The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surassavadee.su, 2021-11-02 04:23:56

ประวัติวปอ.

ประวัติวปอ.

ประวตั ิ
วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร
สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ

ประวัติวิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ ๑

ประวตั วิ ทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร
สถาบนั วิชาการป้องกนั ประเทศ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) เป็นสถาบันการศึกษาระดับสูงของ
กระทรวงกลาโหม จัดตัง้ ขนึ้ ตามพระราชกฤษฎีกาจดั วางระเบียบราชการ กรมเสนาธิการกลาโหม
พ.ศ.๒๔๙๘ ลงวนั ที่ ๒ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๔๙๘

แนวความคิดในการจัดตง้ั วปอ.ฯ น้นั กล่าวไว้ในบทนาของระเบียบกระทรวงกลาโหม
วา่ ด้วยวทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร พ.ศ.๒๔๙๘ ท่ปี ระกาศใช้เมอื่ วนั ท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๘
ดังนี้

“ในการป้องกันประเทศชาติให้พ้นจากการรุกรานในสมัยน้ี หาได้มีความสาคัญอยู่ที่
กาลังทหารแต่ฝ่ายเดยี วไม่ ตรงกันขา้ มบรรดาเจ้าหนา้ ท่ใี นกระทรวง ทบวง กรม ตลอดจนองค์การ
ท้งั สน้ิ ย่อมมีความสาคัญในการป้องกันชาติร่วมกัน รวมท้ังพลเมืองของชาติ ตลอดจนทรัพยากร
ท้งั มวลจะต้องเขา้ อยใู่ นแผนการป้องกนั ชาติด้วย เพื่อที่จะให้การร่วมมือประสานงานกันได้เรียบร้อย
ทั้งในการต่อสู้ การจัดสรรพกาลัง การปกครอง และการรักษาความสงบ รัฐบาลจึงจาเป็นต้อง
ต้งั สถาบนั การศึกษาขึ้นเปน็ แหลง่ กลางเพอื่ ประศาสน์ความรูใ้ นสาขาต่าง ๆ โดยกวา้ งๆ ให้แก่ผู้ท่ีจะ
ทาหนา้ ที่ดาเนนิ การเป็นฝ่ายปฏิบตั กิ ารชน้ั สงู ของรัฐบาลในดา้ นการป้องกันราชอาณาจักร สถาบันแห่งนี้
ให้ช่ือว่า “ วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร” (วปอ.)

ที่มาของแนวความคิดดังกล่าวเริ่มขึ้นคร้ังแรกเม่ือ พ.ศ.๒๔๙๒ หลังจากสงครามโลก
คร้ังท่ีสอง ส้ินสุดลงแล้ว จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงกลาโหม ในขณะนั้น โดยความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีได้มอบหมายภารกิจให้
พล.อ. หลวงหาญสงคราม เสนาธกิ ารกลาโหม เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการในโครงการจัดตั้ง วปอ.
และมี พล.ท. สุรพล สุรพลพิเชฏฐ์ ผู้อานวยการกรมการศึกษาวิจัย กรมเสนาธิการกลาโหม เป็น
ผดู้ าเนินการปฏิบตั ิ ทง้ั นีโ้ ครงการเริ่มปรากฏผลเป็นรปู ธรรมเมือ่ พ.ศ.๒๔๙๖ ในสมัยท่ี พล.อ. เดช
เดชประดิยทุ ธ เปน็ เสนาธิการกลาโหม โดยไดม้ ีการวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างอาคาร วปอ. ที่บริเวณมุม
อาคารด้านหลังของกระทรวงกลาโหม ทางทิศเหนือ ใกล้คลองโรงไหม (คลองหลอด) เม่ือวันที่
๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๖ จากน้ันได้ทาพิธีเปิดอาคาร และ เปิดการศึกษาหลักสูตร วปอ.รุ่นที่ ๑
เมื่อวนั ที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๘ โดยมี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรฐั มนตรี เป็นประธาน
ในพธิ ี

ระเบียบกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ.๒๔๙๘
เปน็ ระเบียบท่ีวางโครงสร้างการจัดองค์กรของ วปอ.ฯ ไว้เป็นคร้ังแรก โดยกาหนดให้ วปอ.ฯ เป็น
ส่วนราชการขึ้นตรงของกรมเสนาธิการกลาโหม กระทรวงกลาโหม ผู้บังคับบัญชาระดับสูงของ
วปอ.ฯ เป็นไปตามตาแหน่ง คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นผู้บัญชาการวิทยาลัยฯ
เสนาธิการกลาโหม เป็น รองผู้บัญชาการวิทยาลัยฯ ผู้อานวยการกรมการศึกษาและวิจัย
กรมเสนาธิการกลาโหม เป็น ผู้อานวยการวิทยาลัยฯ และ รองผู้อานวยการวิทยาลัยฯ แต่งตั้งจาก
บคุ คลตามความเหมาะสม คณะผู้บรหิ ารชดุ แรกของวิทยาลยั ฯ ไดแ้ ก่

จัดทาโดย : กองพฒั นาการศึกษา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ

ประวตั ิวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ ๒

จอมพล แปลก พบิ ลู สงคราม ผูบ้ ญั ชาการวิทยาลัยฯ

พล.อ. จิร วชิ ิตสงคราม รองผู้บัญชาการวิทยาลยั ฯ

พล.ท. สุรพล สรุ พลพเิ ชฏฐ์ ผูอ้ านวยการวิทยาลัยฯ

พล.ต. หม่อมเจา้ คัสตาวสั จกั รพนั ธุ์ รองผูอ้ านวยการวิทยาลัยฯ

พ.ศ.๒๕๐๓ ได้มีการปรับปรุงการจัดกระทรวงกลาโหม โดยยุบเลิกกรมเสนาธิการ

กลาโหม และจัดต้ังกองบัญชาการทหารสูงสุดขึ้นแทน ด้วยเหตุนี้ วปอ.ฯ จึงเปล่ียนไปอยู่ในการ

กากับดูแลของกองบัญชาการทหารสูงสุดและมีผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นรองผู้บัญชาการ

วทิ ยาลยั ฯ โดยตาแหนง่

วปอ.ฯ ตั้งอยู่ ณ อาคารบริเวณด้านหลังของกระทรวงกลาโหม จนถึง พ.ศ.๒๕๐๙

โดยทีอ่ าคารดงั กลา่ วเป็นสถานทซี่ งึ่ ใช้ร่วมกนั กบั ส่วนราชการอื่นๆ ของ กองบัญชาการทหารสูงสุด

จงึ มคี วามไมส่ ะดวกและคับแคบ ดงั นัน้ จึงได้รบั อนมุ ตั ิให้ย้ายที่ต้ังมาอยู่ที่บริเวณหลักกิโลเมตรที่ ๗

ถนนวิภาวดีรังสิต เขตห้วยขวาง ซ่ึงเป็นท่ีตั้งปัจจุบัน ทั้งนี้ได้วางศิลาฤกษ์ก่อสร้างอาคารพร้อม

หอประชุมหลังใหม่ขึ้นเมื่อวันท่ี ๑๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๙ การก่อสร้างแล้วเสร็จทาพิธีเปิดอาคาร

เมื่อวันท่ี ๑๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๐ โดย จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี และ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และผู้บัญชาการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เป็นประธาน

ในพิธี จากการที่ วปอ.ฯ ได้รับมอบหมายให้เปดิ การศึกษาเพ่มิ ข้ึนอีกหนง่ึ หลกั สตู ร กอปรกับจานวน

ผ้เู ขา้ รับการศกึ ษาในแตล่ ะปีการศกึ ษานั้นเพมิ่ มากขน้ึ เรือ่ ยๆ ทาใหอ้ าคารเรยี นและท่ีทาการซงึ่ ใชอ้ ยู่

มีความไม่สะดวก จึงได้มีโครงการก่อสร้างอาคารขึ้นใหม่เป็น ตึก ๕ ชั้น จานวน ๑ หลัง และ

หอประชุมใหญ่ จานวน ๑ หลัง ท้ังนี้มีพิธีวางศิลาฤกษ์เพื่อก่อสร้างอาคารโดย พล.อ. ชาติชาย

ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เม่ือวันที่ ๒ กุมภาพันธ์

พ.ศ.๒๕๓๔ การก่อสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์มีพิธีเปิดอาคารอย่างเป็นทางการโดย พล.อ. วิโรจน์

แสงสนิท ผบู้ ญั ชาการทหารสูงสดุ เม่อื วันท่ี ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๙

สาหรับการจัดการศึกษานั้น วปอ.ฯ เปิดหลักสูตรการศึกษา วปอ.รุ่นท่ี ๑ - รุ่นที่ ๓

พ.ศ.๒๔๙๘ พ.ศ.๒๕๐๑ และ พ.ศ.๒๕๐๓ ตามลาดับ โดยมีระยะเวลาศึกษาประมาณ ๑๐ เดือน

จากนน้ั จงึ เปิดการศึกษาเป็นประจาทกุ ปโี ดยต่อเนื่อง มาจนถงึ ปจั จุบนั น้ี เปน็ ผลให้สามารถสังเกตได้

โดยง่ายว่า ลาดับที่รุ่นของหลักสูตร วปอ. น้ันจะตรงกับเลขสองตัวสุดท้ายของปี พ.ศ. ท่ีเข้ารับ

การศึกษา เริ่มจากหลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๔ ซึ่งเปิดการศึกษาเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๔ เป็นต้นมาจนถึง

ปจั จุบันน้ี โดยได้มกี ารพฒั นาปรับปรงุ หลกั สตู รการศกึ ษา ตลอดจนระเบยี บวธิ กี ารจดั การศึกษาเป็น

ประจาทกุ ปีการศึกษา เพอื่ ให้มคี วามทันสมัยและสอดคลอ้ งกับสถานการณท์ ี่เปน็ อย่ใู ห้มากที่สุด

หลังจากที่ได้จัดการศึกษาหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร หรือ หลักสูตร วปอ .

เรื่อยมา จนถึง พ.ศ.๒๕๓๒ จึงได้มีพัฒนาการในเร่ืองการศึกษาขึ้นมาอีกระดับหน่ึง สืบเนื่องจาก

การที่ วปอ.ฯ ยึดหลักในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับเง่ือนไข และ สถานการณ์ท่ีประเทศ

กาลังเผชญิ อยู่ และคาดว่าจะตอ้ งเผชิญในอนาคต ตลอดจนการที่ผบู้ ังคับบัญชาระดับสูงในขณะน้ัน

ซ่ึงได้แก่ พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ

นายกรัฐมนตรี และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม ได้ใหน้ โยบายมาว่า “เราจะทาอย่างไรที่จะชัก

จงู ภาคเอกชนให้เข้ามาร่วมกบั ภาครัฐบาลในการรกั ษาผลประโยชนข์ องชาติให้ดีท่ีสุด เพราะนับวัน

จัดทาโดย : กองพฒั นาการศกึ ษา วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักรฯ

ประวัติวทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร สถาบนั วิชาการป้องกนั ประเทศ ๓

ภาคเอกชนจะเข้ามามบี ทบาทในดา้ นเศรษฐกจิ และการเมอื งของประเทศมากย่ิงข้ึน” ประกอบกับ

คาขวัญท่ีว่า “ประเทศมั่นคงประชาชนม่ังคั่ง” ดังน้ัน วปอ.ฯ จึงได้นาแนวความคิดดังกล่าวมา
พัฒนาการจัดการศึกษา และได้เปดิ การศกึ ษาหลกั สูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน
หรือหลักสูตร ปรอ. ข้ึนเป็นคร้ังแรก เม่ือวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๒ เพ่ือจัดการศึกษาให้กับ

ข้าราชการภาครัฐ อันไดแ้ ก่ ข้าราชการทหาร ตารวจ พลเรือน พนักงานรัฐวิสาหกิจ และนักธุรกิจ
ภาคเอกชนจากสาขาต่าง ๆ โดยมีแนวความคิดทจ่ี ะเสริมสร้างอุดมการณท์ างเศรษฐกิจของชาติบน
รากฐานของระบบเศรษฐกจิ เสรีนยิ ม และการรักษาผลประโยชนข์ องชาติ รวมท้ังการรเิ ร่มิ และสรา้ ง

ความสานึกในการดาเนนิ นโยบายเศรษฐกจิ อย่างเป็นระบบ มกี ารจัดองคก์ รสนับสนุนซ่ึงกันและกัน
ตลอดจนเป็นการเตรยี มบคุ ลากรของประเทศใหม้ ีความพร้อมที่จะกา้ วเขา้ สูร่ ะบบสังคมโลกยุคใหม่
และเปน็ ประเทศช้ันนาในภูมภิ าคภายใต้สถานการณ์และสภาวะแวดล้อมของโลกที่เป็นอยู่ ถึงแม้

การเปิดหลักสตู ร วปอ. ไดเ้ ร่ิมมาตั้งแต่ปี ๒๔๙๘ จนมาถงึ ปีงบประมาณ ๒๕๔๕ - ๒๕๔๖ เปน็ รุ่นท่ี
๔๕ และหลักสูตร ปรอ. รนุ่ ที่ ๑๕ กย็ งั มีข้าราชการและเอกชนท่ียังมีความสนใจต้องการท่ีจะเข้า
ศึกษาใน วปอ.ฯ อย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงของการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

ปี พ.ศ.๒๕๔๐ ท่ีผ่านมามีการปรับเปล่ียนโครงสร้างทางการเมืองอย่างมาก สภา วปอ. ได้เห็น
ความสาคญั ว่าในปจั จบุ นั เร่อื งความม่ันคงทางฝา่ ยการเมืองมีบทบาทสงู กวา่ ในอดีตท่ีผ่านมา สภา
วปอ. โดย พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม ในฐานะประธาน สภา วปอ.

ในขณะนนั้ ไดข้ อให้ วปอ.ฯ ศกึ ษาการรบั นักการเมอื งเข้ามาเรียนในหลักสูตรของ วปอ.ฯ
วปอ.ฯ ได้ศึกษา และนาเรียนแนวทางปฏิบัติให้กับกรรมการ สภา วปอ. ทราบ เมื่อ

วันท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๖ จงึ ไดม้ มี ติให้จัดหลักสูตรใหม่เป็นการทดลอง ที่เปิดให้ข้าราชการ

ทหาร ตารวจ พลเรือน พนกั งานรัฐวิสาหกจิ นกั ธุรกิจภาคเอกชน และข้าราชการการเมือง ได้
ศึกษาร่วมกันในหลักสูตร วปม. (การป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง) โดย
ได้รบั การอนมุ ตั ิให้เปิดหลักสูตร วปม. รนุ่ ท่ี ๑ เม่ือวันที่ ๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๖ และได้เปิดให้

การศึกษามาจนถงึ วปม. รุน่ ท่ี ๔ สภา วปอ. จึงมีมติให้ปิดการศึกษาหลักสูตร วปม. ลง เมื่อ ๑๖
พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๐ แต่ยังคงให้นักการเมืองสามารถเขา้ มาศกึ ษารว่ มในหลักสูตร ปรอ. ได้ โดย
เข้ามาศึกษาในคณุ สมบัติของ บุคคลทวั่ ไป เพื่อใหท้ ุกๆ ฝา่ ยได้เสริมสรา้ งความมัน่ คงรว่ มกนั ในอันที่

จะรกั ษาผลประโยชน์ของชาติ ภายใต้สภาพแวดลอ้ มที่มีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วในปัจจุบันที่
ทกุ ๆ ฝา่ ยต้องคิดร่วมกนั และปฏบิ ตั ริ ่วมกนั ภายใต้ความมั่นคงในมิติใหม่ จากน้ัน สภา วปอ. ได้มี
มติให้เปิดการศึกษาหลักสตู ร วปม. อกี ครั้ง โดยหลักสูตร วปม. รุ่นท่ี ๕ ได้เปิดการศึกษาเมื่อวันที่

๑ มนี าคม พ.ศ.๒๕๕๕ และมีการศึกษาต่อเนื่องมาจนถึง วปม.รุ่นที่ ๗ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ –
๒๕๕๗ ต่อมาสภา วปอ. ได้มีมติเห็นชอบในการประชุมสภา วปอ. เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน
พ.ศ.๒๕๕๗ ใหเ้ ปิดการศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ เหลอื เพยี งหลักสูตรเดียว คือ วปอ.

