The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนงานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ merged

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaja_smok-dj.kang, 2021-12-28 14:02:08

เอกสารประกอบการเรียนงานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ merged

เอกสารประกอบการเรียนงานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ merged

(1)

คำนำ

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชางานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ รหัสวิชา 2101-2111 ระดับ
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม เลม่ ที่ 5 การโป๊วสีและการขดั สีโปว๊ เล่มนี้ ผู้สอน
ไดน้ ำประสบการณ์จากการสอนและจากการศึกษาค้นคว้านำมาเรียบเรียงเป็นเอกสารประกอบการเรียนซึ่ง
ประกอบดว้ ยสาระสำคัญเกี่ยวกับการโปว๊ สีและการขัดสีโปว๊ ได้แก่ เตรียมพื้นผิวงาน การโป๊วสแี ละการขัดสี
โป๊ว ซึ่งสอดคล้องกับจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา ตามหลักสูตรประกาศ
นียวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยแบ่งเนือ้ หาออกเป็น 9 หน่วย และจดั ทำเปน็ เลม่ 9 เล่ม ดงั น้ี

1. เล่มที่ 1 เครอื่ งมือและอปุ กรณใ์ นงานซ่อมตวั ถังและพ่นสีรถยนต์
2. เล่มท่ี 2 การซอ่ มชิน้ ส่วนตวั ถังรถยนต์
3. เลม่ ท่ี 3 การเช่ือมตัวถังรถยนต์
4. เล่มท่ี 4 การลอกสี
5. เลม่ ที่ 5 การโปว๊ สีและการขัดสโี ปว๊
6. เลม่ ท่ี 6 การขัดเตรยี มผิวงาน
7. เลม่ ท่ี 7 การพ่นสรี ถยนต์
8. เล่มท่ี 8 การขัดสรี ถยนต์
9. เล่มที่ 9 การประมาณราคาคา่ บรกิ าร

ผูส้ อนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรยี นเล่มนี้จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รยี น ผู้สอนให้ได้ใช้
เป็นแนวทางในการจดั การเรียนการสอนตามหลักในการจัดการอาชวี ศึกษา หากมีขอ้ เสนอแนะประการใดผู้
เรียบเรยี งยนิ ดนี ้อมรบั ไวด้ ว้ ยความขอบคณุ ยิ่ง

ณกร แซห่ ลี
ผ้เู รยี บเรยี ง

สารบญั (2)

เรือ่ ง หนา้

คำนำ (1)
สารบญั (2)
สารบญั ภาพ (3)
จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะรายวิชา และคำอธบิ ายรายวิชา 1
กำหนดการสอน 2
คำแนะนำการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน 3
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 5
ใบทดสอบความรู้ก่อนเรียน 6
การโป๊วสแี ละการขดั สีโป๊ว 11
26
- การเตรยี มพนื้ ผิวงาน 31
- การโป๊วสี 34
- การขัดสีโปว๊ 39
แบบฝึกหัด 41
ใบงาน 70
ใบทดสอบความรหู้ ลังเรียน 75
แหล่งคน้ ควา้ 76
ภาคผนวก 77
- เฉลยใบทดสอบความรกู้ ่อนเรยี น 78
- เฉลยแบบฝึกหัด 80
- เฉลยใบทดสอบความรูห้ ลงั เรยี น 81
- เฉลยใบงาน

สารบัญภาพ (3)

รปู ท่ี หน้า

1 ชดุ ปฏบิ ัติงานและหมวก 11
2 แวน่ ตา 11
3 หนา้ กากกนั ฝนุ่ แบบใช้แล้วทงิ้ 12
4 หนา้ กากกันฝุ่นแบบเปล่ียนกรองได้ 12
5 ถุงมือผ้า 12
6 ถุงมือป้องกันสารละลาย 13
7 รองเท้านิรภัย 13
8 อุปกรณ์ป้องกนั เสยี งแบบเสียบหู 14
9 อปุ กรณ์ป้องกนั เสยี งแบบครอบหู 14
10 กระดาษทรายแผ่นกลม 15
11 กระดาษทรายมว้ น 15
12 กระดาษทรายแผ่น 16
13 น้ำยาขจัดคราบไขมัน 16
14 สโี ปว๊ โพลเี อสเตอร์ 17
15 สโี ป๊วอีพอ็ กซี 17
16 สีโปว๊ แลกเกอร์ 18
17 กระดาษเช็ดคราบ 18
18 ดนิ สอเทยี น 19
19 ทินเนอร์ 19
20 ผงถา่ น 20
21 มดี โปว๊ 20
22 พลาสติกโปว๊ 21

สารบญั ภาพ (4)

รปู ท่ี หน้า

23 ไมก้ วนสี 21
24 ปืนเป่าลม 22
25 เครือ่ งขัด 1 จงั หวะ 22
26 เครื่องขดั แป้นเหลย่ี ม 23
27 เคร่อื งขัด 2 จังหวะ 23
28 แทง่ รองขัด 24
29 ไมบ้ รรทัดเหล็ก 24
30 สายลม 24
31 ตู้หรอื ชน้ั วางเครือ่ งมอื 25
32 การตรวจสอบผิวสี 27
33 การกำหนดขอบเขตดว้ ยการมอง 27
34 การกำหนดขอบเขตดว้ ยการลูบสัมผสั 28
35 การกำหนดขอบเขตความเสยี หายด้วยบรรทดั เหล็ก 28
36 การลอกผิวสี 29
37 การขดั ลบขอบผิวสี 29
38 การทำความสะอาดโดยใชป้ นื เปา่ ลม 30
40 การขจดั คราบไขมัน 30
41 การผสมสโี ป๊ว 31
42 การผสมสโี ปว๊ ใชม้ ดี โปว๊ คลกุ สว่ นผสม 31
43 การโปว๊ เที่ยวแรก 32
44 การโป๊วเที่ยวทสี่ องและสาม 32
45 การโปว๊ ขนั้ ตอนสุดท้าย 33
46 การอบสีโปว๊ 33

