีจะมีการกำหนดให้เป็นอย่างอ่ืน ซ่ึงจะได้
นัดหมายเปน็ ครั้งคราวไป

๓.๓ การเดินทางไปดูกิจการ ณ ต่างประเทศให้แต่งกายชุดสากลสีเข้ม หรือ
ตามแต่จะมีการกำหนดให้เปน็ อย่างอื่น ซ่ึงจะได้นัดหมายเป็นครัง้ คราวไป แต่ทั้งน้ีจะต้องปฏิบัติให้
เหมือนกันท้ังคณะ

๓.๔ การเข้าร่วมงานเลี้ยงรับรอง ปกติใช้การแต่งกายตามสบายสุภาพ ได้แก่
เสอ้ื เช้ติ แขนยาวหรอื สัน้ สีสุภาพ หรือเสือ้ สญั ลักษณ์สฟี า้ กรณีทม่ี ีการนดั หมาย

๔. การปฏบิ ตั ติ อ่ ผู้บรรยาย
๔.๑ นักศึกษาควรพรอ้ มในห้องบรรยายก่อนเวลาบรรยาย เพ่อื เปน็ การใหเ้ กียรติ

แก่ผู้บรรยาย และเพ่ือไม่ให้ผ้บู รรยายต้องเสยี เวลาคอย ทั้งนีเ้ น่ืองจากผูบ้ รรยายล้วนแต่เป็นขา้ ราชการ
ระดับสูงจากสว่ นราชการตา่ ง ๆ รวมทั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิ และบคุ คลสำคญั ๆ จากภาครัฐ และเอกชน

๔.๒ นักศึกษาแสดงความเคารพด้วยการยืนต้อนรับเม่ือผู้บรรยายขึ้นสู่แท่น
บรรยาย

๔.๓ ทันทีท่ผี ู้บรรยายกล่าวจบการบรรยาย กอ่ นที่ผู้บรรยายจะลงจากแทน่ บรรยาย
นกั ศึกษาควรจะปรบมือใหเ้ กยี รติแก่ผูบ้ รรยาย

๕. การสอบถามหลงั การบรรยาย
๕.๑ นักศึกษาจะสอบถามได้เมื่อได้ยกมือแสดงตนและผู้บรรยายเชิญให้ตั้ง

คำถามได้ นักศึกษาใช้ไมโครโฟนท่ีจัดไว้ให้เพื่อให้ท้ังชั้นได้ยินคำถามโดยทั่วกัน ท้ังนี้ให้รายงานตน
โดยบอกช่ือ และตำแหน่ง ให้เรียบรอ้ ย ก่อนการถามคำถาม

๕.๒ เม่อื ตอ้ งการใช้ไมโครโฟน นักศึกษาต้องกดสวิตซ์ที่ฐานไมโครโฟน สัญญาณไฟ
แดงจะปรากฏขนึ้ เมอ่ื เลกิ ถามใหก้ ดสวิตซอ์ กี ครง้ั สญั ญาณไฟแดงจะดบั

๖. สัญญาณไฟในห้องบรรยาย มดี งั นี้
๖.๑ สัญญาณไฟหมดเวลา จะอยู่บริเวณด้านหลังห้องบรรยาย จะเปิดให้

ผ้บู รรยายเห็นเม่ือเวลาการบรรยายสนิ้ สดุ ลง
๖.๒ สัญญาณไฟสีแดง จะอยู่บนเวที หมายถึงให้ยุติการถาม เพราะส้ินสดุ เวลา

การบรรยายแลว้

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั ิและเร่อื งทคี่ วรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร ๑๒

๗. การสง่ เอกสารแกว่ ิทยาลัย ฯ
รายงานผลการถกแถลงเปน็ คณะ รายงานผลการสัมมนา รายงานผลการแก้ปัญหา

รายงานผลการดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ และเอกสารอ่ืนที่นักศึกษาจะต้องนำเสนอต่อ
วปอ.ฯ นั้น นักศึกษาจะต้องจัดทำตามแบบและระยะเวลาที่ วปอ.ฯ กำหนด แล้วส่งในตู้รับ
เอกสารของ วปอ.ฯ ท่ีจัดไวใ้ นห้องพักผอ่ นนักศึกษา (ห้องกาแฟ) หรืออาจส่งโดยตรงท่ี นายทหาร
กำกบั หอ้ งถกแถลง หรือห้องบรรยาย หรือสง่ ทก่ี องพัฒนาการศกึ ษา ฯ

๘. การรกั ษาความลบั
การศึกษาใน วปอ.ฯ ถือเป็นเร่ือง ลับ ผลการฟังบรรยาย การถกแถลง ตลอดจน

เอกสารการศกึ ษาท้ังส้ิน นักศึกษาจะต้องไมน่ ำไปเปิดเผยต่อบคุ คล หรือส่วนราชการใดท่ีไมม่ ีหน้าท่ี
เกี่ยวข้องเป็นอันขาด การบันทึกเสียงการบรรยาย การแถลงผลการศึกษา การแถลงเอกสารวิจัยฯ
การบรรยายพิเศษ และการช้ีแจงต่าง ๆ จะต้องไดร้ ับอนุญาตจาก ผอ.วปอ.ฯ ก่อนทุกคร้ัง และตอ้ ง
ปฏิบัติต่อเอกสารต่างๆ รวมท้ังถ้อยคำท่ีได้รับทราบตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย
แหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๑๗ และตามคำส่งั กองบัญชาการทหารสูงสุด (เฉพาะ) ท่ี ๗๓๖/๓๔ ลงวันท่ี ๑๙
มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๓๔ เรอ่ื ง การรกั ษาความปลอดภัยเกย่ี วกับการศกึ ษา

การบริการและเบด็ เตลด็

เวลาปฏิบัติราชการ

วปอ.ฯ ปฏบิ ตั ริ าชการตั้งแตเ่ วลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐ ของทกุ วันราชการ

การติดต่อประสานงาน

นักศึกษาสามารถตดิ ตอ่ สอบถาม ประสานงาน หรือตอ้ งการการอำนวยความสะดวกใน
กจิ การตา่ ง ๆ ภายใน วปอ.ฯ ได้ ดงั นี้

อาคารอำนวยการ (๑)
ชั้น ๑ กองอำนวยการ แผนกธุรการ แผนกเครื่องช่วยการศึกษา แผนกสวัสดิการและ
ขนส่ง ห้องการเงิน วปอ. สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา สำนักงานนิตยสารรัฎฐาภิรักษ์
ห้องงบประมาณ วปอ. ห้องตรวจสอบภายใน ห้องพยาบาล หอ้ งเวร รปภ. และห้องเวร ปชส.
ชั้น ๒ ห้องบรรยาย วปอ. (๑๒๑) ห้องบรรยาย ปรอ. (๑๒๒) ห้องพักนักศึกษา
(ห้องกาแฟใหญ่) ห้องรับรองผู้บรรยาย ห้องโสตทัศนศึกษา ห้องอาหารนักศึกษา ห้องสมาคม วปอ.
ในพระบรมราชูปภัมภ์ ห้องคลังสมอง วปอ. และ สำนักงานหลักสูตรของสมาคม วปอ. ในพระบรม
ราชูปภัมภ์
ชั้น ๓ ห้องถกแถลง ๑ - ๑๐ กองยุทธศาสตร์และความม่ันคง กองการเมืองและ
การทหาร กองการเศรษฐกิจและสังคมจิตวิทยา กองวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการพลังงานและ
สิง่ แวดล้อม หอ้ งที่ปรกึ ษา วปอ.ฯ และห้องประชุมชน้ั ๓ (๑๓๑)

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัติและเรือ่ งทีค่ วรทราบ

วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ๑๓

ชัน้ ๔ สำนักงานผ้อู ำนวยการ วปอ.ฯ รองผู้อำนวยการ วปอ.ฯ ผอ.สำนักวิทยาการ
ความมั่นคง วปอ.ฯ รอง ผอ.สำนักวทิ ยาการความมั่นคง วปอ.ฯ กองพัฒนาการศึกษา และห้อง
ประชมุ ชัน้ ๔ (๑๔๑)

ชั้น ๕ กองเอกสารวิจยั และหอ้ งสมดุ ห้องสมุด วปอ.ฯ และห้องชา่ งเขียน

อาคารหอประชมุ วปอ. (๒)
ชนั้ ๑ หอ้ งตัดผมชาย
ชนั้ ๒ หอประชมุ วปอ. (หอ้ งบรรยายรวม) ห้องพกั ผ้บู รรยาย หอ้ งพกั นักศึกษา
ชน้ั ๓ ห้องบรรยาย วปม. (๒๓๑) ห้องถกแถลง ๑๑ - ๑๓ หอ้ งพกั ผ้บู รรยาย
อาคารอเนกประสงค์ วปอ. (๓)
ชัน้ ๑ สำนกั งานหลกั สตู รของสมาคม วปอ. ในพระบรมราชูปภมั ภ์
ชนั้ ๒ ห้องประชุม ๓๒๑ ห้องอเนกประสงค์
ชน้ั ๓ ห้องออกกำลงั กาย
อาคารเอนกประสงค์ สปท. (๔)
ช้ัน ๒ หอ้ งประชุมใหญ่
ชน้ั ๑ สำนักงานสโมสร วปอ.ฯ

ห้องพกั ผอ่ นนักศึกษา

ห้องพกั ผ่อนนักศกึ ษา เปน็ ห้องพกั ผอ่ นสำหรบั นักศึกษา ระหวา่ งหยุดพักประจำช่ัวโมง

หอ้ งอาหารนักศึกษา

ห้องอาหารนักศึกษา เป็นห้องให้บริการน้ำด่ืม ชา กาแฟ อาหารว่าง และอาหาร
กลางวนั ระหว่างเวลา ๐๗๐๐ – ๑๓๐๐

ห้องสมุด

ห้องสมุด วปอ.ฯ ให้บริการเอกสารวิจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา วปอ.ฯ เอกสารทาง
วิชาการ หนังสือท่ัวไป และนิตยสารตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้นกั ศึกษาไดค้ ้นคว้า ศึกษาหาความรเู้ ปิดบริการ
ตัง้ แต่วนั จนั ทร์ - ศกุ ร์ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐

Home Page วปอ. และ Internet

นักศึกษา วปอ. สามารถใชบ้ ริการอนิ เตอรเ์ น็ต ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และสืบค้น
ข้อมูลได้ท่ีห้องสมุด ช้ัน ๕ โดยสามารถหาข้อมูลภายใน ห้องสมุด วปอ.ฯ และสามารถหาข้อมูล
จากห้องสมุดสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศผ่านทางเวปไซด์ วปอ.
http://www.thaindc.org.