ร่นุ ที่ ๕๗ โดยมีการปรบั หวั ข้อวชิ าท้งั สามหลกั สตู รรวมเป็นหลักสูตรเดียวเพ่ือให้การจัดการศึกษา
มคี วามเป็นอนั หน่งึ อันเดียวกนั และไม่เกิดความแตกต่างกนั ในแตล่ ะหลกั สตู ร รวมทง้ั วปอ.ฯ ได้ทา
การปรับปรุงห้องเรียนและหอประชุมพิบูลสงคราม (ห้องบรรยายรวม) ให้มีความทันสมัยและ

สามารถรองรบั นกั ศกึ ษาได้

จดั ทาโดย : กองพัฒนาการศกึ ษา วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักรฯ

ประวตั ิวิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ ๔

นับจากวนั แรกท่ี วปอ.ฯ ได้รับมอบหมายภารกจิ ให้ดาเนินการ และรับผิดชอบในฐานะ

สถาบันการศกึ ษาระดบั สูงของประเทศ จนถึงวนั น้อี าจกล่าวไดว้ ่า วปอ.ฯ ไดป้ ฏบิ ตั ิหน้าทีด่ ังกล่าวได้
อย่างสมบรู ณแ์ ละบรรลุถงึ ซง่ึ เป้าหมายทก่ี าหนดแล้ว อย่างไรกต็ าม วปอ.ฯ มิได้หยุดนิ่งท่ีจะพัฒนา
ระบบการจัดการศึกษา เพอ่ื เผยแพร่วทิ ยาการด้านการป้องกันประเทศตามเจตนารมณ์ให้สอดคล้อง

กับสถานการณแ์ ละสภาวะแวดลอ้ มท่เี ปน็ อยู่ ผลการดาเนินการที่ปรากฏเมื่อเปรียบเทียบกับการจัด
การศกึ ษาของสถาบันการศกึ ษาในระดับเดยี วกันในประเทศตา่ ง ๆ แล้ว น่าจะกลา่ วไดว้ า่ วปอ.ฯ ของ
ไทยเป็นสถาบันการศกึ ษาที่กาหนดโครงการและหลักสูตรการศึกษาอย่างเป็นระบบ บทเรียน และ

หวั ขอ้ วชิ าตา่ ง ๆ มคี วามม่งุ หมายและขอบเขตที่ชัดเจน มคี วามทนั สมัยและลึกซึ้งในเนื้อหา มีความ
เป็นมาตรฐานทป่ี ระเทศต่าง ๆ ยอมรับ จะเห็นไดจ้ ากการท่ปี ระเทศซึ่งมีสถาบันการศึกษาเกี่ยวกับ
การป้องกันประเทศให้ความสนใจมาเย่ียมชม และแลกเปล่ียนข้อคิดเห็นในการดาเนินการของ

วปอ.ฯ โดยสม่าเสมอเป็นประจาทกุ ปี นอกจากน้ันผ้ทู สี่ าเร็จการศึกษาจาก วปอ.ฯ นั้นลว้ นแตเ่ ปน็
ผูท้ ี่ดารงตาแหนง่ ในระดับสูงมีโอกาสปฏิบัติหน้าท่ีและรับผิดชอบในภารกิจสาคัญๆ ของรัฐบาลมี
บทบาทร่วมในการกาหนดนโยบายและรักษาความมั่นคงแห่งชาติมาทั้งในอดีตและปัจจุบัน

ซึ่งนับว่าเป็นความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งของ วปอ.ฯ และของผู้ที่ได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษาใน
สถาบันระดบั สงู ของชาตแิ หง่ น้ี

สญั ลกั ษณห์ นว่ ย

สัญลกั ษณ์ของ วปอ.ฯ เปน็ รปู เคร่อื งหมาย "รัฏฐาภิรักษ์" มีลักษณะเป็นรูปโล่ ทาด้วย
โลหะ พ้ืนลงยาสีฟ้าอ่อน ขลิบทองโดยรอบ มีแถบธงชาติลงยาพาดกลางเฉียงขึ้นจากขวาไปซ้าย
ประดบั ดว้ ยพระมหามงกุฎทองเปล่งรัศมีเหนืออุณาโลม ซึ่งอยู่เบ้ืองบนรูปจักรและสมอมี ปีกนก
ออกจากรูปจักรโอบลอ้ มพระมหามงกุฎ ต่อจากรปู สมอลงมาเปน็ ชอ่ ชยั พฤกษ์ และครึ่งวงกลมล้อม
ดาวห้าแฉก สองขา้ งช่อชยั พฤกษป์ ระดับด้วยรปู คชสหี แ์ ละรปู ราชสีหย์ ืนเผ่นหนั หน้าเข้าหากนั อยบู่ น
ฐานทางด้านขวาและซ้ายของรูปข้างละตัว ความหมายของสัญลักษณ์ต่างๆ ท่ีใช้ประกอบเป็น
เครื่องหมาย มดี ังนี้

จัดทาโดย : กองพฒั นาการศึกษา วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ

ประวัติวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ๕

รูปโล่ หมายถึง ส่ิงท่ีใช้ป้องกันภัยและอันตราย เม่ือนามาใช้รวมกับภาพธงชาติ จึงมี
ความหมายถึงการปอ้ งกันประเทศชาตใิ หอ้ ยูร่ อดปลอดภัย

แถบธงชาติไทย หมายถึง ราชอาณาจักรไทย
สีฟ้าอ่อน ซึ่งเป็นสีของพ้ืนโล่ เป็นสีของท้องฟ้า อันเป็นสิ่งท่ีสูง มีความหมายว่า
เป็นสถาบันการศกึ ษาชนั้ สูงของประเทศ
พระมหามงกุฎพร้อมรัศมี หมายถึง สถาบันพระมหากษัตรยิ ์
อุณาโลม เปน็ เครอื่ งหมายท่ใี ช้ในพิธีทางศาสนาโดยท่ัวไป จึงนามาใช้เพื่อให้หมายถึง
ศาสนาประจาชาติ
จักร หมายถงึ กองทพั บก
สมอเรือ หมายถึง กองทัพเรอื
ปีกนก หมายถึง กองทัพอากาศ
ราชสีห์และคชสีห์ เป็นส่วนหนึ่งของตราประจาตาแหน่งนายกรัฐมนตรี และสานัก
นายกรัฐมนตรี หมายรวมถึง กระทรวง ทบวง ตา่ ง ๆ
ดาว (ห้าแฉก) หมายถึง การผนกึ กาลังตา่ ง ๆ ทั้ง ๕ ฝ่าย (ทหารบก ทหารเรือ ทหาร
อากาศ ตารวจ และพลเรือน) ให้เปน็ หน่ึงเดยี ว
ช่อชัยพฤกษ์ หมายถึง ชัยชนะอันเกิดจากความสามัคคี ความพร้อมเพรียงกันของ
บคุ คลทกุ ฝา่ ยในชาติ

(การใช้เคร่อื งหมายอันเป็นสัญลักษณข์ องวิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร ดูหนา้ ๒๗)

การแบ่งสว่ นราชการและหนา้ ท่ีของวิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร

ภารกิจ

วปอ.ฯ มหี นา้ ทปี่ ระศาสน์วิทยาการและวิจัยเก่ียวกับการป้องกันราชอาณาจักรให้แก่
ขา้ ราชการทง้ั ฝ่ายทหาร และพลเรือน ตลอดจนพนักงานองค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ รวมท้ัง
เอกชน และนักการเมือง เพอื่ ให้เกิดความเข้าใจในความรับผิดชอบร่วมกันเก่ียวกับการรักษาความ
ม่ันคงแหง่ ชาติและเพ่อื ประโยชนใ์ นการกาหนดนโยบาย การวางแผน และการอานวยการรักษาความ
มนั่ คงแห่งชาติ มีผอู้ านวยการวิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร เป็นผู้บงั คบั บญั ชารับผิดชอบ

หนา้ ท่ี

ผู้อานวยการวิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร (ผอ.วปอ.สปท) มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการ
ประศาสน์วิทยาการให้แก่นักศึกษา วปอ. บริหารงาน ปกครองบังคับบัญชาข้าราชการ
ลูกจ้างประจา พนกั งานราชการ นักศกึ ษา วปอ. และส่วนราชการภายใน วปอ.สปท.