สารบัญภาพ (5)

รูปที่ หน้า

47 การทาผงถ่านก่อนการขัดสีโปว๊ 34
48 การขัดสโี ปว๊ ด้วยกระดาษเบอร์ 80 34
49 การขดั สโี ปว๊ ด้วยกระดาษเบอร์ 120 และ 180 35
50 การขัดสโี ปว๊ ด้วยกระดาษเบอร์ 240 35
51 การลบรอยกระดาษทราย 36
52 การตรวจสภาพความเรยี บโดยการลบู สัมผัส 36
53 การตรวจสภาพความเรยี บโดยการใชไ้ มบ้ รรทัดตรวจวัด 37
54 การตรวจสอบดว้ ยสายตา 37
55 เช็ดทำความสะอาดชิน้ งาน 38
56 วัสดุ อุปกรณแ์ ละเครื่องมือในการโป๊วสแี ละการขดั สีโปว๊ 40

1

จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวชิ า

ชอื่ รายวิชา งานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ รหสั วชิ า 2101-2111

ระดับชนั้ ปวช.3 สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/แผนกวิชา ช่างยนต์

หนว่ ยกิต 3 จำนวนชั่วโมงรวม 7 ชวั่ โมง

จำนวนสัปดาห์ 18 สปั ดาห์

จดุ ประสงคร์ ายวิชา

1. เข้าใจหลกั การใช้ เคร่ืองมือในงานตัวถังและพน่ สีรถยนต์

2. ใช้ เคร่ืองมอื ทำการปรับปรุงสภาพตัวถงั และสีรถยนต์

3. มีกจิ นิสัยทด่ี ี ในการทำงานรบั ผิดชอบประณีตรอบคอบ ตรงตอ่ เวลา สะอาดปลอดภยั และ

รักษาส่ิงแวดล้อม

มาตรฐานรายวชิ า

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการจำแนกชนดิ และประเภทการนำไปใชง้ านขนั้ ตอนการซ่อมสีรถยนต์
2. เตรยี มผิวงานด้วยกรรมวธิ ีตามกระบวนการสรี ถยนต์
3. พน่ สรี องพ้นื พน่ สที บั หน้า ขดั สีและตดิ ตง้ั อปุ กรณเ์ ขา้ กบั รถยนต์
4. ประมาณราคางานซอ่ มสีรถยนตต์ ามหลกั การ
5. บำรงุ รกั ษาอปุ กรณ์ เคร่ืองมือในงานตวั ถังและสรี ถยนตห์ ลังการใชง้ านตามคู่มือ

คำอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั การใชเ้ ครอ่ื งมืองานตัวถงั และสรี ถยนต์ การเคาะขึ้นรูปการปะผุตัวถัง
การลอกผวิ สี โป๊วสี การขดั เตรยี มผิวงาน การพ่นสี การขัดและประมาณราคาคา่ บริการ

2

กำหนดการสอน

ชื่อวิชา งานตวั ถังและพน่ สรี ถยนต์ รหสั วชิ า 2101 2111 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ทฤษฎรี วมปฏิบตั ิ 7 คาบ/สัปดาห์ รวม 126 ชวั่ โมง

หนว่ ยท่ี เร่ือง จำนวนชัว่ โมง
- ปฐมนิเทศและทดสอบก่อนเรียน 2
1 เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ในงานซ่อมตัวถงั และพน่ สรี ถยนต์ 12
2 การซ่อมชิน้ สว่ นตวั ถังรถยนต์ 21
3 การเชอื่ มตัวถังรถยนต์ 14
4 การลอกสี 14
5 การโปว๊ สแี ละการขัดสีโป๊ว 21
6 การขัดเตรียมผวิ งาน 7
7 การพน่ สีรถยนต์ 21
8 การขัดสีรถยนต์ 7
9 การประมาณราคาคา่ บริการ 5
2
ประเมนิ สรุปผลปลายภาค 126
รวม

3

คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน

เอกสารประกอบการเรียนวิชา งานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ รหัสวิชา 2101 2111 ระดับ
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เลม่ ท่ี 5 การโป๊วสีและการขัดสโี ป๊ว เล่มน้ี จัดทำ
ขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และเพื่อให้ครูใช้เป็นคู่มือประกอบการสอน นอกจากนี้ยัง
สามารถใช้เพอ่ื ซอ่ มเสรมิ กรณีท่นี ักเรยี นทำกจิ กรรมการเรยี นรูไ้ ม่ผ่านเกณฑ์ โดยมีคำแนะนำในการใช้ดังน้ี

สำหรบั ครู
1. ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เพื่อศึกษาเนื้อหาของการโป๊วสีและการขัดสีโป๊ว โดยก่อนใช้ควร

ชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงวิธีการศึกษาและมีความซื่อสัตย์ในการทำใบทดสอบความรู้ก่อนเรียน ใบงาน
ระหวา่ งเรียน และใบทดสอบความร้หู ลังเรียน

2. ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การโป๊วสีและการขัดสีโป๊ว โดยใช้ศึกษา
ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดยให้นักเรียนทำใบทดสอบความรู้ก่อนเรียน ศึกษาเนื้อหา ปฏิบัติงาน แล้วทำ
ใบงาน ใบทดสอบความรู้หลังเรียน และเฉลยใบงาน เฉลยใบทดสอบความรู้ก่อนเรียน เฉลยใบทดสอบ
ความรู้หลงั เรยี น