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั ิและเรื่องทค่ี วรทราบ

วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร ๑๔

ข้อมลู ที่สามารถสบื คน้ ในเวปไซด์ของ วปอ.ฯ แบ่งเป็น ๒ ส่วน
สว่ นท่ี ๑ เปน็ ขอ้ มูลของ วปอ.ฯ ทพี่ ฒั นาเอง เช่น

- รายชอ่ื นกั ศกึ ษาและเอกสารวจิ ัย ฯ ของแตล่ ะรุน่
- เอกสารวจิ ัย ฯ และหนังสือต่าง ๆ ในห้องสมดุ
- สรปุ ยอ่ เอกสารวจิ ยั ฯ ที่น่าสนใจ
- นโยบาย กำหนดการ และวิธดี ำเนนิ การศกึ ษาตา่ ง ๆ ของ วปอ.
- ผลการสัมมนาของนกั ศึกษา
- ข้อมลู ทางวิชาการและขอ้ มูลเพ่อื การวจิ ัย
ส่วนท่ี ๒ เปน็ ข้อมูลท่ีเชอ่ื มโยงไปแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ เชน่
- สามารถเช่ือมโยงหนว่ ยงานต่าง ๆ ของภาครัฐ
- หอ้ งสมดุ ของสถาบนั การศกึ ษาท้ังหมดในประเทศและหอ้ งสมดุ ในตา่ งประเทศ
- วปอ.ตา่ งประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ญ่ปี ุน่ อนิ เดีย จีน
- เวปไซด์ข้อมูลวิชาการเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ ความมั่นคงแห่งชาติ ความ
ขัดแยง้ และสันติ
- สถานทูตของประเทศตา่ ง ๆ ท่ัวโลก
- รฐั บาลและโรงเรียนทหารท่ัวโลก

สโมสร วปอ.ฯ

สโมสร วปอ.ฯ ให้บริการในเร่ืองอาหาร ห้องจัดเลี้ยงขนาดเล็ก กลาง และใหญ่
นอกจากนั้นยงั มบี รกิ ารในด้านอ่นื ได้แก่ ห้องตัดผมสภุ าพบรุ ษุ และหอ้ งพักผอ่ น

การเงนิ

ระหว่างท่ีนักศึกษารับการศึกษาอยู่ ณ วปอ.ฯ และเดินทางไปดูกิจการและศึกษา
ภมู ิประเทศตามกำหนดการศึกษา วปอ.ฯ จะเป็นผู้ดำเนินการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการเดินทางให้
โดยตลอด ซึ่งนักศึกษาไมต่ ้องเบิกจากหนว่ ยราชการตน้ สังกดั ซ้ำอกี

การไปรษณยี ์

จ่าหน้าซองถึง วปอ.ฯ คือ
วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ
เลขที่ ๖๔ ถนนวิภาวดรี ังสิต แขวงรัชดาภิเษก
เขตดินแดง กรุงเทพ ฯ ๑๐๔๐๐

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเร่ืองท่ีควรทราบ

วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ๑๕

การโทรศพั ท์

๑. หมายเลขโทรศพั ท์กลางของ วปอ.ฯ คือ ๐-๒๖๙๑-๙๓๔๑ - ๔๕ มีเจ้าหน้าท่ีเวร
ประชาสมั พันธ์คอยบริการตลอดเวลาราชการ

๒. หมายเลขโทรศัพท์ ห้องโสตหลังห้องเรียน วปอ.(๑๒๑) และ ปรอ.(๑๒๒)
เบอร์ภายใน ๒๑๕๔ , ๒๑๕๗ ห้องโสตหลังหอประชุมพิบูลสงคราม (ห้องบรรยายรวม)
เบอร์ภายใน ๒๑๕๕ ห้องพักนักศึกษา เบอร์ภายใน ๒๑๖๕ ห้องอาหารนักศึกษา เบอรภ์ ายใน
๒๑๖๗ หอ้ งสำนักงานนกั ศึกษา เบอร์ภายใน ๒๑๖๓ เบอร์ ทศท. ๐ ๒๒๗๖ ๙๑๐๑ - ๒

๓. โทรสาร วปอ.ฯ ๐-๒๒๗๖-๒๑๑๑ (ห้อง กอก.วปอ.ฯ)
๐-๒๒๗๗-๒๖๕๐ (หอ้ ง กพศ.วปอ.ฯ)

แบบฟอร์มตา่ ง ๆ

วปอ.ฯ ได้จัดทำแบบฟอร์มต่าง ๆ เช่น รายงานการถกแถลง รายงานผลการสัมมนา
รายงานผลการแก้ปัญหา รายงานผลการดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ และใบลา แบบฟอร์ม
เหล่าน้จี ะจัดไวใ้ นลิ้นชกั ตูเ้ อกสาร วปอ.ฯ ณ ห้องพักผ่อนนักศึกษา

บตั รผา่ นเข้า - ออก และทจ่ี อดรถ

๑. บัตรผ่านเข้า - ออก บริเวณสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ติดต่อทำบัตรได้ที่
แผนกธุรการ กองกลาง สถาบนั วิชาการปอ้ งกันประเทศ

๒. นักศึกษาจะจอดรถได้ในที่สำหรับจอดรถบริเวณลานจอดรถประตูด้านหน้า
ลานจอดประตูด้านข้าง และพื้นที่บางส่วนบริเวณใต้ถุนอาคารหอประชุมพิบูลสงคราม (อาคาร
บรรยายรวม)

พนกั งานขับรถของนักศึกษา

๑. ห้ามพนักงานขับรถใช้ห้องสุขาบนอาคารเรียน เพราะได้จัดห้องสุขาสำหรับ
พนกั งานขบั รถไว้ที่ชน้ั ๑ อาคารอำนวยการ

๒. ห้ามพนักงานขับรถเล่นการพนันทุกประเภทในเขต วปอ.ฯ และขอความ
ร่วมมือจากนักศึกษาทุกท่าน ช่วยกำชับและว่ากล่าวตักเตือนมิให้พนักงานขับรถเล่นการพนันใน
บริเวณ วปอ.ฯ ด้วย

๓. พนักงานขับรถให้ใช้บริการโรงอาหารสำหรับข้าราชการต่ำกว่าช้ันสัญญาบัตร
ซึง่ อยู่ใต้อาคารบ้านพักข้าราชการ (ช่ัวคราว) ได้ตามที่ตอ้ งการ

ผรู้ บั การติดต่อสอบถาม

๑. เร่ืองเกี่ยวกับการจัดการศึกษา และธุรการทางการศึกษา สอบถามได้จากกอง
พฒั นาการศึกษา (ชั้น ๔)

๒. เรื่องเกีย่ วกบั ปัญหาทางวิชาการ เอกสารวจิ ัยสว่ นบุคคล สอบถามได้จากกองวชิ าการ
ตา่ ง ๆ (ช้ัน ๓) และ กองเอกสารวจิ ัยและห้องสมดุ (ชนั้ ๕)

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเรือ่ งท่คี วรทราบ

วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร ๑๖

๓. เรือ่ งเกย่ี วกับธุรการอื่น ๆ และการอำนวยความสะดวกแกน่ กั ศึกษาสอบถามไดจ้ าก
กองอำนวยการ (ชน้ั ๑)

สำนักงานนิตยสารรัฏฐาภริ ักษ์

มีหน้าท่ีผลิตนิตยสารรายคาบของ วปอ.ฯ เพื่อผลิตบทความทางวิชาการ ทั้งทางด้าน
ยุทธศาสตร์ การเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม การทหาร และ วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี ใน ๑ ปี จะผลิต
เอกสารจำนวน ๔ ฉบับ นกั ศึกษา วปอ. ทุกคนต้องสมคั รเป็นสมาชกิ รัฏฐาภริ ักษ์ มกี ำหนด ๓ ปี

บนั ทกึ การพฒั นาหน่วย และเหตุการณ์ท่ีสำคัญ

๑. วางศิลาฤกษ์อาคาร วปอ.ฯ(อาคารหลังแรก) เม่ือวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๔๙๖ โดยใช้
ทดี่ นิ บรเิ วณดา้ นหลังกระทรวงกลาโหม งบประมาณก่อสรา้ ง ๗,๔๙๓,๐๐๐ บาท

๒. ฯพณฯ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นประธานในพิธีเปิดอาคาร วปอ.ฯ และ
เปิดการศกึ ษา วปอ.รนุ่ ท่ี ๑ เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๙๘ มีนักศึกษาซงึ่ เป็นข้าราชการช้ันผู้ใหญ่
ท้งั ฝ่ายทหารและพลเรือน จำนวน ๖๘ คน

๓. วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปรญิ ญาบัตรกิตติมศักดิ์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภมู พิ ลอดุลยเดช เมอื่ จบการศกึ ษา วปอ.รุน่ ท่ี ๑

๔. วางศิลาฤกษ์อาคาร วปอ.ฯ ถนนวิภาวดีรังสิต เขตห้วยขวาง เนื้อที่ประมาณ ๓๘
ไร่เศษ โดย ฯพ ณ ฯ จอมพ ล ถน อม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงกลาโหม ในขณะนน้ั เมื่อวนั ท่ี ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๐๙ งบประมาณก่อสร้าง ๑๔ ลา้ นบาท

๕. วปอ.ฯ ย้ายจากสถานที่เดิมบริเวณด้านหลังกระทรวงกลาโหม มาอยู่สถานท่ี
ปจั จุบนั ถนนวภิ าวดรี ังสติ เม่อื วนั อาทิตยท์ ี่ ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๑๐ ระหว่างการศกึ ษา รุน่ ที่ ๙

๖. วปอ. ทูลเกลา้ ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ แด่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชนิ ีนาถ
เม่ือสำเรจ็ การศกึ ษา วปอ.รุ่นที่ ๑๑

๗. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั พระราชทานปรญิ ญาบัตร แกผ่ ้สู ำเร็จการศึกษาจาก
วปอ. รุ่นที่ ๑๑ ร่วมกับผู้สำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนทหารอื่น ๆ ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม
๒๕๑๒ หลงั จากนน้ั ไดจ้ ัดพิธรี ับพระราชทานปรญิ ญาบตั รรว่ มกนั ตลอดมา

๘. พนกั งานรฐั วิสาหกิจได้รับการพจิ ารณาอนุมัติให้เข้าศึกษาใน วปอ. ตง้ั แต่ รุ่นที่ ๑๔
เปน็ ต้นมา

๙. วปอ.ฯ ทูลเกลา้ ฯ ถวายปรญิ ญาบตั รกิตติมศกั ดิ์ แด่สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราช-
ชนนี เมือ่ จบการศกึ ษา วปอ.รุ่นท่ี ๑๖

๑๐. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงปลูกต้นพิกุล ณ บริเวณ วปอ.ฯ
เมอื่ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๗

๑๑. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปลูกต้นบุนนาค ณ บริเวณ วปอ.ฯ เมื่อจบ
การศกึ ษา วปอ.รุน่ ที่ ๑๖ วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๑๗

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั แิ ละเร่ืองที่ควรทราบ

วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร ๑๗

๑๒. วปอ.ฯ ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ แด่สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ
เจ้าฟ้ากัลยาณวิ ฒั นา เม่ือจบการศกึ ษา วปอ.รุ่นท่ี ๒๕

๑๓. วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักด์ิ แด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
สยามมกุฏราชกมุ าร เมอื่ จบการศึกษา วปอ.รุน่ ท่ี ๓๐

๑๔. วปอ.ฯ เปิดหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นท่ี ๑
เมื่อวันที่ ๙ มนี าคม ๒๕๓๒

๑๕. สมเด็จพระเจ้าลกู เธอเจ้าฟ้าจฬุ าภรณ์วลัยลักษณ์ ทรงบรรยายพิเศษแก่ นักศึกษา
หลกั สูตรการป้องกันราชอาณาจักร ร่นุ ที่ ๓๑ และหลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจักรภาครัฐร่วม
เอกชนรนุ่ ท่ี ๑ เม่อื วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๒

๑๖. วปอ.ฯ ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญ าบัตรกิตติมศักดิ์แด่ สมเด็จพระเทพ -
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์
เมือ่ จบการศึกษา วปอ.ร่นุ ที่ ๓๑ และ ปรอ.รนุ่ ที่ ๑

๑๗. ฯพณฯ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ นรม./รมว.กห. ได้มาวางศิลาฤกษ์อาคาร
วปอ.ฯ และหอประชุม (อาคารใหม่) เม่ือวันที่ ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๔ งบประมาณก่อสรา้ ง เป็นเงิน
๒๕๒,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท และได้มอบเงินจำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท ไว้เป็นสวัสดิการแก่
ข้าราชการ และลูกจ้าง วปอ.ฯ วปอ.ฯ ไดจ้ ัดต้ังเป็น “เงินทุนมูลนธิ ิชุณหะวัณ” นำเฉพาะดอกผลมา
ใช้เป็นสวัสดกิ ารแก่ขา้ ราชการและลกู จ้าง วปอ.ฯ ชัน้ ผู้น้อย

๑๘. ปี พ.ศ.๒๕๓๘ ปรบั ปรุงหอ้ งบรรยาย วปอ. และ ปรอ. ภายในอาคารใหม่ ซง่ึ เดิม
กอ่ สร้างเป็นพื้นราบ ไม่มีเวที แก้ไขเป็นยกระดับ ปูพรม บุฝาผนัง เวที เปล่ียนโต๊ะเก้าอ้ี ติดผ้าม่าน
และติดฟิล์มกรองแสงอาคาร วปอ.ฯ งบประมาณปรบั ปรงุ เปน็ เงิน ๒,๕๙๔,๗๒๑.- บาท

๑๙. ปี พ.ศ.๒๕๓๘ ได้รบั งบประมาณจาก บก.ทหารสูงสุด ให้ร้อื ถอนอาคารบ้านพัก
ลูกจ้าง ๓ หลัง ก่อสร้างอาคารบ้านพักนายทหารประทวน ขนาด ๓๒ ครอบครัว ทดแทน
๒ หลงั ให้แก่นายทหารประทวน และลูกจา้ ง วปอ.ฯ ได้พักอาศัย

๒๐. พลเอก วิโรจน์ แสงสนิท ผบ.ทหารสูงสุด เป็นประธานในพิธเี ปิดอาคาร วปอ.
๕ ชนั้ อยา่ งเปน็ ทางการ เมอ่ื วันท่ี ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๙