วปอ.ฯ มีคณะกรรมการรับผดิ ชอบในการดาเนินการเกี่ยวกับการประศาสน์วิทยาการ
แก่นักศึกษา ๒ คณะ คือ

จัดทาโดย : กองพฒั นาการศึกษา วทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักรฯ

ประวัติวิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบันวชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ ๖

๑. สภาวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร (สภา วปอ.) มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
เปน็ ประธาน มีหน้าทีพ่ ิจารณาในเรอ่ื งเกี่ยวกบั

๑.๑ การกาหนดนโยบายในการประศาสนว์ ทิ ยาการ
๑.๒ การอนมุ ัตโิ ครงการศึกษาและหลกั สูตรการศึกษาต่างๆ ของ วปอ.ฯ
๑.๓ การกาหนดจานวน และคณุ สมบตั ขิ องผทู้ ่จี ะเข้าศึกษาในแต่ละหลกั สูตร
การศกึ ษา ตลอดจนการใหค้ วามเหน็ ชอบในตัวบุคคลทีจ่ ะเขา้ ศกึ ษา
๑.๔ การอนมุ ัติปรญิ ญา ปรญิ ญากิตติมศักด์ิ และวฒุ ิการศกึ ษาของหลกั สูตรการศึกษา
ต่าง ๆ
๑.๕ การเสนอแนะการแต่งต้งั ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ
๑.๖ การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพื่อกระทาการใดๆ
อันอยู่ในอานาจและหน้าที่ของสภา วปอ.
๑.๗ การตั้ง รวม และยุบเลกิ สถาบัน ศนู ย์หรอื หน่วยข้นึ ตรง วปอ.ฯ
๑.๘ เรอื่ งตา่ ง ๆ เก่ยี วกบั กิจการของ วปอ.ฯ
๒. คณะกรรมการการศึกษาวิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร มี ผอู้ านวยการวิทยาลัย
ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร (ผอ.วปอ.สปท.) เป็นประธาน มีหน้าท่ี
๒.๑ พจิ ารณาและจดั ทาโครงการศึกษาและหลกั สตู รการศึกษา รวมท้ังกิจกรรม
อืน่ ๆ ทเี่ ก่ียวกับการศกึ ษาของ วปอ.ฯ ตามนโยบายของสภา วปอ. และนโยบายของผ้บู ังคับบญั ชา
๒.๒ กากับดูแลการบริหารการศึกษาของ วปอ.ฯ ให้เป็นไปตามท่ีสภา วปอ.ฯ
และผบู้ งั คบั บญั ชาไดม้ อบหมาย

การแบง่ ส่วนราชการ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.สปท.) แบง่ สว่ นราชการเป็นกองตา่ ง ๆ ดงั นี้.-
กองอานวยการ (กอก.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีในการธุรการท่ัวไป การธุรการเกี่ยวกับ
การศกึ ษา และอปุ กรณก์ ารศึกษาการสารบรรณ การรักษาความปลอดภัย การกาลังพล การข่าว
การส่งกาลังและซ่อมบารุงของ วปอ.สปท.
กองพฒั นาการศึกษา (กพศ.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีพจิ ารณาเสนอความคดิ เหน็ วางแผน
อานวยการ ประสานงานด้านกิจการพลเรือน ดาเนินการและพัฒนาในเร่ืองท่ีเก่ียวกับการศึกษาของ
นักศกึ ษา จัดทาโครงการและหลักสูตรการศึกษา พิจารณาให้การศึกษาเพ่ิมเติมแก่นักศึกษาท่ีสาเร็จ
การศึกษาแล้วตลอดจนการประสานงานกับนักศึกษา ท้ังน้ี เพ่ือให้การจัดการศึกษาของ วปอ.ฯ
เป็นไปตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้
กองเอกสารวิจัยและห้องสมุด (กอส.วปอ.สปท.) มีหน้าที่ให้การศึกษาเกี่ยวกับการ
เขียนเอกสารวิจัย และดาเนินการเกี่ยวกับกิจการห้องสมุด ตามระเบียบของวิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจกั ร เพ่ือสนบั สนุนการเขียน รายงานการวจิ ยั และคัดเลือกเอกสารวิจัยดีเด่น หรือชมเชย
และเผยแพรเ่ อกสารวจิ ยั แก่หน่วยท่ีเกย่ี วข้อง รวมทั้งให้คาปรกึ ษาแนะนาเกีย่ วกบั การจดั ทาช่ือเร่ือง
เคา้ โครงเร่อื ง การดาเนนิ การวิจยั และข้อมูลการวิจัย ตรวจแก้ แจกจ่ายเอกสารวิจัย ฯ ประเมินการ
เขียนเอกสารวิจัย ฯ และให้บรกิ ารขอ้ มูลสารสนเทศ

จัดทาโดย : กองพัฒนาการศกึ ษา วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ

ประวตั ิวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบันวชิ าการป้องกนั ประเทศ ๗

สานักวิทยาการความม่ันคง (สวม.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีพิจารณาเสนอความเห็น

นโยบาย วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับดูแล และดาเนินการด้านวิชาการ ประกอบด้วย
งานจัดการศึกษา งานวิชาการของหน่วย งานวิชาการร่วมกับสถาบันอื่นๆ งานพัฒนาปรับปรุง
โครงการและหลกั สตู รการศึกษา และงานประกันคณุ ภาพการศึกษา

กองยุทธศาสตร์และความมั่นคง (กยศ.สวม.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีให้การศึกษา
เกี่ยวกับศิลปะและศาสตร์ ในการพัฒนาและการใช้พลังของชาติทางการเมือง เศรษฐกิจ
สังคมจติ วิทยา กาลงั ทางทหาร วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทง้ั ในยามปกติและในยามสงคราม รวมทั้ง

ประมวลความ คิดเห็นของนักศึกษา เพ่ือพัฒนานโยบายความม่ันคงแห่งชาติ นอกจากนี้มีหน้าที่ให้
คาปรกึ ษาการเขียนเอกสารวิจัย ตรวจแก้ และประเมนิ ผลเอกสารวิจยั ดา้ นยุทธศาสตร์

กองการเมืองและการทหาร (กมท.สวม.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีให้การศึกษาเกี่ยวกับ

สภาพทางการเมือง สนธิสัญญาต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตลอดจนนโยบาย และพลัง
ทางการเมืองของประเทศไทยและของต่างประเทศ และศึกษาเก่ียวกับขีดความสามารถทาง
การทหาร นโยบายการทหาร ยุทธศาสตร์ทหาร และพลังทางทหาร ทั้งของประเทศไทยและ

ต่างประเทศ รวมท้ังประมวลความคิดเห็นทางการเมืองและการทหารของนักศึกษา เพื่อพัฒนา
นโยบายความม่นั คงแห่งชาติ นอกจากนี้มหี น้าทีใ่ หค้ าปรึกษาการเขียนเอกสารวิจัย ตรวจแก้ และ
ประเมนิ ผลเอกสารวิจัยด้านการเมืองและการทหาร

กองการเศรษฐกิจและสังคมจิตวิทยา (กศส.สวม.วปอ.สปท.) มีหน้าท่ีให้การศึกษา
เกี่ยวกบั ขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์และพลังทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกับ
ตา่ งประเทศ และศึกษาเกี่ยวกบั ภาวะทางสงั คมจิตวิทยา ความสัมพนั ธ์ และพลังทางสังคมจิตวิทยา