3. ในการจัดกจิ กรรมภาคปฏิบตั ิ อาจให้นกั เรียนทำเปน็ รายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความเหมาะสม
เพื่อฝึกให้นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับบุคคลอน่ื ได้

4. เมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้ครูควรให้นักเรียนช่วยกันสรุปและมีส่วนช่วยกันประเมินผลชิ้นงาน
และครูบันทึกคะแนนก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน เพื่อให้นักเรียนเห็นพัฒนาการของตนเอง
ถ้านักเรียนทำคะแนนได้ไม่ถึงเกณฑ์ ควรให้นักเรียนศึกษาซ้ำอีกหรือครูจะสอนซ่อมเสริมให้จนกระท่ัง
ทดสอบแล้วผ่านเกณฑท์ ก่ี ำหนดไว้

สำหรบั นักเรยี น
1.ใช้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองทั้งก่อนทำใบทดสอบความรู้

กอ่ นเรียน ระหวา่ งเรยี น และหลังเรยี น
2. ในการศกึ ษาเอกสารน้ี หากไม่เขา้ ใจให้บนั ทึกไวเ้ พื่อสอบถามครูในเวลาเรยี นหรือนอกเวลาเรียน
3. ขัน้ ตอนการศกึ ษา มดี งั น้ี
3.1 ทำใบทดสอบความรู้ก่อนเรยี น
3.2 ศึกษาเนื้อหาให้เข้าใจอยา่ งละเอยี ด
3.3 ทำใบงานตามที่กำหนด
3.4 ปฏิบตั ิกจิ กรรมเกีย่ วกบั การโป๊วสีและการขดั สีโป๊ว
3.5 นำผลงานทที่ ำแล้วส่งครู ประเมินผลรว่ มกนั

4

3.6 ทำใบทดสอบความรหู้ ลงั เรยี น
3.7 ตรวจคำตอบใบงาน ใบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรียน เพื่อทราบผลการพัฒนาใน
แต่ละกจิ กรรมต้องผ่านเกณฑ์ตามกำหนด หากไม่ผา่ นเกณฑ์ควรซอ่ มเสริมโดยทบทวนแลว้ ทำกจิ กรรมนั้น
ใหม่จนผ่านเกณฑ์
4. ในการศึกษานักเรียนควรได้รับความรู้ ทักษะ และฝึกนิสัยในการทำงานเป็นระเบียบเรียบร้อย
ประณีต รอบคอบ คำนึงถึงความปลอดภัย ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและรักษาสิ่งแวดล้อม อีกทั้งสร้าง
คุณธรรมให้เกิดกับตนเอง ได้แก่ การมีวินัย ความชื่อสัตย์ ความสนใจใฝ่รู้ การมีมนุษยสัมพันธ์ และความ
สามัคคี เพ่ือใหเ้ ป็นคนดี คนเกง่ และอยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ

สอ่ื ท่ใี ชใ้ นการเรียนการสอนทง้ั ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ
1. สอ่ื PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ในการโปว๊ สแี ละการขัดสีโป๊ว
2. เอกสารประกอบการเรียน เร่อื ง การโป๊วสีและการขัดสีโปว๊
3. สอื่ PowerPoint เรือ่ ง การโปว๊ สีและการขัดสโี ปว๊
4. สอื่ ของจรงิ
5. สื่อ E-Learning อบรมชา่ งซ่อมสีรถยนต์ระดบั 1 โดยศูนยฝ์ ึกอบรม ของบริษทั ฮอนด้าออโตโ้ มบลิ
(ประเทศไทย) จำกัด
6. สื่อวีดีโอ อบรมชา่ งซ่อมตวั ถังรถยนต์ระดับ 1 โดยศนู ย์การศึกษาและฝกึ อบรมโตโยต้า

5

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

หลังจากได้ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน วิชางานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ รหัสวิชา 2101 2111
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เล่มท่ี 5 การโป๊วสีและการขัดสีโป๊ว
โดยผ้เู รียนจะมคี วามรู้ความสามารถ ดงั น้ี

จดุ ประสงค์ทั่วไป
1. นกั เรยี นสามารถแสดงความรเู้ ก่ียวกบั การโป๊วสีและการขัดสโี ป๊ว
2. นักเรียนสามารถตรวจสอบการโปว๊ สีและการขดั สีโป๊ว ในการทำงานตามข้ันตอน

สมรรถนะย่อย
1. นกั เรียนสามารถบอกเคร่ืองมือและวสั ดุทใ่ี ช้ในการโปว๊ สีได้ถกู ต้อง
2. นักเรยี นสามารถอธบิ ายขน้ั ตอนการเตรยี มพน้ื ผิวงานได้ถูกต้อง
3. นักเรียนสามารถอธิบายขน้ั ตอนการโปว๊ สีได้ถูกต้อง
4. นกั เรียนสามารถอธิบายข้นั ตอนการขดั สโี ปว๊ ได้ถูกต้อง
5. นกั เรียนสามารถอธิบายการตรวจสอบผวิ งานได้ถกู ตอ้ ง
6. นักเรยี นสามารถเตรยี มพ้ืนผิวงานได้ตามมาตรฐาน
7. นกั เรยี นสามารถโปว๊ สีไดต้ ามมาตรฐาน
8. นกั เรียนสามารถขดั สโี ป๊วไดต้ ามมาตรฐาน
9. นกั เรียนสามารถตรวจสอบผิวงานได้ตามมาตรฐาน
10. นักเรยี นสามารถมีกิจนสิ ัยในการทำงาน รับผดิ ชอบ ประณตี รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด

ปลอดภยั และรักษาสภาพแวดล้อม

6

ใบทดสอบความรู้ก่อนเรยี น

ชอ่ื วชิ า งานตัวถงั และพน่ สีรถยนต์ 2101-2111

ชื่อหนว่ ย การโป๊วสแี ละการขดั สีโปว๊

คะแนนเตม็ 20 คะแนน เวลา 20 นาที

...........................................................................................................................................