๒๑. พ.ศ.๒๕๔๐ ปรับปรุงและติดตั้งระบบภาพ, แสงและเสียงประจำห้องบรรยาย
วปอ., ปรอ. และห้องประชุม ชั้น ๔ ระบบเสียงตามสายอาคาร วปอ.ฯ ระบบเสียงประจำห้อง
ประชุม วปอ.ฯ ติดตั้งเคร่ืองปรับอากาศ และม่านกันแสงห้องประชุม วปอ.ฯ โดยมีงบประมาณ
ปรบั ปรุง ๑๔,๔๐๐,๐๐๐.- บาท

๒๒. ปี พ.ศ.๒๕๓๙ ได้รับงบประมาณจาก บก.ทหารสูงสุด ก่อสร้างอาคารบ้านพัก
ใหแ้ กน่ ายทหารสญั ญาบัตร ขนาด ๒๔ ครอบครวั ๑ หลงั

๒๓. พ.ศ.๒๕๔๑ ปรับปรุงภายในหอประชุมอาคารใหม่ โดยเปล่ียนผนังโดยรอบจาก
ฝาเฟ้ียมเป็นผนังทบึ ย้ายระบบเคร่ืองปรับอากาศ, ปูพรม, ขยายเวทีบผุ นังภายในเพอื่ ปอ้ งกันเสยี ง
ก้องและสะทอ้ น งบประมาณปรับปรุง ๘,๔๒๑,๐๐๐.-บาท

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเร่ืองท่ีควรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร ๑๘

๒๔. ในวโรกาสทรงครองสิรริ าชสมบัติ ครบ ๕๐ ปี ในปี พ.ศ.๒๕๓ พระบาทสมเดจ็ -
พระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ สมาคม วปอ. โดย พล.อ. วิโรจน์ แสงสนิท
นายกสมาคม นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ ๓๘ และ ปรอ. รุ่นที่ ๘ (กำลังศึกษา) จัดสร้างพระพุทธรูป
และพระเคร่ือง พร้อมท้ังพระราชทานนามพระพุทธรูปบูชา และพระเคร่ืองชุดน้ีว่า “พระพุทธ
กาญจนพรสยามภูมิ” มคี วามหมายวา่ “พระพุทธกาญจนาภิเษกแผ่นดินสยาม”

ต่อมาเม่ือ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ สมาคม วปอ., ศิษย์เก่า วปอ. และ ปรอ.
ทุกร่นุ ไดน้ ำรายได้จากการใหบ้ ริจาคบชู าพระพุทธกาญจนพรสยามภมู ทิ ูลเกลา้ ฯ ถวาย ดงั น้ี

- โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย จำนวน ๒๙,๐๐๐,๐๐๐.-บาท
(ย่ีสบิ เก้าล้านบาทถ้วน)

- โดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทุนมูลนิธิโครงการหลวง จำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐.-
บาท (หน่ึงล้านบาทถ้วน) และได้นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายพระพุทธรูปบชู าและพระเครื่อง “กาญจนพร
สยามภูมิ” ดังน้ี

- พระพุทธรปู บชู าเนอ้ื ทองคำ ขนาดสูง ๒๖.๘ ซม. นำ้ หนักทองคำ
๓,๔๕๐.๘๐ กรัม ๑ องค์

- พระพุทธรปู เนือ้ เงนิ ขนาดสงู ๑๙ ซม. จำนวน ๑ องค์
- พระพุทธรปู เนื้อไม้จันทน์ ขนาดสูง ๑๙ ซม. จำนวน ๑ องค์
- พระพุทธรูปทองเหลืองปิดทอง ขนาดสงู ๑๙ ซม. จำนวน ๑ องค์
- พระเครือ่ งชดุ ๘ องค์ จำนวน ๑ ชดุ
- พระเคร่ืองเนอ้ื ผง จำนวน ๑,๐๐๐ องค์
๒๕. พ.ศ.๒๕๔๒ ปรับปรุงระเบียงอาคาร วปอ.ฯ ช้ัน ๒ ด้านทิศตะวันออกเป็น
ห้องอาหาร และหอ้ งพักผอ่ นของนักศกึ ษา งบประมาณปรับปรุง ๕,๓๒๖,๒๕๐.-บาท
๒๖. เนื่องในวโรกาสเฉลมิ พระชนมพรรษา ๖ รอบ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหส้ มาคม วปอ. โดยมี พล.อ.วิโรจน์ แสงสนิท ในนามสมาคม
วปอ. และมูลนิธิพระพุทธโลกนาถสุโขทัย จัดสร้างพระพุทธปฏิมามงคลเฉลิมพระเกียรติหน้าตัก
กว้าง ๗๒ น้ิว จำนวน ๔ องค์ เพ่ือไปประดิษฐานเป็นพระประธาน ณ วัดพุทธาวาส สหรัฐอเมริกา
วัดไทยมณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพมหานคร และ
วัดยางน้อย อุบลราชธานี และได้นำรายได้ท่ีเหลือจากการบริจาคบูชาทูลเกล้าฯ ถวายเป็นเงิน ๕
ลา้ นบาท เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๓
๒๗. พ.ศ.๒๕๔๓ ปรบั ปรงุ หอประชุม วปอ.สปท. ๑ อาคารท่ที ำการ วปอ.ฯ ปรับปรุง
หอประชมุ วปอ. ๒ เป็นหอ้ งบรรยายรวม และปรับปรงุ หนา้ มุขหอประชุม วปอ.ฯ เปน็ หอ้ งรับรอง
เป็นเงนิ ๒๒.๕ ลา้ นบาท
๒๘. พ.ศ.๒๕๔๔ วปอ.ฯ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดการศึกษาหลักสูตรการ
จัดการสมัยใหม่ หรือ MINI MASTER OF MODERN MANAGEMENT (MINI MMM) รุ่นที่ ๑
เพอ่ื ให้ นักศกึ ษาท่ีเข้าศึกษาใน วปอ.ฯ และศิษยเ์ ก่า ได้มโี อกาสเข้าศึกษาเพม่ิ เติม ใช้เวลาการศกึ ษา
เฉพาะ เสาร์ อาทติ ย์ ประมาณ ๓ เดอื น

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัตแิ ละเรอ่ื งที่ควรทราบ

วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ๑๙

๒๙. พ.ศ.๒๕๔๕ อดีต นักศึกษา วปอ.ฯ ได้มาชุมนุมกันท่ี วปอ.ฯ เพ่ือร่วมในพิธีเปิด
โครงการ “คลังสมอง วปอ. เพ่ือสังคม” (NDC ALUMNI THINK TANK) เพื่อระดมสมองเสนอ
แนวทางในการแกป้ ัญหาทีส่ ำคัญของชาติ เม่อื ๗ ก.พ.๔๕

๓๐. พ.ศ.๒๕๔๖ เปิดการศึกษาหลักสูตร การป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐ เอกชน
และการเมอื ง (วปม.) รุ่นที่ ๑ ต้ังแต่ ๒ กนั ยายน ๒๕๔๖ – ๒ เมษายน ๒๕๔๗ ระยะเวลาการศึกษา
๗ เดือน ใช้เวลาการศึกษาสัปดาห์ละ ๓ วัน คือ วันอังคาร พุธ และพฤหัสบดี มีนักศึกษารุ่นแรก
จำนวน ๖๐ คน

๓๑. พ.ศ.๒๕๔๗ - ได้ขยายเวลาการศึกษาของหลักสูตร วปม.รุ่นท่ี ๒ จาก ๗
เดอื น เป็น ๑ ปี เท่ากบั หลักสูตร วปอ.และ ปรอ.

- แก้ไขระเบียบ กห.ว่าด้วย วปอ. พ.ศ.๒๕๓๖ แก้ไขฉบับที่ ๔
พ.ศ.๒๕๔๔ เพื่อใหส้ อดคล้องกับการเปิดการศกึ ษาหลักสตู ร วปม. และให้ทันสมัยกับปจั จบุ นั

- ๘ มีนาคม ๒๕๔๗ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์
วลัยรักษณ์ อัคราชกมุ ารี (วปอ. รุ่นท่ี ๓๑ กิตติมศักด์ิ) ทรงแสดงปาฐากถาเก่ยี วกับการวิจยั ในด้าน
ต่าง ๆ และผลงานของสถาบนั วจิ ัยจุฬาภรณ์ ณ หอ้ งบรรยายรวม วปอ.ฯ

๓๒. พ.ศ. ๒๕๔๘ วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ แด่ทูลกระหม่อม
หญิงอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริโสภาพรรณวดี และพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา
ทนิ ัดดามาตุ

๓๓. พ.ศ. ๒๕๔๙ วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปรญิ ญาบัตรกิตติมศักด์ิ แด่พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองคเ์ จ้าศรรี ัศม์ิ พระวรชายาในสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชสยามมกุฎราชกมุ าร

๓๔. พ.ศ. ๒๕๕๐ วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญาบตั รกติ ติมศกั ดิ์ แด่พระหลานเธอ
พระองค์เจา้ พชั รกิติยาภา

๓๕. พ.ศ.๒๕๕๑ ปิดการศึกษา หลักสตู รการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐ เอกชนและ
การเมอื ง (วปม.) รนุ่ ท่ี ๔

๓๖. พ.ศ.๒๕๕๑ ได้รับงบประมาณจาก บก.กองทัพไทย เพ่ือก่อสร้างอาคาร
อเนกประสงค์ วปอ. (อาคารออกกำลังกาย) โดยตอ่ เตมิ จากอาคาร วปอ.ฯ เดมิ บรเิ วณทศิ เหนือ เป็น
เงนิ จำนวน ๒๘,๐๐๐,๐๐๐.-บาท

๓๗. พ.ศ. ๒๕๕๑ วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักด์ิ แด่พระหลานเธอ
พระองคเ์ จา้ สิริภาจฑุ าภรณ์

๓๘. พ.ศ.๒๕๕๕ เปิดการศกึ ษา หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ภาครฐั เอกชน
และการเมือง (วปม.) รนุ่ ที่ ๕ เมอ่ื วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๕

๓๙. พ.ศ.๒๕๕๗ ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา โดยปิดการศึกษาหลักสูตร ปรอ. และ
วปม. คงเปิดการศึกษาเพียงหลักสูตรเดียว คือ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๗
เมื่อวนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๕๗

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเรอื่ งที่ควรทราบ

วทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร ๒๐

รายนามผบู้ งั คบั บญั ชาของวทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร

ผ้บู ญั ชาการวทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร

๑. จอมพล แปลก พบิ ูลสงคราม ๒๑ เมษายน ๒๔๙๘ - ๓๐ มีนาคม ๒๕๐๐

๒. จอมพล สฤษดิ์ ธนะรชั ต์ ๓๑ มนี าคม ๒๕๐๐ - ๑๒ กนั ยายน ๒๕๐๐

๓. จอมพล ถนอม กติ ติขจร ๒๓ กนั ยายน ๒๕๐๐ - ๑๕ ตุลาคม ๒๕๑๖

๔. พล.อ.อ. ทวี จุลละทรพั ย์ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๑๖ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๑๗

๕. พล.อ. ครวญ สุทธานินทร์ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๑๗ - ๑๐ มนี าคม ๒๕๑๘

ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร

๑. พล.ท. สรุ พล สุรพลพิเชฏฐ์ ๔ กรกฎาคม ๒๔๙๘ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๐๐

๒. พล.ท. ทักษ์ เสนยี ว์ งศ์ ณ อยธุ ยา ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๐๐ - ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๐๔

๓. พล.ท. บริบูรณ์ จลุ ะจาริตต์ ๑ ตุลาคม ๒๕๐๔ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๐๖

๔. พล.ท. เฉลิม มหทั ธนานนท์ ๑ ตุลาคม ๒๕๐๖ - ๓๐ กันยายน ๒๕๑๓

๕. พล.ท. เชวง ยังเจรญิ ๑ ตุลาคม ๒๕๑๓ - ๓๐ กันยายน ๒๕๑๘

๖. พล.ท .เลิศรบ สีตบุตร ๑ ตลุ าคม ๒๕๑๘ - ๓๐ กันยายน ๒๕๒๐

๗. พล.ท. หริ ัญ ครุธเวโช ๑ ตลุ าคม ๒๕๒๐ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๑