ของนักศึกษา รวมท้ังประมวลความคิดเห็นทางการเศรษฐกิจและสังคมจิตวิทยาของนักศึกษา
เพ่ือพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ นอกจากนี้มีหน้าที่ให้คาปรึกษาการเขียนเอกสารวิจัย
ตรวจแก้ และประเมนิ ผลเอกสารวจิ ยั ดา้ นเศรษฐกจิ และสังคมจิตวทิ ยา

กองวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและส่ิงแวดล้อม (กวท.สวม.วปอ.สปท.)
มีหนา้ ที่ให้การศึกษาเกี่ยวกบั วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจเก่ียวกับสถานการณ์ และความม่นั คงแหง่ ชาตใิ นดา้ นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

การพลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม รวมท้ังประมวลความคิดเห็นทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การพลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ของนักศึกษาเพื่อพัฒนานโยบาย
ความมั่นคงแห่งชาติ นอกจากนี้มีหน้าที่ให้คาปรึกษาการเขียนเอกสารวิจัย ตรวจแก้ และ

ประเมินผลเอกสารวิจัยด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และ
ส่งิ แวดลอ้ ม

จดั ทาโดย : กองพัฒนาการศึกษา วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั รฯ

ประวัติวทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบนั วชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ ๘

ผงั การจัดสถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ

ผังการจัดทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร
สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ

จดั ทาโดย : กองพฒั นาการศึกษา วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ

ประวตั ิวิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ ๙

ผังการจดั วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร
สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ

สภาวทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร
คณะกรรมการการศึกษา วปอ.

กองอานวยการ กองพฒั นา กองเอกสารวจิ ัย สานักวิทยาการ
การศกึ ษา และห้องสมดุ ความมนั่ คง

กองยุทธศาสตร์
และความม่ันคง

กองการเมอื ง
และการทหาร

กองการเศรษฐกจิ
และสงั คมจติ วิทยา

กองวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี
การพลงั งาน

และส่ิงแวดลอ้ ม

จัดทาโดย : กองพฒั นาการศึกษา วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักรฯ

ประวตั ิวทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบันวิชาการปอ้ งกันประเทศ ๑๐

บันทกึ การพฒั นาหนว่ ย และเหตุการณท์ ่สี าคัญ

๑. วางศิลาฤกษ์อาคาร วปอ.ฯ(อาคารหลังแรก) เมื่อวันท่ี ๙ สิงหาคม ๒๔๙๖ โดยใช้
ที่ดินบรเิ วณด้านหลังกระทรวงกลาโหม งบประมาณก่อสร้าง ๗,๔๙๓,๐๐๐ บาท

๒. ฯพณฯ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นประธานในพิธีเปิดอาคาร วปอ.ฯ และ
เปิดการศึกษา วปอ.รุ่นท่ี ๑ เมือ่ วนั ท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๙๘ มีนักศึกษาซ่ึงเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่
ทงั้ ฝา่ ยทหารและพลเรือน จานวน ๖๘ คน

๓. วปอ.ฯ ทูลเกลา้ ฯ ถวายปรญิ ญาบัตรกติ ติมศักดิ์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมพิ ลอดลุ ยเดช เมอื่ จบการศกึ ษา วปอ.รุ่นที่ ๑

๔. วางศลิ าฤกษอ์ าคาร วปอ.ฯ ถนนวภิ าวดีรังสติ เขตห้วยขวาง เนื้อท่ีประมาณ ๓๘
ไร่เศษ โดย ฯพณฯ จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงกลาโหม ในขณะนนั้ เม่อื วันท่ี ๑๒ ตุลาคม ๒๕๐๙ งบประมาณกอ่ สร้าง ๑๔ ล้านบาท

๕. วปอ.ฯ ย้ายจากสถานที่เดิมบริเวณด้านหลังกระทรวงกลาโหม มาอยู่สถานท่ี
ปัจจบุ นั ถนนวภิ าวดีรงั สติ เมอ่ื วันอาทติ ย์ท่ี ๑๓ สิงหาคม ๒๕๑๐ ระหวา่ งการศึกษา รุ่นท่ี ๙

๖. วปอ. ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศกั ด์ิ แดส่ มเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชนิ ีนาถ
เมอ่ื สาเร็จการศึกษา วปอ.รุน่ ท่ี ๑๑

๗. พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั พระราชทานปริญญาบัตร แก่ผูส้ าเร็จการศกึ ษาจาก
วปอ. รุ่นที่ ๑๑ ร่วมกับผู้สาเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนทหารอื่น ๆ ครั้งแรกเม่ือวันท่ี ๙ ตุลาคม
๒๕๑๒ หลงั จากนั้นได้จดั พิธีรบั พระราชทานปริญญาบตั รร่วมกันตลอดมา

๘. พนกั งานรัฐวิสาหกจิ ได้รบั การพิจารณาอนมุ ตั ใิ ห้เข้าศึกษาใน วปอ. ตงั้ แต่ รนุ่ ท่ี ๑๔
เปน็ ตน้ มา

๙. วปอ.ฯ ทูลเกลา้ ฯ ถวายปริญญาบตั รกติ ติมศกั ดิ์ แดส่ มเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราช-
ชนนี เม่อื จบการศกึ ษา วปอ.รนุ่ ท่ี ๑๖

๑๐. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงปลูกต้นพิกุล ณ บริเวณ วปอ.ฯ
เมือ่ วันท่ี ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๗

๑๑. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปลูกต้นบุนนาค ณ บริเวณ วปอ.ฯ เมื่อจบ
การศึกษา วปอ.รุ่นท่ี ๑๖ วันท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๑๗

๑๒. วปอ.ฯ ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักด์ิ แด่สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ
เจา้ ฟ้ากลั ยาณิวัฒนา เม่อื จบการศึกษา วปอ.รุน่ ท่ี ๒๕

๑๓. วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักด์ิ แด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
สยามมกุฏราชกมุ าร เมื่อจบการศึกษา วปอ.รุ่นที่ ๓๐

๑๔. วปอ.ฯ เปิดหลกั สูตรการปอ้ งกันราชอาณาจกั รภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นท่ี ๑
เม่อื วันที่ ๙ มนี าคม ๒๕๓๒

จดั ทาโดย : กองพฒั นาการศกึ ษา วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักรฯ

ประวตั ิวทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ๑๑

๑๕. สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอเจา้ ฟา้ จฬุ าภรณว์ ลัยลกั ษณ์ ทรงบรรยายพิเศษแก่ นักศึกษา

หลกั สูตรการป้องกันราชอาณาจักร รนุ่ ที่ ๓๑ และหลกั สูตรการป้องกันราชอาณาจกั รภาครฐั ร่วม
เอกชนรุน่ ที่ ๑ เมอ่ื วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๒

๑๖. วปอ.ฯ ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์แด่ สมเด็จพระเทพ -

รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์
เม่ือจบการศึกษา วปอ.รนุ่ ท่ี ๓๑ และ ปรอ.รุ่นท่ี ๑

๑๗. ฯพณฯ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ นรม./รมว.กห. ได้มาวางศิลาฤกษ์อาคาร

วปอ.ฯ และหอประชมุ (อาคารใหม่) เม่ือวนั ที่ ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๔ งบประมาณกอ่ สร้าง เป็นเงนิ
๒๕๒,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท และได้มอบเงินจานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท ไว้เป็นสวัสดิการแก่
ข้าราชการ และลูกจ้าง วปอ .ฯ วปอ.ฯ ได้จัดตั้งเป็น “เงินทุนมูลนิธิชุณหะวัณ”
นาเฉพาะดอกผลมาใช้เปน็ สวัสดกิ ารแกข่ า้ ราชการและลกู จา้ ง วปอ.ฯ ชั้นผู้นอ้ ย

๑๘. ปี พ.ศ.๒๕๓๘ ปรบั ปรุงห้องบรรยาย วปอ. และ ปรอ. ภายในอาคารใหม่ ซง่ึ เดมิ
ก่อสรา้ งเป็นพืน้ ราบ ไมม่ ีเวที แก้ไขเป็นยกระดบั ปูพรม บฝุ าผนัง เวที เปล่ียนโต๊ะเก้าอี้ ติดผ้าม่าน
และตดิ ฟิล์มกรองแสงอาคาร วปอ.ฯ งบประมาณปรับปรงุ เปน็ เงิน ๒,๕๙๔,๗๒๑.- บาท