คำชแ้ี จง ขอ้ สอบเป็นแบบปรนยั เลอื กตอบ 4 ตวั เลือกขอ้ สอบมีจำนวน 20 ข้อ

1. ในการขดั เตรยี มพนื้ ผิวชน้ิ งาน ควรใสห่ น้ากากประเภทใด
ก. หนา้ กากชนิดผ้า
ข. หนา้ กากแบบคาร์บอนเคลือบ
ค. หน้ากากแบบมีตลับกรอง
ง. หน้ากากชนิดครอบทัง้ ใบหนา้

2. ในการขัดเตรยี มพื้นผวิ ชิ้นงาน ควรใสร่ องเทา้ ประเภทใด
ก. รองเท้าแตะหรือรองเท้าฟองนำ้ ทั่ว ๆ ไป
ข. รองเทา้ บู๊ทยางทีส่ ามารถป้องกันนำ้ ได้
ค. รองเท้าเชฟตี้หรอื รองเท้านิรภัย
ง. รองเทา้ ผ้าใบแบบห้มุ ข้อ

3. เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการขดั สีโปว๊ เพ่ือข้ึนรูปคอื ขอ้ ใด
ก. เครอ่ื งขัด 1 จังหวะ
ข. เครอ่ื งขัด 2 จังหวะ
ค. เครือ่ งขัดแปน้ เหลี่ยม
ง. หินเจยี รลม

4. เคร่อื งขดั ท่ใี ชใ้ นการลบขอบปากแผลคือข้อใด
ก. เครื่องขัด 1 จังหวะ
ข. เครอื่ งขัด 2 จังหวะ
ค. เครือ่ งขัดแปน้ เหลย่ี ม
ง. หินเจียรลม

7

5. การบำรุงรกั ษาเคร่ืองมือลมควรทำอย่างไร
ก. เปา่ ลมทำความสะอาด และหา้ มหยอดน้ำมัน
ข. เปา่ ลมทำความสะอาด และหยอดนำ้ มัน 2 - 3 หยด
ค. เปา่ ลมทำความสะอาดหยอดน้ำมัน 5 - 10 หยด
ง. เคร่ืองมือลมทุกชนดิ หา้ มหยอดน้ำมัน

6. เคร่ืองมือในการขัดประเภทใดไม่เหมาะสมกับพ้ืนท่ีงานซ่อมสี
ก. เคร่อื งขัดแบบใชล้ มชนิดมีเคร่ืองดดู ฝ่นุ
ข. เครอ่ื งขัดแบบใชล้ ม
ค. อุปกรณ์ขดั ดว้ ยมือ
ง. เครื่องขัดแบบใช้ไฟฟ้า

7. เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการขดั ลอกสีคอื ขอ้ ใด
ก. เครอื่ งขัด 1 จงั หวะ
ข. เคร่อื งขัด 2 จังหวะ
ค. เครอ่ื งขัดแป้นเหลี่ยม
ง. หนิ เจียรลม

8. ข้นั ตอนการลอกสคี วรใช้กระดาษทรายเบอร์ใด
ก. เบอร์ 60 - 80
ข. เบอร์ 80 - 120
ค. เบอร์ 120 - 180
ง. เบอร์ 180 - 240

9. ข้ันตอนการลบขอบปากแผลกอ่ นโปว๊ สีควรใช้กระดาษทรายเบอรอ์ ะไรบ้าง
ก. เบอร์ 60 - 80
ข. เบอร์ 80 - 120
ค. เบอร์ 120 - 180
ง. เบอร์ 180 - 240

8

10. การเปิดปากแผลควรมคี วามกวา้ งของชน้ั สแี ตล่ ะชัน้ เทา่ ใด
ก. 0.5 - 5 มิลิเมตร
ข. 5 - 10 มลิ ลเิ มตร
ค. 10 - 30 มิลลเิ มตร
ง. 30 - 50 มิลลิเมตร

11. การตรวจสอบดว้ ยกระดาษทราย เป็นวธิ กี ารตรวจสอบเรอ่ื งใด
ก. เพือ่ ตรวจสอบวา่ เป็นสโี รงงานหรือไม่
ข. เพอ่ื ตรวจสอบว่าเป็นสขี ั้นตอนเดยี วหรอื 2 ขัน้ ตอน
ค. เพอื่ ตรวจสอบวา่ เปน็ สเี มทัลลคิ หรือไม่
ง. เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพความแข็งแรงของผวิ สี

12. สิ่งใดควรทำเป็นอนั ดับแรก เก่ียวกับข้ันตอนการตรวจสอบ
ก. ใช้มือลูบสมั ผสั ชนิ้ งานเพื่อตรวจสอบใหท้ ว่ั ผวิ งาน
ข. ใชท้ ินเนอรเ์ ช็ดว่าเปน็ สปี ระเภทใด
ค. ลา้ งทำความสะอาดช้ินงาน
ง. ใช้กระดาษทรายขัดพ้ืนผิว

13. กรณีเปดิ ปากแผลจนถงึ ช้ันเหลก็ จะตอ้ งทำขัน้ ตอนใดเป็นอนั ดบั แรก
ก. ทำความสะอาดแลว้ พน่ สรี องพ้ืนอีพอ็ กซี่
ข. ทำความสะอาดแล้วโป๊วมีดแรก
ค. ทำความสะอาดแลว้ โปว๊ ใหเ้ ตม็
ง. พ่นสีรองพน้ื แล้วโป๊วสี