๘. พล.ท. นวล หิญชรี ะนันท์ ๑ ตุลาคม ๒๕๒๑ - ๓๐ กันยายน ๒๕๒๔

๙. พล.ท. อาจ ชาตนิ กั รบ ๑ ตุลาคม ๒๕๒๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๒๖

๑๐. พล.ท. สัมพันธ์ กล่นิ เฟ่อื ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๒๖ - ๓๐ กันยายน ๒๕๒๗

๑๑. พล.ท. นสิ ยั ใบเงิน ๑ ตลุ าคม ๒๕๒๗ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๐

๑๒. พล.ท. ทำเนยี บ ทบั มณี ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๐ - ๓๐ กันยายน ๒๕๓๒

๑๓. พล.ท. ศริ นิ ทร์ ธูปกลำ่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๒ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๔

๑๔. พล.ท. อนันต์ บำรงุ พฤกษ์ ๑ เมษายน ๒๕๓๔ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๕

๑๕. พล.ท. นิยม ศันสนาคม ๑ เมษายน ๒๕๓๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๓๕

๑๖. พล.ท. บุญศักดิ์ กำแหงฤทธิรงค์ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๓๙

๑๗. พล.อ.ท. ชาญชัย ชาญชดิ ชงิ ชยั ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๙ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๒

๑๘. พล.ท. บุญสรา้ ง เนียมประดษิ ฐ์ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๒ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๓

๑๙. พล.ท. เลศิ รัตน์ รตั นวานิช ๑ ตุลาคม ๒๕๔๓ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๔

๒๐. พล.ท. รณจักร สวสั ดิเกียรติ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๔ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๕

๒๑. พล.ท. เกษมศักด์ิ ปลูกสวัสดิ์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๔๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๖

๒๒. พล.ท. ทนงศักดิ์ ตุวนิ นั ทน์ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๖ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘

๒๓. พล.ท. ปิติ กมั พูพงศ์ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๘ - ๓๑ มนี าคม ๒๕๕๐

๒๔. พล.ท. ภานมุ าต สวี ะรา ๑ เมษายน ๒๕๕๐ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๒

๒๕. พล.ร.ท. อมรเทพ ณ บางชา้ ง ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๓

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั แิ ละเร่ืองทค่ี วรทราบ

วทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ๒๑

๒๖. พล.ท. ชศู กั ด์ิ เมฆสุวรรณ์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๓ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕

๒๗. พล.ท. ชาตรี ช่างเรยี น ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖

๒๘. พล.ท. อรรถนพ ศิรศิ กั ดิ์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๗

๒๙. พล.ท. สรุ สิทธิ์ ถนัดทาง ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘

๓๐. พล.ท. ไชยอนันต์ จนั ทคณานรุ กั ษ์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๘ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐

๓๑. พล.ท. ปริพัฒน์ ผลาสนิ ธ์ุ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๑

๓๒. พล.ท. ขจรฤทธ์ิ นิลกำแหง ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒

๓๓. พล.ท. พสิ ัณห์ ปฐมเอม ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓

๓๔. พล.ท. วโิ รจน์ เกดิ แสง ๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔

๓๕. พล.ท. ไพศาล งามวงษ์วาน ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕

๓๖. พล.ท. ชาติชาย ชัยเกษม ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ - ปัจจุบัน

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั ิและเรอื่ งทค่ี วรทราบ

วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ๒๒

รายพระนามทีว่ ิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร
ทลู เกลา้ ฯ ถวายปริญญาบตั ร วปอ. กิตตมิ ศกั ด์ิ

๑. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภมู ิพลอดุลยเดช (รนุ่ ท)่ี
๒. สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ๑
๑๑
๓. สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ๑๖
๔. พล.อ. สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกฎุ ราชกุมาร ๓๐
๓๑
๕. สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๓๑
๖. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟา้ จฬุ าภรณ์วลัยลักษณ์
๗. สมเด็จพระเจ้าพน่ี างเธอเจา้ ฟา้ กัลยาณวิ ฒั นา ๒๕
๔๗
กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ ๔๘
๘. ทูลกระหมอ่ มหญิงอบุ ลรตั นราชกญั ญา สริ วิ ัฒนาพรรณวดี
๔๗
๙. พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าศรรี ัศม์ิ พระวรชายา ๔๙
ในสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช สยามมกฏุ ราชกุมาร ๕๐

๑๐. พระเจ้าวรวงศเ์ ธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ

๑๑. พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พัชรกิตยิ าภา
๑๒. พระเจา้ หลานเธอ พระองค์เจ้าสริ ภิ าจฑุ าภรณ์

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั แิ ละเรอื่ งท่ีควรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร ๒๓

รายพระนามและรายนามผไู้ ดร้ บั พระราชทานปริญญาบตั ร
วปอ. กิตติมศักด์ิ และ ปรอ.กิตมิ ศกั ดิ์

๑. จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม (ร่นุ ท)่ี
๒. พล.อ. จริ วชิ ิตสงคราม
๓. พล.ท. สรุ พล สุรพลพิเชฏฐ์ ๑

๔. จอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต์ ๑
๕. พล.อ. หลวงสวัสด์ิกลยทุ ธ

๖. พล.ท. ม.จ.คสั ตาวัส จักรพนั ธุ์ ๒
๗. พล.ร.อ. หลวงชำนาญ อรรถยทุ ธ
๘. พล.ท. ทักษ์ เสนีวงศ์ ณ อยธุ ยา ๒

๙. พล.อ. สทุ ธิ์ สทุ ธิสารรณกร ๒
๑๐. นายพจน์ สารสนิ

๑๑. พล.ต. หลวงวิจติ รวาทการ ๔
๑๒. พล.ต. พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ กรมหมืน่ นราธิปพงศ์ประพันธ์
๑๓. พ.อ. พระยาศรีวิสารวาจา ๔

๑๔. พ.อ. ถนัด คอมันตร์ ๕
๑๕. พล.อ. เนตร เขมะโยธิน

๑๖. พระยาอรรถการยี ์นพิ นธ์ ๖
๑๗. พล.อ.ท. มุนี มหาสันทนะ เวชยนั ตร์ งั สฤษฎ์ิ
๑๘. นายทวี แรงขำ ๗

๑๙. นายสกุ จิ นิมมานเหมนิ ท์ ๙
๒๐. พระวรวงศ์เธอ กรมหมน่ื พิทยลาภพฤฒิยากร
๑๐
๒๑. พล.ต. หมอ่ มทวีวงศ์ ถวัลยศกั ด์ิ ๑๒
๒๒. หลวงจำรูญเนติศาสตร์
๒๓. นายประกอบ หตุ ะสิงห์ ๑๒
๑๓
๒๔. พล.ร.ต. ชลี สนิ ธุโสภณ ๑๔
๒๕. พล.อ. ครวญ สทุ ธานินทร์
๑๕
๒๖. ม.จ.หญงิ พูนพศิ มัย ดิศกลุ ๑๖
๒๗. ม.ร.ว.คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช
๒๘. พล.ต. ประมาณ อดิเรกสาร ๑๖
๑๗
๒๙. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ๑๗
๓๐. นายธานินทร์ กรัยวเิ ชียร
๑๘
๓๑. พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ๒๕

๒๘

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั ิและเรอ่ื งทีค่ วรทราบ

๓๒. พล.อ. สนุ ทร คงสมพงษ์ วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ๒๔

๓๓. พล.อ. ชาตชิ าย ชุณหะวนั ๒๙
๓๔. นายอกุ ฤษณ์ มงคลนาวนิ ๓๐
๓๐
๓๕. พล.อ. วันชยั เรืองตระกลู ๓๐
๓๖. พล.อ. สจุ นิ ดา คราประยรู ๓๐
๓๗. นายประมวล สภาวสุ ๓๑
๓๑
๓๘. นายจรูญ สภุ าพ ๓๑
๓๙. นายอำนวย วรี วรรณ ๓๒
๓๓
๔๐. พล.ร.อ. ดลิ ก ภทั รโกศล ๓๕
๔๑. นายอานันท์ ปนั ยารชุน ๓๕
๔๒. นายชวน หลกี ภยั ๓๕
๓๕
๔๓. นายมารตุ บนุ นาค ๓๖
๔๔. พล.ร.อ. สนั ติภาพ หมู่มิง่ ๓๖
๓๖
๔๕. พล.ร.อ. สุรวฒุ ิ มหารมณ์ ๓๗
๔๖. นายมชี ยั ฤชพุ ันธ์ ๓๗
๔๗. พล.ต. สมบัติ รอดโพธ์ิทอง ๓๗
๓๙
๔๘. พล.อ. ประเสริฐ สารฤทธ์ิ ๔๓
๔๙. นายบรรหาร ศิลปอาชา ๔๓
๔๓
๕๐. นายบญุ เออ้ื ประเสริฐสุวรรณ ๔๔
๕๑. นายศุภชยั พาณชิ ภักด์ิ ๔๔
๕๒. นายสมัคร สนุ ทรเวช ๔๔
๔๔
๕๓. พ.ต.ท. ดร.ทกั ษิณ ชินวตั ร ๔๕
๕๔. พล.อ.อ. ปอง มณศี ลิ ป์ ๔๕
๔๘
๕๕. พล.ต. สาธิต นมิ ิตรกุล ๕๑
๕๖. นายอุทยั พิมพใ์ จชน
๕๗. นายวันมูหะมดั นอร์ มะทา

๕๘. ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมทุ วาณชิ
๕๙. พล.อ.อ. สงคราม ฐานะวร

๖๐. นายสุรเกียรติ เสถยี รไทย
๖๑. พล.อ. อู๊ด เบ้ืองบน
๖๒. นายประยงค์ รณรงค์

๖๓. ดร.สุรินทร์ พศิ สวุ รรณ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัติและเรื่องท่คี วรทราบ

ปรอ.กติ ิมศักดิ์ วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ๒๕

๑. พล.อ. ชาตชิ าย ชุณหะวัณ (รุ่นที่)

๒. พล.อ. ชวลติ ยงใจยทุ ธ ๑
๓. พล.ท. ทำเนยี บ ทับมณี ๑

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัติและเรื่องท่คี วรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร ๒๖

ภาคผนวก

คำสง่ั กองบญั ชาการทหารสงู สดุ

(เฉพาะ)
ที่ ๗๓๖/๓๔
เรอื่ ง การรักษาความปลอดภยั เก่ียวกบั การศกึ ษา
--------------------------------

โดยเหตุที่การศึกษาในวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ได้มีการนำข้อมูลและ
สถานการณ์จริงมาพิจารณาศึกษา ข้อพิจารณาต่าง ๆ บางส่วนอาจเปน็ ความลับของทางราชการ
ดังน้ัน เพ่ือที่จะให้มีการพิทักษ์รักษาความลับของทางราชการ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
วา่ ดว้ ยการรกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๑๗ จึงกำหนดมาตรการในการรักษาความปลอดภัย
เกีย่ วกับการศึกษาในวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร ดังนี้

๑. ห้ามผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา รวมท้ังนักศึกษาของวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจกั ร นำคำบรรยาย คำอภปิ ราย คำถกแถลง รวมท้ังเอกสารหลักฐาน และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ
ซงึ่ ใช้ในวทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร ออกไปเผยแพร่ โดยมิได้รับอนุญาตจากทางวทิ ยาลยั ปอ้ งกัน
ราชอาณาจกั ร โดยเด็ดขาด

๒. ให้ผพู้ บเห็น หรือทราบวา่ มีการละเมิดหรือสงสัยวา่ จะมีการละเมิดการรักษาความ
ปลอดภัย ตามข้อ ๑. รีบรายงานผู้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย
หรือ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบโดยทันที และให้ปฏิบัติตามระเบียบการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
พ.ศ.๒๕๑๗

๓. หากปรากฎการละเมิดข้ึน ให้พิจารณาลงโทษ ผู้ละเมิดและผู้รับผิดชอบต่อการ
ละเมิดน้นั ตามระเบียบปฏิบัติ โดยนยั แห่งกฎหมาย อย่างเครง่ ครัด

ทั้งน้ี ตง้ั แต่บัดนีเ้ ป็นต้นไป

สั่ง ณ วนั ที่ ๑๙ มิถนุ ายน ๒๕๓๔

(ลงช่ือ) พลเอก สุนทร คงสมพงษ์
(สนุ ทร คงสมพงษ์)
ผบู้ ญั ชาการทหารสูงสดุ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั ิและเรอื่ งท่ีควรทราบ

วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ๒๗

ระเบียบวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร
วา่ ด้วยเครื่องหมายอันเป็นสญั ลักษณ์
ของวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร

พ.ศ.๒๕๐๘
-------------------------------

เพื่อให้การใช้เคร่อื งหมายของวิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร เป็นไปโดยมีระเบยี บ และ
เหมาะสม จึงกำหนดระเบียบว่าด้วยเคร่ืองหมายอันเป็นสัญลักษณ์ของวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจักร ไว้ดังต่อไปนี้ .-

ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ว่าด้ว ย
เคร่ืองหมาย อันเปน็ สญั ลักษณ์ของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร พ.ศ.๒๕๐๘"

ขอ้ ๒ ให้ใช้รูปเคร่ืองหมาย "รัฏฐาภิรักษ์" ตามระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วย
วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เป็นตราของวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร

ขอ้ ๓ ให้มีแหวนอันเป็นสัญลักษณ์สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
โดยมีลักษณะดงั ตอ่ ไปนี้

- ตัวแหวนทำด้วยทองคำ หรือทองคำผสมโลหะ ตอนบนของหัวแหวนฝังด้วย
พลอยสีแดง เป็นรูปวงรี หัวแหวนสลักอักษร "วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ .ศ......"
(ท่สี ำเร็จการศกึ ษาของนักศกึ ษา ฯ รุน่ น้ัน) บนหวั แหวนรอบพลอยดา้ นขวาของวงแหวน มีรปู เคร่ืองหมาย
เข็มรฏั ฐาภริ ักษ์ ด้านซ้ายของวงแหวนมีรูปคบเพลิง อยู่ตอนกลาง มตี วั อักษรคำว่า "สมคคฺ านํ ตโปสุ
โข" สลักบนแผ่นริบบิ้นสองชายปลายสะบัดพล้ิว ตอนล่างถัดลงมา สลักอักษรคำว่ารุ่นที่..... (ของ
นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร) และมีลายกนกไทยประดับตามมุมล่าง ของวงแหวนด้วย
ตามตัวอย่างท้ายระเบียบน้ี

ขอ้ ๔ ให้มีแบบเส้ืออันเป็นสัญลักษณ์ของนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
โดยมลี กั ษณะดังตอ่ ไปนี้

- เส้ือแบบสปอร์ตเช้ิตแขนสั้น สีฟ้าอ่อน มีกระเป๋า ๑ ใบ (ไม่มีฝาปิด) ตรง
ก่ึงกลางกระเป๋าด้านซ้าย ปักหรือปะดว้ ยไหมหรือด้าย เปน็ รูปและขนาดเดียวกับเขม็ รัฏฐาภิรกั ษ์

ข้อ ๕ นักศึกษา ฯ มีสิทธิท่ีจะใช้สัญลักษณ์ของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ได้
ตามโอกาสอันสมควร

ข้อ ๖ ให้ใชร้ ะเบียบนีต้ ้งั แตบ่ ัดน้เี ปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๘

(ลงชื่อ) จอมพล ถนอม กิตตขิ จร
(ถนอม กิตตขิ จร)

ผู้บญั ชาการวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั ิและเรอื่ งทีค่ วรทราบ

วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร ๒๘

บนั ทกึ ขอ้ ความ

เร่ือง เส้อื สญั ลักษณ์ของ วปอ.

เรียน ท่านนกั ศึกษา วปอ.ชดุ ที่ ๑ - ๘ ทุกท่าน

อนุสนธิการแก้ไขลักษณะเสื้อสัญลักษณ์ของ วปอ. ตามที่ทราบอยู่แล้วนั้น บัดน้ี วปอ.
ได้รวบรวมความคิดเห็นของนักศึกษาซึ่งได้ส่งมายัง วปอ. และได้นำเสนอ ฯพณฯ ผบ.วปอ. แล้ว มี
บัญชาเรื่องเสือ้ สัญลกั ษณด์ ังกลา่ ว โดยสรุป คือ

ลักษณะของเส้ือไม่เปล่ียนแปลง แต่เปลี่ยนสีเป็นใช้สีฟ้าอ่อน สำหรับกระเป๋าเสื้อ ใช้
กระเป๋าเดียว อยู่ข้างซ้าย ส่วนเคร่ืองหมายรัฎฐาภิรักษ์ คงมีเช่นเดิม และปักเย็บติดบนกระเป๋าซ้าย
น้ัน สำหรับหมายเลขบอกชดุ ไมม่ ี

ได้แนบสำเนาเอกสารเก่ียวกับเรื่องนี้ พร้อมด้วยตัวอย่างผ้าสีท่ีกำหนดไว้มาพร้อมด้วย
แล้ว

จงึ เรียนมาเพ่ือทราบ

พล.ต.

รอง ผอ.ฝา่ ยบริหาร วปอ.
๑๖ ส.ค.๐๙

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัตแิ ละเรื่องทีค่ วรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร ๒๙

(สำเนา)

บนั ทกึ ขอ้ ความ

เรือ่ ง ความคดิ เหน็ ในเรือ่ งสเี สอ้ื สญั ลักษณ์ วปอ.

กราบเรยี น ผบ.วปอ.

วปอ. ได้มีหนังสือเวียนถึงนักศึกษา วปอ. ชุดที่ ๑ - ๗ เมื่อ ๓๐ มีนาคม ๒๕๐๙ ขอให้
เสนอความคิดเห็นในเรื่องสีเสื้อสัญลักษณ์ของ วปอ. ว่าสมควรจะใช้เส้ือสีใด ควรมีกระเป๋าเสื้อก่ีใบ
และ เครื่องหมาย วปอ.ควรติดท่ีกระเป๋าเสื้อด้านใด (ซ้ายหรือขวา) ท้ังน้ี ขอให้ส่งความคิดเห็นให้
วปอ. ทราบภายใน กรกฎาคม ๒๕๐๙ เพ่อื รวบรวมนำเรยี น ผบ.วปอ. ต่อไป

บัดนี้ วปอ. ได้รวบรวมข้อคิดเห็นจากนักศึกษาฯ สรปุ ไดด้ ังตอ่ ไปนี้
๑. จำนวนนกั ศกึ ษาฯ ที่สง่ ข้อคิดเหน็ ให้ วปอ. ๑๘๗ นาย
๒. สีทีน่ กั ศกึ ษาฯ เลือกมากที่สุด คอื สีแสด ๗๑ นาย (ชุด ๕ จำนวน ๖๘ นาย)

ลำดับ ๒ คือสีฟ้า ฟ้าอ่อน และฟ้าหม่น ซึ่งเป็นสีพื้นของเคร่ืองหมายเข็มรัฎฐา-
ภริ กั ษ์ ๔๙ นาย (ชุด ๑, ๒, ๓, ๔, ๖ และ ๗)

ลำดับ ๓ คอื สกี รมทา่ หรอื นำ้ เงนิ เขม้ (สเี ดมิ ของเสอ้ื วปอ.ปจั จุบนั ) ๑๖ นาย
นอกจากนั้น เปน็ สที ี่นกั ศึกษาฯ ให้ความคิดเห็นแตกตา่ งออกไปอีกถงึ ๑๓ สี
๓. ใหม้ ีกระเปา๋ เส้อื ๑ กระเป๋า ๑๑๔ นาย ๒ กระเปา๋ ๖๔ นาย
๔. ใหต้ ิดตราท่ีกระเปา๋ ด้านซ้าย ๑๒๔ นาย ดา้ นขวา ๕๐ นาย
นอกจากน้ี นักศึกษาฯ ยังได้เสนอข้อคิดเห็นนอกเหนือไปจากท่ี วปอ. กำหนดไว้แต่ละ
ร่นุ สรปุ ต่อท้ายบัญชีรายละเอียดท่ีแนบมาน้ี เฉพาะความเห็นในเร่ืองหมายเลขชุด และการใช้สีเสื้อ
สญั ลักษณ์ชุดละสนี ้ัน วปอ. เห็นว่าไม่สมควรกำหนดใหม้ ีขึ้น เพราะจะเป็นการแบ่งชุดหรือแบ่งสีกนั ไป
ควรจะกำหนดใหใ้ ชส้ ีเสื้อสัญลกั ษณ์เพยี งสเี ดยี ว และไมม่ ีเลขหมายประจำชุด
วปอ. จึงเรียนมาเพ่ือทราบ และขอได้โปรดพิจารณาด้วยว่า สมควรจะใช้สีใดเป็นสีเส้ือ
สัญลกั ษณข์ อง วปอ. เพอ่ื จะได้แจง้ ให้นักศกึ ษา วปอ.ชดุ ที่ ๑ - ๗ ทราบตอ่ ไป

(ลงช่ือ) พล.ท. ฉ. มหัทธนานนท์
ผอ.วปอ.
๙ ส.ค.๐๙

ใช้เสอื้ สีฟ้าอ่อน กระเป๋าดา้ นซา้ ย
กระเปา๋ เดยี ว และติดเคร่ืองหมายที่กระเป๋า

ลงชื่อ จอมพล ถ. กติ ติขจร
ผบ.วปอ.
๑๒ ส.ค.๐๙

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัตแิ ละเรื่องท่คี วรทราบ

วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร ๓๐

ระเบียบกระทรวงกลาโหม
ว่าดว้ ยวิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ

พ.ศ. ๒๕๔๗

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัยป้องกันราช
อาณาจักร สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ ให้เหมาะสมยงิ่ ข้ึน

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการ
กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๐๓ จึงวางระเบยี บไวด้ ังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ ”

ขอ้ ๒ ระเบยี บน้ใี หใ้ ชบ้ งั คับต้งั แตบ่ ัดน้ีเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลกิ

๓.๑ ระเบยี บกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร สถาบัน
วิชาการปอ้ งกันประเทศ พ.ศ.๒๕๓๖

๓.๒ ระเบยี บกระทรวงกลาโหมว่าดว้ ยวทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร สถาบัน
วิชาการป้องกันประเทศ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๓๗

๓.๓ ระเบียบกระทรวงกลาโหมวา่ ดว้ ยวทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบัน
วชิ าการป้องกันประเทศ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ.๒๕๔๒

๓.๔ ระเบยี บกระทรวงกลาโหมวา่ ด้วยวทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร สถาบัน
วิชาการปอ้ งกันประเทศ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ.๒๕๔๔

บรรดาระเบียบและคำส่ังอ่ืนใดในส่วนท่ีกำหนดไว้แล้วในระเบียบน้ี หรือซ่ึงขัดหรือ
แยง้ กบั ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบยี บนแี้ ทน

ข้อ ๔ ให้ผู้อำนวยการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
รักษาการตามระเบยี บนี้

หมวด ๑

ข้อความท่ัวไป
ข้อ ๕ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ใช้คำย่อว่า
“วปอ.สปท.”

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัติและเรอ่ื งที่ควรทราบ

วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร ๓๑

ข้อ ๖ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ มีหน้าท่ี

ประศาสน์วิทยาการ และวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันราชอาณาจักรใหแ้ ก่ข้าราชการท้ังฝ่ายทหารและ
พลเรอื น ตลอดจนพนักงานองค์การของรฐั และรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งเอกชนและนักการเมือง เพอ่ื ให้

เกิดความเข้าใจในความรับผิดชอบร่วมกนั เก่ียวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ และเพ่ือประโยชน์
ในการกำหนดนโยบายการวางแผนและการอำนวยการ เก่ียวกับการรักษาความม่ันคงแห่งชาติ
มีผู้อำนวยการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ เป็นผู้บังคับบัญชา
รับผดิ ชอบ

หมวด ๒

การบริหาร

สว่ นที่ ๑

สภาวิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

ขอ้ ๗ ให้มีสภาวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร ใช้คำยอ่ วา่ “สภา วปอ.” ประกอบด้วย

๗.๑ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เปน็ ประธาน

๗.๒ ผ้บู ญั ชาการทหารสงู สุด เป็นรองประธาน

๗.๓ เสนาธกิ ารทหาร เป็นกรรมการ

๗.๔ เลขาธิการสภาความมัน่ คงแหง่ ชาติ

(ตามทไ่ี ด้ตกลงกบั สำนกั นายกรฐั มนตรี) เป็นกรรมการ

๗.๕ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

และสงั คมแหง่ ชาติ (ตามทีไ่ ดต้ กลงกบั สำนักนายกรัฐมนตรี) เปน็ กรรมการ

๗.๖ ผบู้ ญั ชาการสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๗.๗ ผ้อู ำนวยการวทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

สถาบันวชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ เป็นกรรมการ

๗.๘ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

สถาบันวชิ าการป้องกนั ประเทศ (ทำหนา้ ทีด่ า้ นการบริหาร) เปน็ กรรมการ

๗.๙ ผู้ทรงคณุ วุฒซิ ึ่งประธานสภาวทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