๑๙. ปี พ.ศ.๒๕๓๘ ไดร้ บั งบประมาณจาก บก.ทหารสงู สุด ให้รื้อถอนอาคารบ้านพัก
ลูกจ้าง ๓ หลัง ก่อสร้างอาคารบ้านพักนายทหารประทวน ขนาด ๓๒ ครอบครัว ทดแทน
๒ หลัง ใหแ้ ก่นายทหารประทวน และลกู จา้ ง วปอ.ฯ ไดพ้ ักอาศัย

๒๐. พลเอก วโิ รจน์ แสงสนทิ ผบ.ทหารสงู สุด เป็นประธานในพิธีเปิดอาคาร วปอ.
๕ ชั้น อยา่ งเปน็ ทางการ เมอ่ื วันท่ี ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙

๒๑. พ.ศ.๒๕๔๐ ปรับปรุงและติดต้ังระบบภาพ, แสงและเสียงประจาห้องบรรยาย

วปอ., ปรอ. และห้องประชุม ชั้น ๔ ระบบเสียงตามสายอาคาร วปอ.ฯ ระบบเสียงประจาห้อง
ประชุม วปอ.ฯ ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ และม่านกันแสงห้องประชุม วปอ.ฯ โดยมีงบประมาณ
ปรบั ปรุง ๑๔,๔๐๐,๐๐๐.- บาท

๒๒. ปี พ.ศ.๒๕๓๙ ได้รับงบประมาณจาก บก.ทหารสูงสุด ก่อสร้างอาคารบ้านพัก
ให้แกน่ ายทหารสญั ญาบตั ร ขนาด ๒๔ ครอบครวั ๑ หลงั

๒๓. พ.ศ.๒๕๔๑ ปรบั ปรุงภายในหอประชุมอาคารใหม่ โดยเปล่ียนผนังโดยรอบจาก

ฝาเฟย้ี มเป็นผนงั ทึบ ย้ายระบบเคร่ืองปรับอากาศ, ปูพรม, ขยายเวทีบุผนงั ภายในเพ่อื ปอ้ งกันเสียง
กอ้ งและสะท้อน งบประมาณปรบั ปรงุ ๘,๔๒๑,๐๐๐.-บาท

๒๔. ในวโรกาสทรงครองสริ ิราชสมบตั ิ ครบ ๕๐ ปี ในปี พ.ศ.๒๕๓ พระบาทสมเด็จ-

พระเจ้าอยู่หัว ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ สมาคม วปอ. โดย พล.อ. วิโรจน์ แสงสนิท
นายกสมาคม นักศึกษา วปอ. รุ่นท่ี ๓๘ และ ปรอ. รุ่นที่ ๘ (กาลังศึกษา) จัดสร้างพระพุทธรูป
และพระเคร่ือง พร้อมท้ังพระราชทานนามพระพุทธรูปบูชา และพระเคร่ืองชุดน้ีว่า “พระพุทธ

กาญจนพรสยามภูมิ” มีความหมายวา่ “พระพุทธกาญจนาภเิ ษกแผน่ ดินสยาม”

จัดทาโดย : กองพัฒนาการศกึ ษา วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักรฯ

ประวัติวทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร สถาบนั วชิ าการปอ้ งกนั ประเทศ ๑๒

ต่อมาเมื่อ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ สมาคม วปอ., ศิษย์เก่า วปอ. และ ปรอ.

ทุกรนุ่ ได้นารายได้จากการให้บรจิ าคบชู าพระพทุ ธกาญจนพรสยามภมู ทิ ลู เกลา้ ฯ ถวาย ดงั นี้
- โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย จานวน ๒๙,๐๐๐,๐๐๐.-บาท

(ย่สี ิบเกา้ ลา้ นบาทถว้ น)

- โดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทนุ มูลนิธิโครงการหลวง จานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐.-
บาท (หนึง่ ลา้ นบาทถว้ น) และได้นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายพระพทุ ธรูปบูชาและพระเครื่อง “กาญจนพร
สยามภมู ิ” ดงั นี้

- พระพทุ ธรูปบูชาเน้ือทองคา ขนาดสูง ๒๖.๘ ซม. น้าหนกั ทองคา
๓,๔๕๐.๘๐ กรมั ๑ องค์

- พระพุทธรูปเนือ้ เงิน ขนาดสงู ๑๙ ซม. จานวน ๑ องค์

- พระพทุ ธรูปเนอ้ื ไม้จันทน์ ขนาดสูง ๑๙ ซม. จานวน ๑ องค์
- พระพทุ ธรปู ทองเหลอื งปดิ ทอง ขนาดสูง ๑๙ ซม. จานวน ๑ องค์
- พระเครอ่ื งชดุ ๘ องค์ จานวน ๑ ชุด

- พระเครอื่ งเนอ้ื ผง จานวน ๑,๐๐๐ องค์
๒๕. พ.ศ.๒๕๔๒ ปรับปรุงระเบียงอาคาร วปอ.ฯ ช้ัน ๒ ด้านทิศตะวันออกเป็น
ห้องอาหาร และหอ้ งพกั ผอ่ นของนกั ศึกษา งบประมาณปรบั ปรงุ ๕,๓๒๖,๒๕๐.-บาท

๒๖. เน่ืองในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สมาคม วปอ. โดยมี พล.อ.วิโรจน์ แสงสนิท ในนามสมาคม
วปอ. และมูลนิธิพระพุทธโลกนาถสุโขทัย จัดสร้างพระพุทธปฏิมามงคลเฉลิมพระเกียรติหน้าตัก

กว้าง ๗๒ น้วิ จานวน ๔ องค์ เพือ่ ไปประดษิ ฐานเป็นพระประธาน ณ วัดพุทธาวาส สหรัฐอเมริกา
วัดไทยมณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพมหานคร และ
วดั ยางนอ้ ย อบุ ลราชธานี และได้นารายได้ที่เหลือจากการบริจาคบูชาทูลเกล้าฯ ถวายเป็นเงิน ๕

ล้านบาท เม่อื วนั ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๓
๒๗. พ.ศ.๒๕๔๓ ปรบั ปรงุ หอประชุม วปอ.สปท.๑ อาคารทที่ าการ วปอ.ฯ ปรบั ปรงุ

หอประชุม วปอ. ๒ เป็นห้องบรรยายรวม และปรบั ปรงุ หน้ามขุ หอประชมุ วปอ.ฯ เป็นห้องรบั รอง

เปน็ เงนิ ๒๒.๕ ล้านบาท

๒๘. พ.ศ.๒๕๔๔ วปอ.ฯ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดการศึกษาหลักสูตรการ
จัดการสมัยใหม่ หรือ MINI MASTER OF MODERN MANAGEMENT (MINI MMM) รุ่นท่ี ๑
เพื่อให้ นกั ศกึ ษาท่ีเข้าศกึ ษาใน วปอ.ฯ และศิษยเ์ กา่ ไดม้ ีโอกาสเข้าศึกษาเพม่ิ เตมิ ใชเ้ วลาการศึกษา
เฉพาะ เสาร์ อาทิตย์ ประมาณ ๓ เดือน

๒๙. พ.ศ.๒๕๔๕ อดีต นักศึกษา วปอ.ฯ ได้มาชุมนุมกันท่ี วปอ.ฯ เพื่อร่วมในพิธีเปิด
โครงการ “คลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม” (NDC ALUMNI THINK TANK) เพ่ือระดมสมองเสนอ
แนวทางในการแกป้ ญั หาทสี่ าคญั ของชาติ เม่ือ ๗ ก.พ.๔๕

๓๐. พ.ศ.๒๕๔๖ เปิดการศึกษาหลักสูตร การป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐ เอกชน
และการเมือง (วปม.) รุน่ ที่ ๑ ตง้ั แต่ ๒ กันยายน ๒๕๔๖ – ๒ เมษายน ๒๕๔๗ ระยะเวลาการศึกษา

จดั ทาโดย : กองพฒั นาการศกึ ษา วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ

ประวัติวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ ๑๓

๗ เดือน ใช้เวลาการศึกษาสัปดาห์ละ ๓ วัน คือ วันอังคาร พุธ และพฤหัสบดี มีนักศึกษารุ่นแรก

จานวน ๖๐ คน
๓๑. พ.ศ.๒๕๔๗ - ได้ขยายเวลาการศึกษาของหลักสูตร วปม.รุ่นท่ี ๒ จาก ๗

เดือน เป็น ๑ ปี เทา่ กบั หลกั สตู ร วปอ.และ ปรอ.