14. อตั ราส่วนผสมของสโี ป๊วทถี่ ูกต้องคือ
ก. สึโปว๊ 50 กรัมตอ่ ฮาร์ด 1 - 3 กรัม
ข. สึโปว๊ 100 กรัมตอ่ ฮารด์ 1 - 3 กรัม
ค. สึโปว๊ 150 กรมั ตอ่ ฮารด์ 1 - 3 กรัม
ง. สีโปว๊ 200 กรมั ตอ่ ฮาร์ด 1 - 3 กรมั

9

15. เมอ่ื ผสมสโี ป๊วกับสารเรง่ แขง็ เขา้ ด้วยกนั จะต้องรอกน่ี าทีจงึ โป๊วมีดตอ่ ไปได้
ก. 5 นาที
ข. 10 นาที
ค. 15 นาที
ง. 20 นาที

16. การโป๊วสีครง้ั แรกทำไปเพื่อวตั ถปุ ระสงค์ใด
ก. เพ่อื กลบรอยตามดและรอยกระดาษทราย
ข. เพ่อื ไมใ่ หเ้ กดิ ฟองอากาศขณะที่ทำการโป๊วสี
ค. เพ่อื ใหผ้ วิ เรยี บสม่ำเสมอและงา่ ยตอ่ การขัดแตง่
ง. เพ่อื ไมใ่ ห้สีโปว๊ เปน็ ขั้นและง่ายต่อการโป๊วสใี นครงั้ ตอ่ ๆ ไป

17. หลังจากขดั สีโป๊วเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ ควรทำขั้นตอนใดก่อนพ่นสีพ้ืน
ก. รีดมดี โปว๊ บางๆ ให้ทัว่ ขน้ึ งานอีกครั้ง
ข. ตรวจสอบรอยตามด รอยยุบกระดาษทรายกอ่ น
ค. ทำความสะอาดมีดโป๊วสี และพ้ืนทป่ี ฏิบตั ิงาน
ง. ปดิ กระดาษ ป้องกันการขึน้ งานขา้ งเคยี ง

18. ลักษณะการแห้งตวั ของสโี ป๊วท่ถี ูกตอ้ งคือข้อใด
ก. ทุกบรเิ วณท่ีโปว๊ แหง้ ตวั เท่ากนั
ข. บรเิ วณทสี่ ีโปว๊ หนาแห้งตวั ชา้
ค. บริเวณท่สี ีโปว๊ บางแห้งตัวเร็ว
ง. บรเิ วณทส่ี ีโป๊วหนาแห้งตวั เรว็

19. ขน้ั ตอนการไล่เบอรก์ ระดาษทรายก่อนพ่นสีพ้ืน
ก. เบอร์ 80 – 180 – 240 – 320 - 400
ข. เบอร์ 80 – 120 – 180 – 240 – 320 - 400
ค. เบอร์ 80 – 120 – 180 – 240 - 320
ง. เบอร์ 80 – 180 – 320 – 400 – 500 - 600

10

20. ส่ิงใดไม่ควรทำ หลังจากเช็ดทำความสะอาดเสร็จเรยี บรอ้ ยแล้ว
ก. ใช้มือเปลา่ ลูบสมั ผสั ชน้ิ งาน
ข. พน่ สรี องพืน้ กนั สนมิ แลว้ พ่นสีพน้ื ทับ
ค. ใชส้ ายตาตรวจสอบรอยรอบๆ ท่ีช้ินงาน
ง. ติดกระดาษปดิ ป้องกนั รอบ ๆ ชิน้ งานขา้ งเคยี ง

11

การโป๊วสแี ละการขัดสโี ป๊ว

สีโป๊ว เป็นสีที่ทำหน้าที่เป็นตัวอุดพอกเสริมรอยบุบไม่เรียบหรือรอยขีดข่วนต่าง ๆ ให้ผิวงานเกิด
ความราบเรียบเสมอกัน เนื้อสีมีลกั ษณะข้นหนีด ต้องผสมน้ำยาแข็งตัว (Hard diner) ให้เข้ากันเป็นเนื้อ
เดียว ก่อนใช้งานสีโป๊วท่ีใช้กันอย่ทู ั่วไปมีคณุ สมบัติ คือ แหง้ เร็ว เกาะยึดติดแนน่ กับผวิ เหล็กไดด้ ี โดยการ
ขัดสโี ปว๊ จะขัดปรบั สภาพผิวงานให้ผวิ เรียบตามรปู ทรงและไม่ทง้ิ รอยเส้นกระดาษทรายบนช้นิ งาน
1. เคร่ืองมือและวสั ดุที่ใช้ในการโปว๊ สีและการขดั สีโป๊ว

1.1 อุปกรณ์ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน
1.1.1. ชุดปฏิบัติงานและหมวก (Personal Protective Equipment, PPE) ใช้สำหรับป้องกัน

ผปู้ ฏบิ ัติงาน ไม่ใหส้ มั ผสั กับสารเคมีและฝุ่นละออง

รูปท่ี 5.1 ชุดปฏิบตั ิงานและหมวก
ที่มา : TEAM-B&P บรษิ ทั โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540
1.1.2. แว่นตา (Glasses) ใช้ป้องกันตาจากสีและทินเนอร์รวมถึงฝุ่นผงและโลหะที่เกิดจากการ
โปว๊ สแี ละการขดั สโี ป๊ว

รปู ท่ี 5.2 แวน่ ตา
ท่มี า : TEAM-B&P บริษทั โตโยตา้ มอเตอร์(ประเทศไทย) จำกัด, 2540

12

1.1.3. หน้ากากกนั ฝ่นุ (Mask) ใช้ในการป้องกนั สารระเหยและฝ่นุ ละอองในการโปว๊ สแี ละการขัดสโี ปว๊
หน้ากากกันฝนุ่ มี 2 แบบ