แตง่ ตั้ง จำนวนไมเ่ กิน ๙ คน โดยมวี าระอยใู่ นตำแหนง่

คราวละไม่เกนิ ๓ ปกี ารศึกษา เปน็ กรรมการ

๗.๑๐ รองผู้อำนวยการวิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร

สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ (ทำหน้าท่ดี ้านวชิ าการ)

เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร

๗.๑๑ ผ้อู ำนวยการกองพัฒนาการศกึ ษา วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร

สถาบนั วชิ าการป้องกนั ประเทศ เป็นผู้ช่วยเลขานกุ าร

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ัตแิ ละเรื่องทค่ี วรทราบ

วิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร ๓๒

ข้อ ๘ ให้สภาวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร มอี ำนาจและหน้าที่ ดงั นี้
๘.๑ กำหนดนโยบายในการประศาสนว์ ทิ ยาการ

๘.๒ อนุมัติโครงการการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาต่าง ๆ ของวิทยาลัย
ป้องกันราชอาณาจกั ร สถาบนั วชิ าการป้องกนั ประเทศ

๘.๓ กำหนดจำนวน คุณสมบัติ ของผู้ท่ีจะเข้าศึกษาในแต่ละหลักสูตร

การศกึ ษา ตลอดจนการให้ความเห็นชอบในตัวบุคคลท่ีจะเขา้ รบั การศึกษา
๘.๔ อนุมัติปริญญา ปริญญากิตติมศักดิ์ และวุฒิการศึกษาของหลักสูตร

การศกึ ษาต่าง ๆ ของวิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร สถาบนั วิชาการปอ้ งกันประเทศ
๘.๕ เสนอแนะการแต่งต้ัง และถอดถอนผ้ทู รงคณุ วุฒิ ตามขอ้ ๗.๙
๘.๖ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดบุคคลหน่ึง เพื่อกระทำการใด ๆ

อันอยใู่ นอำนาจและหนา้ ท่ีของสภาวทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร
๘.๗ พจิ ารณาให้ความเห็นในเรื่องต่างๆ เก่ียวกบั กิจการของวิทยาลัยปอ้ งกัน

ราชอาณาจกั ร สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ

ส่วนท่ี ๒
คณะกรรมการการศึกษา
วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร สถาบันวชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ

ขอ้ ๙ ใหม้ คี ณะกรรมการการศกึ ษา วทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบันวิชาการ

ป้องกันประเทศ ใช้คำย่อวา่ “กศษ.วปอ.สปท.” ประกอบดว้ ย

๙.๑ ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร

สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ เป็นประธานกรรมการ

๙.๒ รองผอู้ ำนวยการวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร

สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ (ทำหนา้ ท่ีดา้ นวิชาการ)

เปน็ รองประธานกรรมการ

๙.๓ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

สถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ (ทำหน้าทด่ี า้ นการบริหาร)

เปน็ รองประธานกรรมการ

๙.๔ ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์ วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร

สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๕ ผู้อำนวยการกองการเมือง วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ เปน็ กรรมการ

๙.๖ ผู้อำนวยการกองการเศรษฐกจิ วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๗ ผอู้ ำนวยการกองสังคมจิตวิทยา วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั แิ ละเรอื่ งทีค่ วรทราบ

วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร ๓๓

สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เปน็ กรรมการ

๙.๘ ผู้อำนวยการกองการทหาร วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร

สถาบนั วชิ าการปอ้ งกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๙ ผอู้ ำนวยการกองอำนวยการ วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร

สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๑๐ ผู้อำนวยการกองวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร

สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๑๑ ผู้อำนวยการกองเอกสารวจิ ัย วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร

สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๑๒ ผู้ทรงคณุ วุฒิซึง่ ประธานกรรมการการศกึ ษา วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร

สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ แต่งต้งั จำนวนไมเ่ กิน ๖ คนโดยมวี าระ

อยใู่ นตำแหนง่ คราวละไมเ่ กิน ๑ ปีการศึกษา เปน็ กรรมการ

๙.๑๓ ผอู้ ำนวยการกองพัฒนาการศึกษา วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการและเลขานุการ

๙.๑๔ รองผอู้ ำนวยการกองพัฒนาการศกึ ษา วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร

สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ เปน็ ผู้ช่วยเลขานุการ

ผู้อำนวยการวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ มอี ำนาจ

พิจารณาเชญิ บคุ คลอ่ืน ๆ ตามท่เี ห็นสมควรเข้าร่วมประชมุ ไดต้ ามความจำเป็น

ข้อ ๑๐ ให้คณะกรรมการการศึกษาวทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการ

ปอ้ งกันประเทศ มีอำนาจและหนา้ ที่ ดงั น้ี

๑๐.๑ พิจารณาและจัดทำโครงการการศึกษาและหลักสตู รการศกึ ษา รวมทั้ง

กิจกรรมอ่ืน ๆ ที่เก่ียวกับการศึกษาของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกัน

ประเทศ ใหเ้ ป็นไปตามนโยบายของสภาวทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร

๑๐.๒ กำกับดูแลการบริหารการศึกษาของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ ให้เป็นไปตามทส่ี ภาวิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักรได้มอบหมาย

๑๐.๓ พิจารณาจัดทำรายละเอียดคุณ สมบัติของผู้เข้ารับการศึกษา

การคัดเลือกผู้เข้ารับการศึกษา ระยะเวลาศึกษา ตลอดจนคุณวุฒิ ศักด์ิและสิทธิ์ และหลักสูตร

การศึกษาของหลักสูตรอื่น ๆ เสนอสภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เพ่ืออนุมัติตามความ

เหมาะสมของหลกั สตู รนนั้ ๆ

๑๐.๔ เสนอแนะการแต่งตั้งและถอดถอนผู้ทรงคณุ วุฒิ ตามขอ้ ๙.๑๒

หมวด ๓

คณุ สมบตั นิ กั ศกึ ษา การคัดเลือกเข้าศกึ ษา สภาพนกั ศกึ ษา

ขอ้ ๑๑ คุณสมบัตทิ ่ัวไปของนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการ
ป้องกนั ประเทศ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั ิและเรอื่ งที่ควรทราบ

วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร ๓๔

๑๑.๑ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าข้ึนไป (เว้นปริญญา
กิตติมศกั ด)์ิ

๑๑.๒ เป็นผู้ที่ได้รับความไว้วางใจที่จะเข้าถึงชั้นความลับของทางราชการ
ระดับ “ ลับท่ีสดุ ” หรอื เป็นบุคคลท่ีได้ผ่านการตรวจสอบพฤติกรรมบุคคลจากหน่วยงานรฐั ว่าไม่
เป็นภยั ต่อความมน่ั คงของชาติ

๑๑.๓ เป็นผู้ท่ีได้รับความยินยอมให้เข้ารับการศึกษาตามสายการบังคับ
บัญชา จากหวั หนา้ สว่ นราชการ หรอื หน่วยงานระดับอธบิ ดี หรอื เทยี บเทา่ ข้ึนไป หรือผู้บริหารระดับ
สูงสดุ ขององค์กรหรือบรษิ ัท

๑๑.๔ สขุ ภาพแขง็ แรงและสามารถเข้ารบั การศกึ ษาไดต้ ลอดหลกั สตู ร
๑๑.๕ มคี ณุ สมบตั อิ ื่นๆ ตามท่สี ภาวทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั รกำหนด
ข้อ ๑๒ คณุ สมบัติเฉพาะของนกั ศึกษาวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร สถาบันวิชาการ
ปอ้ งกนั ประเทศ
๑๒.๑ เป็นนายทหาร หรือนายตำรวจที่รบั เงินเดือน อัตราต้ังแต่ช้ัน พันเอก
(พิเศษ) นาวาเอก (พิเศษ) นาวาอากาศเอก (พิเศษ) หรือพันตำรวจเอก (พิเศษ) ขึ้นไป หรือ
ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการกรุงเทพมหานคร พนักงานเทศบาล ข้าราชการรัฐสภาสามัญ
รับเงินเดือนต้ังแต่ระดับ ๙ ข้ึนไป หรือข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ รับเงินเดือนต้ังแต่
ชน้ั ๓ ขึ้นไป หรอื พนกั งานรัฐวิสาหกิจ พนักงานองคก์ ารของรัฐ หรือองคก์ ารมหาชน ที่มีตำแหน่ง
และรับเงนิ เดือนเทยี บเทา่ ขา้ ราชการพลเรือน
๑๒.๒ เป็นนักธุรกิจภาคเอกชนและพนักงานองค์การธุรกิจ มีสัญชาติไทย
ประกอบกิจการท่ีเกี่ยวกับการเศรษฐกิจที่ประสบความสำเร็จ และมีสถานภาพม่ันคง
มจี รรยาบรรณในการประกอบกิจการ ไม่เคยประพฤตเิ สียหายทางด้านธุรกิจ ดา้ นสังคม กฎหมาย
มีกิจกรรมร่วมมอื กบั ภาครัฐในการเสริมสรา้ งความมนั่ คงทางด้านเศรษฐกิจ
๑๒.๓ เป็นบุคคลทั่วไป ที่สังกัดอยู่ในส่วนราชการ หน่วยงาน องค์กร หรือ
บริษัทท่ีไม่ได้รับการจัดสรรที่น่ังศึกษา จาก สภา วปอ. หรือเป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์ในการทำงาน
ที่เก่ียวข้องกับความม่ันคงแห่งชาติในด้าน การทหาร เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การพลังงานและสิ่งแวดล้อม และด้านการเมือง ซึ่งมีคุณสมบัติตามท่ีสภาวิทยาลัย
ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร กำหนด
ข้อ ๑๓ การคัดเลือกเขา้ ศึกษา
๑๓.๑ ข้าราชการทหาร ข้าราชการพลเรือน พนักงานองค์การของรัฐ และ
รัฐวิสาหกิจ ที่จะเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรต่างๆ ของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบัน
วิชาการป้องกันประเทศ ให้เป็นไปตามที่ส่วนราชการระดับกระทรวงหรือเทียบเท่าเป็นผู้คัดเลือก
แล้วเสนอรายช่ือและประวัติให้วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
ตามคุณสมบัติและจำนวนที่วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
แจ้งให้ทราบ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ัตแิ ละเรือ่ งท่ีควรทราบ

วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร ๓๕

๑๓.๒ นักธุรกิจภาคเอกชน พนักงานในองค์การธุรกิจและนักการเมือง
ให้วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ รวบรวมรายช่ือและประวัติ
เสนอขอรบั ความเห็นชอบจากสภาวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร ตามข้อ ๘.๓ กอ่ นจะดำเนนิ การ
ต่อไป

ข้อ ๑๔ ให้วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ รวบรวม
รายช่ือ ตามข้อ ๑๓ เสนอขอรับความเห็นชอบจากสภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ให้เข้ารับ
การศกึ ษา จากน้นั ใหเ้ สนอตามสายการบังคบั บญั ชาเพอ่ื ขอรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี

ข้อ ๑๕ นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
จะพ้นจากฐานะการเปน็ นกั ศึกษา เมื่อ

๑๕.๑ ตาย
๑๕.๒ ลาออก
๑๕.๓ ขาดคณุ สมบัตติ ามขอ้ ๑๑ หรอื ขอ้ ๑๒
๑๕.๔ เป็นผทู้ ่ีสภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร เหน็ สมควรใหพ้ ้นจากฐานะ
การเปน็ นกั ศึกษา

หมวด ๔

การศกึ ษา คุณวุฒิ ศักดิ์และสิทธ์ิ

ข้อ ๑๖ ผู้ท่ีจะได้รับการพิจารณ าว่าสำเร็จการศึกษาจาก วิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจกั ร สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ จะตอ้ ง

๑๖.๑ มีเวลารับการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของเวลาการศึกษาตาม
หลักสูตรหลัก ปฐมนเิ ทศและหลักสูตรหลกั

๑๖.๒ เสนอเอกสารวิจยั สว่ นบคุ คลตอ่ วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร สถาบัน
วิชาการป้องกันประเทศ ตามกำหนด และได้รับอนุมตั ิ

๑๖.๓ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษาตามกระบวนการศึกษาในหลักสูตร และ
กจิ กรรมทเี่ ป็นประโยชน์ต่อกองทัพและประเทศชาติ ตามที่ วปอ.ฯ กำหนด โดยให้ วปอ.ฯ กำหนดเกณฑ์การ
ประเมินผล