- แก้ไขระเบียบ กห.ว่าด้วย วปอ. พ.ศ.๒๕๓๖ แก้ไขฉบับที่ ๔
พ.ศ.๒๕๔๔ เพ่อื ให้สอดคล้องกบั การเปิดการศกึ ษาหลักสตู ร วปม. และให้ทนั สมัยกบั ปัจจุบัน

- ๘ มีนาคม ๒๕๔๗ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์

วลยั รักษณ์ อัคราชกุมารี (วปอ. รนุ่ ท่ี ๓๑ กติ ติมศักดิ์) ทรงแสดงปาฐากถาเก่ียวกับการวิจัยในด้าน
ต่าง ๆ และผลงานของสถาบนั วจิ ยั จุฬาภรณ์ ณ หอ้ งบรรยายรวม วปอ.ฯ

๓๒. พ.ศ. ๒๕๔๘ วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักด์ิ แด่ทูลกระหม่อม

หญงิ อบุ ลรัตน์ราชกัญญา สริ ิโสภาพรรณวดี และพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา
ทนิ ดั ดามาตุ

๓๓. พ.ศ. ๒๕๔๙ วปอ.ฯ ทลู เกลา้ ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตตมิ ศักด์ิ แด่พระเจ้าวรวงศ์เธอ

พระองค์เจ้าศรรี ัศม์ิ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชสยามมกฎุ ราชกมุ าร
๓๔. พ.ศ. ๒๕๕๐ วปอ.ฯ ทลู เกล้า ฯ ถวายปรญิ ญาบตั รกติ ติมศักดิ์ แด่พระหลานเธอ

พระองคเ์ จา้ พัชรกิตยิ าภา

๓๕. พ.ศ.๒๕๕๑ ปิดการศึกษา หลักสูตรการป้องกนั ราชอาณาจกั ร ภาครัฐ เอกชนและ
การเมอื ง (วปม.) ร่นุ ท่ี ๔

๓๖. พ.ศ.๒๕๕๑ ได้รับงบประมาณจาก บก.กองทัพไทย เพ่ือก่อสร้างอาคาร

อเนกประสงค์ วปอ. (อาคารออกกาลงั กาย) โดยตอ่ เตมิ จากอาคาร วปอ.ฯ เดมิ บรเิ วณทศิ เหนือ เป็น
เงินจานวน ๒๘,๐๐๐,๐๐๐.-บาท

๓๗. พ.ศ. ๒๕๕๑ วปอ.ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญาบัตรกิตติมศักด์ิ แด่พระหลานเธอ

พระองค์เจา้ สริ ภิ าจฑุ าภรณ์
๓๘. พ.ศ.๒๕๕๕ เปิดการศกึ ษา หลกั สูตรการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ภาครัฐ เอกชน

และการเมอื ง (วปม.) ร่นุ ที่ ๕ เมอื่ วนั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๕๕

๓๙. พ.ศ.๒๕๕๗ ปรับปรุงหลกั สูตรการศึกษา โดยปิดการศึกษาหลักสูตร ปรอ. และ
วปม. คงเปิดการศึกษาเพียงหลักสูตรเดียว คือ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๗
เมื่อวนั ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗

จัดทาโดย : กองพัฒนาการศกึ ษา วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ

ประวตั ิวทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการปอ้ งกันประเทศ ๑๔

รายนามผ้บู งั คับบญั ชาของวิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

ผบู้ ัญชาการวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

๑. จอมพล แปลก พบิ ลู สงคราม ๒๑ เมษายน ๒๔๙๘ - ๓๐ มีนาคม ๒๕๐๐

๒. จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ๓๑ มนี าคม ๒๕๐๐ - ๑๒ กันยายน ๒๕๐๐

๓. จอมพล ถนอม กิตติขจร ๒๓ กันยายน ๒๕๐๐ - ๑๕ ตุลาคม ๒๕๑๖

๔. พล.อ.อ. ทวี จลุ ละทรัพย์ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๑๖ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๑๗

๕. พล.อ. ครวญ สุทธานินทร์ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๑๗ - ๑๐ มนี าคม ๒๕๑๘

ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร

๑. พล.ท. สุรพล สุรพลพเิ ชฏฐ์ ๔ กรกฎาคม ๒๔๙๘ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๐๐

๒. พล.ท. ทักษ์ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ๑๓ ธันวาคม ๒๕๐๐ - ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๐๔

๓. พล.ท. บรบิ ูรณ์ จลุ ะจารติ ต์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๐๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๐๖

๔. พล.ท. เฉลมิ มหัทธนานนท์ ๑ ตุลาคม ๒๕๐๖ - ๓๐ กันยายน ๒๕๑๓

๕. พล.ท. เชวง ยงั เจรญิ ๑ ตุลาคม ๒๕๑๓ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๑๘

๖. พล.ท .เลิศรบ สตี บุตร ๑ ตุลาคม ๒๕๑๘ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๐

๗. พล.ท. หริ ญั ครธุ เวโช ๑ ตุลาคม ๒๕๒๐ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๑

๘. พล.ท. นวล หญิ ชีระนันท์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๒๑ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๔

๙. พล.ท. อาจ ชาตนิ ักรบ ๑ ตุลาคม ๒๕๒๔ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๖

๑๐. พล.ท. สัมพนั ธ์ กล่ินเฟ่ือง ๑ ตลุ าคม ๒๕๒๖ - ๓๐ กันยายน ๒๕๒๗

๑๑. พล.ท. นสิ ัย ใบเงนิ ๑ ตุลาคม ๒๕๒๗ - ๓๐ กันยายน ๒๕๓๐

๑๒. พล.ท. ทาเนยี บ ทบั มณี ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๐ - ๓๐ กันยายน ๒๕๓๒

๑๓. พล.ท. ศิรินทร์ ธปู กล่า ๑ ตุลาคม ๒๕๓๒ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๔

๑๔. พล.ท. อนันต์ บารงุ พฤกษ์ ๑ เมษายน ๒๕๓๔ - ๓๑ มนี าคม ๒๕๓๕

๑๕. พล.ท. นิยม ศันสนาคม ๑ เมษายน ๒๕๓๕ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๕

๑๖. พล.ท. บุญศักดิ์ กาแหงฤทธริ งค์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๕ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๙

๑๗. พล.อ.ท. ชาญชยั ชาญชดิ ชิงชัย ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๙ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๒

๑๘. พล.ท. บญุ สรา้ ง เนยี มประดิษฐ์ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๒ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๓

๑๙. พล.ท. เลศิ รตั น์ รตั นวานชิ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๓ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๔

๒๐. พล.ท. รณจกั ร สวสั ดเิ กียรติ ๑ ตลุ าคม ๒๕๔๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๕

๒๑. พล.ท. เกษมศกั ด์ิ ปลูกสวัสด์ิ ๑ ตลุ าคม ๒๕๔๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๖

๒๒. พล.ท. ทนงศกั ด์ิ ตุวนิ นั ทน์ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๖ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘

๒๓. พล.ท. ปิติ กัมพพู งศ์ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๘ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๐

๒๔. พล.ท. ภานุมาต สวี ะรา ๑ เมษายน ๒๕๕๐ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒

๒๕. พล.ร.ท. อมรเทพ ณ บางช้าง ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๒ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓

จัดทาโดย : กองพฒั นาการศกึ ษา วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ

ประวัติวิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร สถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ ๑๕