1.1.3.1. แบบใชแ้ ลว้ ทิง้

รปู ท่ี 5.3 หน้ากากกันฝนุ่ แบบใช้แลว้ ทิง้
ที่มา : TEAM-B&P บรษิ ทั โตโยต้ามอเตอร์(ประเทศไทย) จำกัด, 2540
1.1.3.2. แบบเปลี่ยนกรองได้

รปู ท่ี 5.4 หน้ากากกนั ฝ่นุ แบบเปล่ยี นกรองได้
ทีม่ า : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกดั , 2540
1.1.4. ถุงมอื ผา้ (Cotton Glove) ใชส้ ำหรับปอ้ งกันอนั ตรายจากการใชเ้ คร่ืองมอื และอุปกรณ์การ
โปว๊ สแี ละการขดั สโี ป๊วและยังสามารถใช้ในการเคลอ่ื นย้ายช้นิ สว่ นอะไหล่ขณพปฏิบัติงานได้

รูปท่ี 5.5 ถุงมอื ผา้
ท่มี า : TEAM-B&P บรษิ ทั โตโยตา้ มอเตอร์(ประเทศไทย) จำกดั , 2540

13
1.1.5. ถุงมือป้องกนั สารละลาย (Chemical Resistance Glove) ใช้ป้องกันสารละลายถูกผวิ หนงั
ในขณะทำงานถงุ มือชนิดนี้ ควรสวมเม่ือทำการทำความสะอาดมีดโปว๊ สี

รปู ที่ 5.6 ถุงมอื ป้องกันสารละลาย
ทม่ี า : TEAM-B&P บรษิ ทั โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540
1.1.6 รองเทา้ นริ ภัย (Safety shoes) รองเท้าชนิดนม้ี แี ผ่นโลหะอยบู่ นบรเิ วณน้ิวเท้าและมพี ืน้
รองเทา้ หนาเพื่อปอ้ งกนั เท้า รองเท้าหวั เหลก็ ทคี่ วรจัดหาไว้ตอ้ งมีการปอ้ งกันไฟฟา้ สถิตเป็นสำคัญ

รปู ท่ี 5.7 รองเทา้ นิรภยั
ทม่ี า : TEAM-B&P บริษทั โตโยต้ามอเตอร์(ประเทศไทย) จำกัด, 2540

14

1.1.7 อุปกรณ์ป้องกันเสยี ง (Ear Plugs) ใช้สำหรับป้องกนั เสยี งจากการขัดลอกผวิ ชิ้นงาน มีอยู่ 2
แบบหลักๆ

1.1.7.1 แบบเสียบหู

รปู ที่ 5.8 อปุ กรณป์ ้องกนั เสียงแบบเสยี บหู
ทมี่ า : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540
1.1.7.2 แบบครอบหู

รูปท่ี 5.9 อุปกรณป์ อ้ งกนั เสียงแบบครอบหู
ทีม่ า : TEAM-B&P บริษทั โตโยตา้ มอเตอร์(ประเทศไทย) จำกดั , 2540
1.2 วสั ดุ อปุ กรณ์และเครื่องมอื ในการโปว๊ สแี ละการขัดสีโป๊ว
1.2.1 วสั ดใุ นการโป๊วสีและการขัดสโี ป๊ว
1.2.1.1 กระดาษทราย (Sand Paper) เป็นวัสดุที่ใช้งานร่วมกับเครื่องขัดหรืออุปกรณ์รองขัด
ดว้ ยมอื ใช้ขดั ผวิ ของสเี ดิม ผวิ ของสีโป๊ว และสีพืน้ วสั ดทุ ี่ใชท้ ำกระดาษทราย เชน่ พน้ื ของกระดาษทรายทำ
ด้วยกระดาษกันน้ำ ผ้า หรือแผ่นไฟเบอร์กลาส ผงขัดที่ติดกับพื้นกระดาษทรายน้ำทำจากเกล็ดซิลิโคนคาร์
ไบด์ ซึ่งมคี ุณสมบัตใิ นการ กดั เซาะผิวงานใหห้ ลดุ ในระหวา่ งขัดได้อย่างรวดเร็ว เหมาะที่จะใช้กบั การขดั สีท่ีมี
ความอ่อน ส่วน กระดาษทรายที่ทำจากเกล็ดอะลูมิเนียมออกไซด์ ซึ่งมีความหนาแน่นและทนทานสูง
เหมาะที่จะใชใ้ นการขดั สีที่มคี วามแขง็ โดยลกั ษณะการใช้ผลิตภัณฑ์ มีแบบอยู่ 3 แบบ คอื

15

1) กระดาษทรายแผน่ กลม เป็นวสั ดทุ ่ีใชง้ านร่วมกับเคร่ืองขดั

รูปท่ี 5.10 กระดาษทรายแผ่นกลม
ทม่ี า : biggo [online] : เขา้ ถึง 4 ก.พ. 2563 . จาก https://biggo.co.th/s/%E0%B8%81%E0%B8%

A3 0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%
B8%B2%E0%B8%A2+5000+3m/

2) กระดาษทรายมว้ น เปน็ วัสดุท่ใี ชง้ านร่วมกับอุปกรณ์รองขดั สามารถตัดแบ่งตามความ
ยาวของอุปกรณ์ได้

รูปที่ 5.11 กระดาษทรายม้วน
ทม่ี า : hnautocare [online] : เขา้ ถงึ 4 ก.พ. 2563 . จาก http://www.hnautocare.com/3m-
%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%9
7%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%
99%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8

%B5.htm

16
3) กระดาษทรายแผ่น เป็นวสั ดทุ ีใ่ ช้งานร่วมกับอปุ กรณ์รองขดั ตามขนาด

รปู ที่ 5.12 กระดาษทรายแผน่
ทีม่ า : บริษัทคอมมิวนิเคชั่น แอนด์ ซสิ เต็มส์ โซลูช่ัน จำกดั (มหาชน) [online] : เข้าถึง 4 ก.พ. 2563 .