๑๖.๔ จัดทำรายงานส่วนบุคคล เพ่ือนำเสนอผลงานจากความรู้และ
ประสบการณ์ในการทำงาน จำนวน ๒ ฉบบั เสนอต่อ วปอ.ฯ ภายในเวลาทก่ี ำหนด

๑๖.๕ ไมด่ ำเนนิ การใดๆ อนั นำความเส่ือมเสียมาสู่ชือ่ เสียงของ วปอ.ฯ
ข้อ ๑๗ ผู้ที่ได้รับการประศาสน์วิทยาการสำเร็จการศึกษาหลักสูตรการป้องกัน
ราชอาณาจักร หรือหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน หรือหลักสูตรการ
ป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมืองจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบัน
วิชาการป้องกนั ประเทศ มีสทิ ธไิ ดร้ บั ปริญญา และใชค้ ำย่อว่า “วปอ.” ต่อทา้ ยชอื่ ได้
ข้อ ๑๘ ผู้ไม่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกัน
ประเทศ มีสทิ ธิไดร้ บั หนงั สอื รับรองการเข้ารับการศึกษา

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ัตแิ ละเรอ่ื งที่ควรทราบ

วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ๓๖

ขอ้ ๑๙ สภาวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร เป็นผูพ้ ิจารณาอนมุ ัติปริญญากิตติมศักด์ิ
ของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ แก่ผู้ทรงคุณวุฒิตามที่
เหน็ สมควรในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา

ขอ้ ๒๐ คุณสมบตั ิของผู้ทรงคณุ วุฒิทีส่ มควรได้รบั ปรญิ ญากติ ติมศักดิ์ มดี ังนี้
๒๐.๑ เป็นผู้ทรงเกียรติในฐานะที่ได้ปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์สำคัญของ

ประเทศชาตแิ ละเปน็ ทีย่ อมรับนับถือโดยทว่ั ไป หรอื
๒๐.๒ เป็นข้าราชการประจำหรอื พนักงานรฐั วิสาหกิจที่ไม่อยู่ในเกณฑ์ตาม

ข้อ ๑๑ หรือข้อ ๑๒ ที่จะเข้าศึกษาในวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกัน
ประเทศ ได้ต่อไปและได้ปฏิบัตงิ านเพ่ือประโยชน์สำคัญของประเทศชาติ และเป็นท่ยี อมรับนับถือ
โดยท่วั ไป

ขอ้ ๒๑ ผู้ที่ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์ของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบัน
วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ มสี ทิ ธใิ ช้คำย่อว่า “วปอ. (กิตติมศักด)ิ์ ” ต่อท้ายชอื่ ได้

ขอ้ ๒๒ ให้มเี ข็มเคร่ืองหมายวิทยฐานะเรียกว่า “เข็มรัฏฐาภิรักษ์” ซึ่งมีลักษณะทำ
ดว้ ยโลหะมีรปู พระมหามงกฎุ เปล่งรศั มี ภายในพระมหามงกฎุ เป็นรปู อณุ าโลมอยู่เบ้ืองบนจกั รและ
สมอ มีรูปปีกนกออกจากรูปจักรโอบพระมหามงกุฎ ต่อจากรูปสมอลงมาเป็นช่อชัยพฤกษ์และ
คร่งึ วงกลมล้อมดาวห้าแฉก สองข้างช่อชัยพฤกษ์มีรูปราชสีห์ ๑ ตัว อยู่ด้านซ้าย และรูปคชสีห์
๑ ตัว อยู่ด้านขวาของเข็มรัฏฐาภริ ักษ์ ยนื เผ่นหันหน้าเข้าหากัน ทงั้ หมดนีท้ ำด้วยโลหะสีทองติดอยู่
บนพื้นโล่สฟี า้ อ่อน ซ่ึงมแี ถบธงชาติลงยาพาดกลางเฉียงขึ้นจากขวาไปซ้าย ขอบโลโ่ ดยรอบเป็นเส้น
สีทอง รายละเอยี ดตามภาพทา้ ยระเบียบน้ี

ขอ้ ๒๓ ผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร หรือหลักสูตรการ
ป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน หรือหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน
และการเมือง จากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ และผู้ได้รับ
ปรญิ ญากติ ติมศักดิ์ มีสิทธิประดบั เข็มรฏั ฐาภริ กั ษ์ท่ีกึง่ กลางกระเป๋าขวาของเสื้อเคร่อื งแบบ ถา้ เป็น
เสือ้ นอกเปิดอกปาดเอวให้ประดับที่อกเส้ือเบ้อื งขวา กับมีสิทธิประดับเข็มรัฏฐาภิรกั ษ์ขนาดย่อได้
ในโอกาสอนั ควร

ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

(ลงชอ่ื ) พลเอก สัมพนั ธ์ บุญญานันต์
(สัมพันธ์ บุญญานันต์)

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ตั ิและเร่อื งทีค่ วรทราบ

วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร ๓๗

ภาพเครื่องหมายเขม็ รัฏฐาภริ กั ษ์

๓ ซ.ม.
๕.๕ ซ.ม.

เข็มยอ่ รูปลกั ษณะเหมือนเข็มใหญแ่ ต่ขนาดยอ่ ลงเหลือสงู ๒ ซ.ม. กวา้ ง ๑ ซ.ม.

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ัตแิ ละเร่ืองท่คี วรทราบ

วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร ๓๘

ระเบยี บกระทรวงกลาโหม
ว่าดว้ ยวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ

(แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๑

โดยทีเ่ ป็นการสมควรแก้ไขเพม่ิ เติมระเบยี บกระทรวงกลาโหมวา่ ด้วยวิทยาลัยปอ้ งกัน
ราชอาณาจกั ร สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ ให้เหมาะสมยง่ิ ขึ้น จึงวางระเบียบไว้ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจักร สถาบนั วิชาการปอ้ งกันประเทศ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๑ ”

ขอ้ ๒ ระเบียบนใ้ี หใ้ ช้บงั คบั ตง้ั แตบ่ ดั นี้เปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๖ แห่งระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัย
ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ และใหใ้ ช้ความต่อไปนี้แทน

“ ข้อ ๖ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
มีหน้าท่ีประศาสน์วิทยาการ และวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันราชอาณาจักรให้แก่ข้าราชการท้ังฝ่าย
ทหารและพลเรือน ตลอดจนพนักงานองค์การของรัฐและรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งนักธุรกิจภาคเอกชน
พนักงานองค์การธุรกิจและบุคคลท่ัวไปที่สังกัดอยู่ในส่วนราชการ หน่วยงาน องค์กร หรือบริษัท
ทไ่ี มไ่ ด้รับการจดั สรรที่นงั่ ศึกษาจากสภาวิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร หรืเป็นผทู้ ีม่ ปี ระสบการณใ์ น
การทำงานท่ีเก่ียวกับความม่ันคงแห่งชาติในด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงานและส่ิงแวดล้อมซึ่งมีคุณสมบัติตามท่ีสภาวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจักรกำหนด เพื่อให้เกิดความเข้าใจในความรับผิดชอบร่วมกันเกี่ยวกับการรักษาความ
มนั่ คงแห่งชาติ และเพื่อประโยชน์ในการกำหนดนโยบาย การวางแผนและการอำนวยการ เก่ียวกับ
การรักษาความม่ันคงแห่งชาติ มีผู้อำนวยการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการ
ปอ้ งกันประเทศ เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชารับผดิ ชอบ ”

ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๑ แห่งระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัย
ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนีแ้ ทน

“ ข้อ ๑๑ คุณสมบัติท่ัวไปของนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ

๑๑.๑ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าขึ้นไป (เว้น
ปริญญากติ ติมศกั ดิ์)

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ัตแิ ละเร่ืองท่คี วรทราบ

วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ๓๙

๑๑.๒ เป็นผู้ท่ีได้รับความไว้วางใจท่ีจะเข้าถึงชั้นความลับของทาง
ราชการระดับ “ ลับที่สดุ ” หรอื เป็นบุคคลท่ไี ดผ้ ่านการตรวจสอบพฤติกรรมบุคคลจากหนว่ ยงานรัฐ
ว่าไมเ่ ปน็ ภยั ต่อความม่นั คงของชาติ

๑๑.๓ เป็นผู้ได้รบั ความยนิ ยอมใหเ้ ข้ารับการศึกษาตามสายการบังคับ
บญั ชา จากหัวหน้าสว่ นราชการ หรอื หนว่ ยงานระดับอธบิ ดี หรอื เทียบเทา่ ขน้ึ ไป หรือผ้บู ริหารระดับ
สงู สุดขององค์กรหรือบริษทั

๑๑.๔ สุขภาพแขง็ แรงและสามารถเขา้ รบั การศกึ ษาได้ตลอดหลักสตู ร
๑๑.๕ มีคุณสมบัติอ่ืนๆ ตามที่สภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
กำหนด ”
ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๒ แห่งระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัย
ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ และให้ใชค้ วามต่อไปน้แี ทน
“ ข้อ ๑๒ คุณสมบัติเฉพาะของนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบัน
วชิ าการปอ้ งกันประเทศ
๑๒.๑ เป็นนายทหาร หรือนายตำรวจท่ีรับเงินเดือน อัตราต้ังแต่ช้ัน
พนั เอก (พเิ ศษ) นาวาเอก (พเิ ศษ) นาวาอากาศเอก (พิเศษ) หรือพันตำรวจเอก (พเิ ศษ) ขึน้ ไป หรือ
ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการกรุงเทพมหานคร พนักงานเทศบาล ข้าราชการรัฐสภาสามัญ
รับเงินเดือนตั้งแต่ระดับ ๙ ขึ้นไป หรือข้าราชการตุลาการรับเงินเดือนตั้งแต่ช้ัน ๓ ขึ้นไป หรือ
ขา้ ราชการอัยการ รบั เงินเดือนต้ังแต่ช้นั ๕ ขึ้นไป หรอื พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานองคก์ ารของ
รัฐ หรือองค์การมหาชน ที่มีตำแหน่งและรับเงนิ เดอื นเทียบเทา่ ข้าราชการพลเรอื น
๑๒.๒ เป็นนกั ธุรกจิ ภาคเอกชนและพนักงานองค์การธุรกิจ มีสญั ชาติ
ไทย ประกอบกิจการท่ีเก่ียวกับการเศรษฐกิจท่ีประสบความสำเร็จ และมีสถานภาพมั่นคง
มจี รรยาบรรณในการประกอบกิจการ ไม่เคยประพฤติเสียหายทางดา้ นธุรกิจ ดา้ นสังคม กฎหมาย
มีกิจกรรมรว่ มมือกับภาครัฐในการเสรมิ สร้างความมัน่ คงทางด้านเศรษฐกจิ
๑๒.๓ เปน็ บุคคลท่ัวไปท่ีสังกัดอยูใ่ นส่วนราชการ หน่วยงาน องค์กร
หรือบรษิ ัท ที่ไม่ได้รับการจัดสรรท่ีนงั่ ศกึ ษา จาก สภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หรอื เป็นผทู้ ่ีมี
ประสบการณ์ในการทำงานที่เก่ียวข้องกับความม่ันคงแห่งชาติ ในด้านการเมือง การทหาร
เศรษฐกจิ สงั คมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและสง่ิ แวดล้อม ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่
สภาวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร กำหนด ”
ข้อ ๖ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๓ แห่งระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัย
ป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ และให้ใชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน
“ ขอ้ ๑๓ การคัดเลือกเข้าศกึ ษา
๑๓.๑ ข้าราชการทหาร ข้าราชการพลเรือน พนักงานองค์การของรัฐ
และรัฐวิสาหกจิ ท่จี ะเข้ารบั การศึกษาในหลักสตู รตา่ งๆ ของวทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบัน
วิชาการป้องกันประเทศ ให้เป็นไปตามท่ีส่วนราชการระดับกระทรวงหรือเทียบเท่าเป็นผู้คัดเลือก
แล้วเสนอรายช่ือและประวัติให้วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั แิ ละเรอ่ื งทีค่ วรทราบ

วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ๔๐

ตามคุณสมบัติและจำนวนท่ีวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

แจ้งให้ทราบ
๑๓.๒ บุคคลตามข้อ ๑๒.๒ และข้อ ๑๒.๓ ให้วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ รวบรวมรายชื่อและประวัติเสนอขอรับความเห็นชอบจาก
สภาวิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร ตามขอ้ ๘.๓ กอ่ นจะดำเนินการต่อไป”