๒๖. พล.ท. ชศู ักดิ์ เมฆสวุ รรณ์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๓ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕

๒๗. พล.ท. ชาตรี ช่างเรยี น ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖

๒๘. พล.ท. อรรถนพ ศริ ิศักด์ิ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗

๒๙. พล.ท. สรุ สิทธ์ิ ถนดั ทาง ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๘

๓๐. พล.ท. ไชยอนันต์ จนั ทคณานุรกั ษ์ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๘ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๐

๓๑. พล.ท. ปริพฒั น์ ผลาสินธ์ุ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๐ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑

๓๒. พล.ท. ขจรฤทธิ์ นลิ กาแหง ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒

๓๓. พล.ท. พิสัณห์ ปฐมเอม ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓

๓๔. พล.ท. วิโรจน์ เกดิ แสง ๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔

๓๕. พล.ท. ไพศาล งามวงษว์ าน ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ – ปัจจุบนั

จดั ทาโดย : กองพัฒนาการศกึ ษา วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักรฯ

ประวตั ิวิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร สถาบนั วชิ าการป้องกนั ประเทศ ๑๖

รายพระนามท่ีวิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร (รุ่นท)่ี
ทลู เกลา้ ฯ ถวายปรญิ ญาบตั ร วปอ. กติ ตมิ ศกั ด์ิ ๑
๑๑
๑. พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ภูมิพลอดลุ ยเดช ๑๖
๒. สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ๓๐
๓. สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี ๓๑
๔. พล.อ. สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกมุ าร ๓๑
๕. สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
๖. สมเด็จพระเจ้าลกู เธอเจ้าฟ้าจฬุ าภรณว์ ลัยลักษณ์ ๒๕
๗. สมเดจ็ พระเจ้าพนี่ างเธอเจ้าฟ้ากัลยาณวิ ัฒนา ๔๗
๔๘
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
๘. ทูลกระหมอ่ มหญิงอุบลรตั นราชกญั ญา สริ ิวฒั นาพรรณวดี ๔๗
๙. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ ศรรี ัศมิ์ พระวรชายา ๔๙
๕๐
ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกมุ าร
๑๐. พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองคเ์ จา้ โสมสวลี พระวรราชาทนิ ัดดามาตุ
๑๑. พระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกิติยาภา
๑๒. พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จ้าสริ ิภาจุฑาภรณ์

จัดทาโดย : กองพัฒนาการศกึ ษา วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักรฯ

ประวัติวิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ ๑๗

รายพระนามและรายนามผไู้ ดร้ บั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร
วปอ. กติ ติมศกั ดิ์ และ ปรอ.กิตมิ ศกั ดิ์

๑. จอมพล ป. พิบลู สงคราม (รุน่ ท)่ี
๒. พล.อ. จริ วชิ ิตสงคราม ๑

๓. พล.ท. สรุ พล สุรพลพิเชฏฐ์
๔. จอมพล สฤษดิ์ ธนะรชั ต์ ๑
๕. พล.อ. หลวงสวัสด์กิ ลยุทธ ๒

๖. พล.ท. ม.จ.คสั ตาวัส จกั รพนั ธุ์
๗. พล.ร.อ. หลวงชานาญ อรรถยทุ ธ ๒
๘. พล.ท. ทกั ษ์ เสนีวงศ์ ณ อยธุ ยา ๒

๙. พล.อ. สทุ ธ์ิ สุทธิสารรณกร
๑๐. นายพจน์ สารสนิ ๓
๑๑. พล.ต. หลวงวิจติ รวาทการ ๔

๑๒. พล.ต. พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธปิ พงศ์ประพันธ์
๑๓. พ.อ. พระยาศรวี ิสารวาจา ๕
๑๔. พ.อ. ถนดั คอมันตร์ ๕

๑๕. พล.อ. เนตร เขมะโยธนิ
๑๖. พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ ๖
๑๗. พล.อ.ท. มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รงั สฤษฎิ์ ๗

๑๘. นายทวี แรงขา
๑๙. นายสกุ ิจ นมิ มานเหมินท์ ๙
๒๐. พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พิทยลาภพฤฒยิ ากร ๑๐
๑๒
๒๑. พล.ต. หม่อมทววี งศ์ ถวลั ยศกั ดิ์
๒๒. หลวงจารญู เนติศาสตร์ ๑๒
๒๓. นายประกอบ หตุ ะสิงห์ ๑๓
๑๔
๒๔. พล.ร.ต. ชลี สนิ ธุโสภณ
๒๕. พล.อ. ครวญ สุทธานนิ ทร์ ๑๕
๒๖. ม.จ.หญงิ พูนพิศมัย ดิศกลุ ๑๖
๑๖
๒๗. ม.ร.ว.คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช
๒๘. พล.ต. ประมาณ อดเิ รกสาร ๑๗
๒๙. ม.ร.ว.เสนยี ์ ปราโมช ๑๗
๑๘
๓๐. นายธานนิ ทร์ กรยั วิเชียร
๒๕

จัดทาโดย : กองพฒั นาการศกึ ษา วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั รฯ

ประวตั ิวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ ๑๘

๓๑. พล.อ. ชวลติ ยงใจยทุ ธ ๒๘

๓๒. พล.อ. สุนทร คงสมพงษ์ ๒๙
๓๓. พล.อ. ชาติชาย ชณุ หะวัน ๓๐
๓๔. นายอุกฤษณ์ มงคลนาวนิ ๓๐

๓๕. พล.อ. วันชยั เรืองตระกูล ๓๐
๓๖. พล.อ. สุจินดา คราประยูร ๓๐
๓๗. นายประมวล สภาวสุ ๓๑

๓๘. นายจรูญ สภุ าพ ๓๑
๓๙. นายอานวย วีรวรรณ ๓๑
๔๐. พล.ร.อ. ดลิ ก ภัทรโกศล ๓๒

๔๑. นายอานันท์ ปันยารชุน ๓๓
๔๒. นายชวน หลีกภยั ๓๕
๔๓. นายมารุต บุนนาค ๓๕

๔๔. พล.ร.อ. สนั ติภาพ หมู่มิง่ ๓๕
๔๕. พล.ร.อ. สรุ วุฒิ มหารมณ์ ๓๕
๔๖. นายมีชยั ฤชพุ ันธ์ ๓๖

๔๗. พล.ต. สมบัติ รอดโพธทิ์ อง ๓๖
๔๘. พล.อ. ประเสริฐ สารฤทธ์ิ ๓๖
๔๙. นายบรรหาร ศิลปอาชา ๓๗

๕๐. นายบญุ เอื้อ ประเสรฐิ สวุ รรณ ๓๗
๕๑. นายศุภชยั พาณชิ ภกั ดิ์ ๓๗
๕๒. นายสมัคร สุนทรเวช ๓๙

๕๓. พ.ต.ท. ดร.ทักษณิ ชนิ วตั ร ๔๓
๕๔. พล.อ.อ. ปอง มณีศิลป์ ๔๓
๕๕. พล.ต. สาธติ นิมติ รกุล ๔๓

๕๖. นายอุทัย พมิ พ์ใจชน ๔๔
๕๗. นายวนั มูหะมดั นอร์ มะทา ๔๔
๕๘. ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมทุ วาณชิ ๔๔

๕๙. พล.อ.อ. สงคราม ฐานะวร ๔๔
๖๐. นายสุรเกยี รติ เสถยี รไทย ๔๕
๖๑. พล.อ. อ๊ดู เบ้ืองบน ๔๕

๖๒. นายประยงค์ รณรงค์ ๔๘
๖๓. ดร.สุรนิ ทร์ พศิ สุวรรณ ๕๑

จัดทาโดย : กองพฒั นาการศกึ ษา วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ

ประวัติวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ ๑๙

ปรอ.กติ มิ ศกั ด์ิ

๑. พล.อ. ชาตชิ าย ชณุ หะวัณ (รุ่นท)่ี

๒. พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ
๓. พล.ท. ทาเนยี บ ทบั มณี ๑


จดั ทาโดย : กองพฒั นาการศกึ ษา วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักรฯ


Click to View FlipBook Version