จาก https://firebarriercss.com/product/331t/
1.2.1.2 นำ้ ยาขจดั คราบไขมัน ใช้ในการทำความสะอาดพนื้ ผวิ เหมาะสำหรบั ใช้ทำความ
สะอาดคราบไขมัน นำ้ มนั และสง่ิ สกปรกต่างๆ บนชนิ้ งาน หรอื ผิวสีเก่า กอ่ นทำการพน่ ซ่อมใหม่

รปู ที่ 5.13 นำ้ ยาขจดั คราบไขมัน
ท่มี า : homepro [online] : เขา้ ถึง 4 ก.พ. 2563 . จาก https://www.homepro.co.th/p/1089446

17

1.2.1.3 สีโปว๊ (Putty) วสั ดุเหลวรองพ้ืนที่ใชเ้ ติมรอยบุบ รอยยบุ และสรา้ งความเรยี บให้ ผวิ
งาน การใชง้ านจะใชร้ ่วมกับตัวทำแขง็ (Hardener) และแต่งผิวใหเ้ รียบไดโ้ ดยการใชก้ ระดาษทรายขดั
สโี ป๊วทใ่ี ช้ในการซอ่ มสีรถยนต์มี 3 ชนิด คือ

1) สีโป๊วโพลีเอสเตอร์ (Polyester Putty) ประกอบดว้ ยสารอันเซตเทอรเ์ รดโพลีเอสเตอร์
และยูรีเทนเรชิน สีโป๊วชนิดนี้จึงเป็นสีโป๊วชนิด 2 องค์ประกอบ (2K) ดังนั้นจึงต้องใช้ร่วมกับตัวทำแข็ง
ที่ผลิตจากสารออแกนิคเปอร์ออกไซด์ จึงสามารถโป๊วขึ้นรูปได้หนา ขัดง่าย แต่มีเนื้อหยาบ ด้วยเหตุนีจ้ ึงไม่
ควรโบ๊ให้หนาเกนิ กวา่ 3 มลิ ลิเมตร และโป๊วลงบนผิวหนา้ ของผิวเหล็กโดยตรง

รปู ที่ 5.14 สีโปว๊ โพลีเอสเตอร์
ทีม่ า : nipponpaint [online] : เข้าถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://nipponpaint.co.th/products/auto_refinish/product_ar_view.php?pid=86

2) สีโป๊วอีพ็อกซี (Epoxy Putty) ประกอบด้วยสารอีพ็อกชีเรซิน โดย ใช้งานร่วมกับ
แอมมิเน (ฮาร์ดเคนเนอร)์ ดังนั้นสโี ป๊วอีพ็อกซีจึงมีคุณสมบัติในการป้องกันสนิมและการยดึ เกาะผิวงานได้ด
bจึงถูกนำมาใช้งานซ่อมชิ้นงานประเกทพลาสติก แต่มีคุณสมบัติในการแห้งตัว การขึ้นรูป และการขัดที่ต่ำ
กว่าสโี ป๊วชนิดโพลเี อสเตอร์

รูปที่ 5.15 สีโปว๊ อพี อ็ กซี
ท่มี า : บรษิ ัท แอล.เค.ออโต้(1999) จำกัด [online] : เข้าถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://www.lkauto1999.com/product/153686/989-41-epoxy-primer

18

3) สีโป๊วแลกเกอร์หรือสีโป๊วแห้งเร็ว (Lacquer Putty) ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ส า ร ไ น โ ต ร
เซลลูโลสและอลั ไคด์เรชนิ ใช้สำหรบั โป๊วเตมิ รอยรูเข็มหรือรอยยบุ เล็กน้อยบนผิวสพี ้ืน ดังนั้นในการโป๊วสี
พ้ืน จึงไม่ควรโป๊วใหห้ นาเกนิ 1 มลิ ลิเมตร

รูปท่ี 5.16 สีโป๊วแลกเกอร์
ทีม่ า : i FUR MAN [online] : เขา้ ถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://ifurman.blogspot.com/2017/06/Glazing-putty-red.html
1.2.1.4 กระดาษเชด็ คราบ (Stain Wipes ) ใชส้ ำหรบั เช็ดทำความสะอาดผิวหน้างานระหว่าง
การปฏบิ ตั ิงานหรอื กอ่ นสง่ มอบงาน

รปู ที่ 5.17 กระดาษเช็ดคราบ
ที่มา : sanook [online] : เขา้ ถึง 4 ก.พ. 2563 . จาก https://www.sanook.com/home/8757/

19

1.2.1.5 ดินสอเทยี น (Soft Colored Pencils) ใชส้ ำหรับเขียนขอบเขตความเสียหายหรอื ทำ
เครอ่ื งหมายตา่ ง ๆ ในระหว่างการซ่อมชิน้ งาน

รปู ที่ 5.18 ดินสอเทียน
ทม่ี า : SuperTrade [online] : เข้าถึง 4 ก.พ. 2563 .
จาก http://www.supertrade.co.th/th_TH/shop/product/1567
1.2.1.6 ทินเนอร์ (Thinner) เป็นสารทำละลายทใ่ี ช้สำหรับทำการเจือจางสีและมีความหนดื ท่ี
เหมาะสมหรือล้างชำระอุปกรณ์งานสีที่สัมผัส โดยทินเนอร์มีลักษณะเป็นสารสีใสบริสุทธิ์ มีกลิ่นฉุน
ติดไฟง่าย ระเหยง่าย

รปู ที่ 5.19 ทินเนอร์
ท่มี า : homepro [online] : เข้าถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://www.homepro.co.th/p/1103634?h11eId=recommendation