ขอ้ ๗ ให้ยกเลิกความในขอ้ ๑๖ แหง่ ระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัย

ป้องกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ และใหใ้ ช้ความต่อไปนี้แทน
“ขอ้ ๑๖ ผู้ท่ีจะได้รับการพิจารณาว่าสำเรจ็ การศกึ ษาจากวทิ ยาลัยป้องกัน

ราชอาณาจักร สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ จะตอ้ ง
๑๖.๑ มีเวลารับการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของเวลาการศึกษา

ตามหลกั สตู ร ปฐมนเิ ทศและหลกั สูตรหลกั

๑๖.๒ เสนอเอกสารวิจัยส่วนบุคคลต่อวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ ตามกำหนด และได้รับอนุมตั ิ

๑๖.๓ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษาตามกระบวนการศึกษาในหลักสูตร
และกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อกองทัพและประเทศชาติ ตามที่ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ
กำหนด โดยให้ วทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั รฯ กำหนดเกณฑก์ ารประเมินผล

๑๖.๔ จัดทำรายงานส่วนบุคคล เพื่อนำเสนอผลงานจากความรู้และ
ประสบการณ์ในการทำงาน จำนวน ๒ ฉบับ เสนอต่อ วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักรฯ ภายในเวลา

ทก่ี ำหนด
๑๖.๕ ไม่ดำเนินการใดๆ อันนำความเส่ือมเสียมาสู่ชื่อเสียงของ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั รฯ ”

ประกาศ ณ วนั ท่ี มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑

(ลงชื่อ) พลเอก

( บุญรอด

สมทศั น์ )

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม

หมายเหตุ :- หลักการและเหตุผลในการประกาศใช้ระเบียบฉบับน้ี คือ แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบ
กระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ พ.ศ.
๒๕๔๗ ให้เหมาะสมย่ิงขึ้น เพ่ือให้วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ บริหารจัดการศึกษาตาม
หลักสูตรที่ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ เปิดให้การศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมี
คุณภาพ ตามวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร จงึ จำเปน็ ตอ้ งวางระเบยี บนี้

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ัตแิ ละเร่ืองท่ีควรทราบ

วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ๔๑

ระเบยี บกระทรวงกลาโหม
ว่าดว้ ยวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการป้องกนั ประเทศ

(ฉบบั ที่ ๓)
พ.ศ.๒๕๕๗

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัย

ปอ้ งกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ ให้เหมาะสมยง่ิ ขึ้น จึงวางระเบยี บไว้ดงั น้ี

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัยป้องกัน

ราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๗

ข้อ ๒ ระเบยี บนี้ใหใ้ ชบ้ ังคบั ตงั้ แต่บดั นเ้ี ป็นตน้ ไป

ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ แห่งระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัย

ป้องกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนแี้ ทน

“ข้อ ๗ ให้มีสภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ใช้คำย่อว่า “สภา วปอ.”

ประกอบดว้ ย

๗.๑ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม เปน็ ประธาน

๗.๒ ผู้บัญชาการทหารสงู สุด เปน็ รองประธาน

๗.๓ เสนาธิการทหาร เป็นกรรมการ

๗.๔ เลขาธกิ ารสภาความมน่ั คงแห่งชาติ

(ตามทไ่ี ด้ตกลงกบั สำนกั นายกรัฐมนตรี) เปน็ กรรมการ

๗.๕ เลขาธกิ ารคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ

และสังคมแห่งชาติ (ตามทีไ่ ดต้ กลงกับสำนักนายกรฐั มนตรี)

เป็นกรรมการ

๗.๖ ผูบ้ ัญชาการสถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๗.๗ ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร

สถาบนั วชิ าการป้องกนั ประเทศ เปน็ กรรมการ

๗.๘ รองผอู้ ำนวยการวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร

สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ เปน็ กรรมการ

๗.๙ ผทู้ รงคณุ วุฒิซงึ่ ประธานสภาวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร

แต่งต้ัง จำนวนไม่เกิน ๙ คน โดยมีวาระอยู่ในตำแหนง่

คราวละ ไม่เกิน ๓ ปกี ารศึกษา เปน็ กรรมการ

๗.๑๐ ผอู้ ำนวยการสำนักวิทยาการความมน่ั คง

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั แิ ละเรือ่ งทีค่ วรทราบ

วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ๔๒

วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร
สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ เป็นกรรมการและเลขานุการ
๗.๑๑ ผอู้ ำนวยการกองพัฒนาการศึกษา
วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร
สถาบันวชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ เปน็ ผู้ช่วยเลขานุการ
ขอ้ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙ แห่งระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัย
ปอ้ งกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนแี้ ทน
“ขอ้ ๙ ให้มีคณะกรรมการการศึกษา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ ใช้คำย่อวา่ “กศษ.วปอ.สปท.” ประกอบดว้ ย
๙.๑ ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร
สถาบันวชิ าการป้องกนั ประเทศ เปน็ ประธานกรรมการ
๙.๒ รองผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร
สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ เป็นรองประธานกรรมการ
๙.๓ ผู้อำนวยการสำนกั วิทยาการความม่ันคง
วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร
สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ เปน็ รองประธานกรรมการ
๙.๔ ผูอ้ ำนวยการกองยทุ ธศาสตร์และความมน่ั คง
สำนักวทิ ยาการความมนั่ คง
วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร
สถาบนั วชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ เปน็ กรรมการ
๙.๕ ผู้อำนวยการกองการเมอื งและการทหาร
สำนกั วิทยาการความม่นั คง
วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร
สถาบนั วชิ าการปอ้ งกันประเทศ เป็นกรรมการ
๙.๖ ผ้อู ำนวยการกองการเศรษฐกิจและสังคมจิตวทิ ยา
สำนกั วทิ ยาการความมน่ั คง
วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร
สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ
๙.๗ ผอู้ ำนวยการกองวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การพลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ ม
สำนักวิทยาการความม่นั คง
วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร
สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ เปน็ กรรมการ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัตแิ ละเรอ่ื งทีค่ วรทราบ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร ๔๓

๙.๘ ผูอ้ ำนวยการกองอำนวยการ
วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร
สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๙ ผูอ้ ำนวยการกองเอกสารวิจัยและหอ้ งสมดุ
วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร
สถาบันวชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ เปน็ กรรมการ

๙.๑๐ ผู้ทรงคุณวฒุ ิซึง่ ประธานกรรมการการศกึ ษา
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ
แตง่ ตงั้ จำนวนไมเ่ กิน ๖ คน โดยมีวาระ
อยู่ในตำแหน่งคราวละไมเ่ กิน ๑ ปกี ารศกึ ษา เป็นกรรมการ

๙.๑๑ ผอู้ ำนวยการกองพฒั นาการศกึ ษา
วทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร
สถาบันวชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ เป็นกรรมการและเลขานุการ

๙.๑๒ รองผู้อำนวยการกองพัฒนาการศึกษา
วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร
สถาบนั วชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ เป็นผู้ชว่ ยเลขานุการ

ผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลัยวิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร สถาบันวชิ าการป้องกัน
ประเทศ มีอำนาจพิจารณาเชิญบุคคลอื่นๆ ตามที่เห็นสมควรเข้าร่วมประชุมได้ตามความจำเป็น”

ประกาศ ณ

(ลงช่ือ)

(ประวิตร วงษ์สวุ รรณ)
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม

หมายเหตุ :- หลักการและเหตุผลในการประกาศใช้ระเบียบนี้ คือ แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบ
กระทรวงกลาโหม ว่าด้วยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ พ.ศ.
๒๕๔๗ ให้เหมาะสมยิง่ ขน้ึ เพือ่ ให้วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักรฯ บริหารจัดการศกึ ษาตามหลกั สตู ร
ท่ีวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ เปิดให้การศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพ
ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร รวมท้ังการปรับอตั ราและโครงสร้างการจัดหน่วย จึงจำเป็นต้องวาง
ระเบียบนี้

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัตแิ ละเรื่องท่คี วรทราบ

วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร ๔๔

ระเบียบกระทรวงกลาโหม
วา่ ดว้ ยวทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ

(ฉบับท่ี ๔)
พ.ศ.๒๕๕๙
-------------------------------------------

โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจกั ร สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ ใหเ้ หมาะสมยง่ิ ขึ้น จงึ วางระเบียบไวด้ งั นี้

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจกั ร สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ.๒๕๕๙

ขอ้ ๒ ระเบยี บน้ีใหใ้ ช้บังคับต้ังแต่บดั น้ีเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ ความในขอ้ ๙ แห่งระเบียบกระทรวงกลาโหม วา่ ดว้ ยวทิ ยาลัยปอ้ งกัน
ราชอาณ าจักร สถาบัน วิชาการป้องกัน ป ระ เท ศ พ .ศ.๒ ๕ ๔ ๗ ซึ่งแก้ไขโดยระเบียบ
กระทรวงกลาโหม ว่าด้วยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ (ฉบับท่ี
๓) พ.ศ.๒๕๕๗ และใหใ้ ชข้ ้อความต่อไปนแ้ี ทน

“ขอ้ ๙ ให้มีคณะกรรมการการศึกษา วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร สถาบัน
วชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ ใช้คำยอ่ วา่ “กศษ.วปอ.สปท.” ประกอบดว้ ย

๙.๑ ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร
สถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ เป็นประธานกรรมการ

๙.๒ รองผ้อู ำนวยการวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร
สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ เปน็ รองประธานกรรมการ

๙.๓ ผู้อำนวยการสำนกั วิทยาการความมนั่ คง
วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร
สถาบนั วชิ าการปอ้ งกันประเทศ เปน็ รองประธานกรรมการ

๙.๔ รองผูอ้ ำนวยการสำนกั วิทยาการความมน่ั คง
วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สถาบนั วชิ าการป้องกนั ประเทศ (๑) (๒) เปน็ กรรมการ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบัตแิ ละเรื่องทค่ี วรทราบ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร ๔๕

๙.๕ ผู้อำนวยการกองยทุ ธศาสตรแ์ ละความมัน่ คง
สำนักวทิ ยาการความม่นั คง
วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร
สถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๖ ผู้อำนวยการกองการเมอื งและการทหาร
สำนักวทิ ยาการความมัน่ คง
วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร
สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๗ ผ้อู ำนวยการกองการเศรษฐกิจและสงั คมจติ วทิ ยา
สำนักวทิ ยาการความมั่นคง
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๘ ผู้อำนวยการกองวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การพลงั งานและสิ่งแวดล้อม
สำนักวิทยาการความม่นั คง
วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร
สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ เปน็ กรรมการ

๙.๙ ผอู้ ำนวยการกองอำนวยการ
วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร
สถาบนั วิชาการป้องกนั ประเทศ เป็นกรรมการ

๙.๑๐ ผู้อำนวยการกองเอกสารวจิ ัยและห้องสมุด
วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร
สถาบนั วชิ าการป้องกนั ประเทศ เปน็ กรรมการ

๙.๑๑ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิซ่งึ ประธานกรรมการการศกึ ษา
วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร
สถาบนั วิชาการปอ้ งกันประเทศ
แต่งตงั้ จำนวนไมเ่ กิน ๖ คน โดยมีวาระ
อยใู่ นตำแหนง่ คราวละไมเ่ กนิ ๑ ปกี ารศกึ ษา เปน็ กรรมการ

๙.๑๒ ผ้อู ำนวยการกองพฒั นาการศึกษา
วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร
สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ เป็นกรรมการและเลขานุการ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏบิ ัติและเร่อื งที่ควรทราบ

วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร ๔๖
๙.๑๓ รองผอู้ ำนวยการกองพฒั นาการศึกษา

วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร
สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ เปน็ ผู้ช่วยเลขานกุ าร
ผู้อำนวยการวิทยาลัยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
มีอำนาจพจิ ารณาเชิญบุคคลอื่นๆ ตามท่ีเห็นสมควรเข้ารว่ มประชมุ ได้ตามความจำเปน็ ”
ประกาศ ณ วันท่ี กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๙

พลเอก
(ประวติ ร วงษ์สวุ รรณ)

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร
สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ

เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๑ คำแนะนำการปฏิบตั แิ ละเร่อื งที่ควรทราบ


Click to View FlipBook Version