20

1.2.1.7 ผงถ่าน (Dry Guide Coat) ใช้ทาบนพื้นผิวท่ตี ้องการตรวจสอบสภาพผวิ เช่น ตามด
รอยขดี ขว่ นบนสโี ป๊ว หรอื รอยขูดลกึ บนสรี องพนื้ ช่วยระบรุ ะดับของพ้นื ผวิ ระหวา่ งการขัด

รูปท่ี 5.20 ผงถ่าน
ทม่ี า : lazada [online] : เขา้ ถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://www.lazada.co.th/products/3m-05860-refill-3m-dry-guide-coat-cartridge-

i100843751.html
1.2.2 อุปกรณ์และเครื่องมอื ในการโปว๊ สีและการขัดสโี ปว๊

1.2.2.1 มดี โปว๊ (Scraper) อุปกรณม์ ลี ักษณะเปน็ แผ่นเหล็กบาง ใช้ในการเตมิ เนื้อสโี ปว๊ ลงใน
ช้นิ งานที่ราบเรียบจนมสี ภาพตามลกั ษณะชน้ิ งานเดิม

รูปท่ี 5.21 มีดโป๊ว
ท่ีมา : watsadupedia [online] : เข้าถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://www.watsadupedia.com/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%81%
E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5
%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B9%8A%E0%B8%A7%E0%B8%A

A%E0%B8%B5_SOMIC

21

1.2.2.2 พลาสติกโป๊ว (Plastic Spreader) อปุ กรณม์ ลี ักษณะเปน็ แผ่นพลาสตกิ บาง ใชใ้ นการ
เตมิ เนอื้ สโี ปว๊ ลงในชน้ิ งานทมี่ ีความโค้ง จนมีสภาพราบเรยี บตามลกั ษณะช้ินงานเดิม

รปู ที่ 5.22 พลาสตกิ โป๊ว
ทมี่ า : ศรไี ทยเจรญิ โลหะกจิ [online] : เขา้ ถึง 4 ก.พ. 2563 .
จาก http://www.srithaihardware.com/product_detail.php?category=26&sub_

category=109&id=231
1.2.2.3 ไมก้ วนสี (Agitating Rod) เปน็ อปุ กรณ์ใช้สำหรับกวนส่วนผสมของสีในแตล่ ะชนิด เช่น
สีโป๊วหรือสีพื้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกันซึ่งจะช่วยให้เทเนื้อสีออกจากกระป๋องได้ง่าย ไม้กวนสีจะมีทั้งแบบ
โลหะและพลาสติก โดยในบางแบบจะมีสเกลบอกระดับไว้ที่ตัวไม้กวนสี เพื่อวัดอัตราส่วนผสมระหว่าง
ตัวนำ้ ยาฮาร์ดเดนเนอร์และทนิ เนอรไ์ ว้ดว้ ย

พลาสตกิ โลหะ

รปู ที่ 5.23 ไมก้ วนสี
ท่มี า : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540

22

1.2.2.4 ปนื เปา่ ลม (Air Duster Gun) เปน็ อุปกรณ์ใชส้ ำหรับเปา่ ทำความสะอาดผิวงานด้วยลม
แรงดันสงู เพื่อขจดั เศษสีและฝ่นุ ละอองทต่ี ิดบนผิวงานให้หมดไป

รปู ท่ี 5.24 ปนื เป่าลม
1.2.2.5 เคร่อื งขัด (Sander) เป็นอปุ กรณก์ ารขดั ที่ใชร้ ว่ มกับกระดาษทรายจะใช้สำหรบั การขดั
ลอกผิวสี ผิวสโี ปว๊ หรอื สพี นื้ โดยแบง่ ได้ 3 ชนดิ

1) การจดั ประเภทตามแหล่งกำลงั งาน (Power Classification) มี 2 แบบ
- เครื่องขดั แบบใช้ไฟฟ้า โดยใชก้ ระแสไฟฟ้าเปน็ พลังงานในการหมนุ เคร่ืองขัด
- เคร่ืองขัดแบบใชล้ ม โดยใช้ลมแรงดนั สูงเปน็ พลงั งานในการหมนุ เครอ่ื งขดั

2) การจดั แบ่งประเภทตามลักษณะแปน้ รองขัด (Pad Action Classification)
- เคร่อื งขัด 1 จังหวะ (Single-Action Sander) เครื่องขดั ชนิดนจ้ี ะหมนุ เปน็ วงกลม

รอบจดุ หมุนแบบคงที่เปน็ เคร่ืองขดั ทใ่ี ช้สำหรับงานลอกผวิ สวี งขดั ทไ่ี ดจ้ ะมีขนาดใหญ่

รูปท่ี 5.25 เครอื่ งขดั 1 จังหวะ
ทีม่ า : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540

23

- เครื่องขัดแป้นเหลี่ยม (Orbital- Action Sander) เครื่องขัดชนิดนี้มีลักษณะการ
หมนุ ของแปน้ รองขัดจะเป็นการหมุนแบบสน่ั เปน็ วงเล็ก เครือ่ งขดั ท่ีใชส้ ำหรบั ขัดแตง่ รูปทรงของสีโป๊วขนาด
ของแปน้ รองขัดสามารถที่จะเปล่ยี นใหเ้ หมาะสมกับพน้ื ที่ของงาน วงขัดที่ไดจ้ ะมขี นาดเลก็

รูปท่ี 5.26 เคร่อื งขัดแป้นเหล่ยี ม
ท่มี า : TEAM-B&P บริษทั โตโยตา้ มอเตอร์(ประเทศไทย) จำกดั , 2540

- เครื่องขดั 2 จงั หวะ (Double Action Sander) เครือ่ งขดั ชนิดนี้มีลักษณะการหมุน
ของแป้นรองขดั จะเป็นการหมนุ แบบสนั่ เปน็ วงเลก็ ๆ โดยหมุนตอ่ เนื่องรอบตัวมนั เอง เครอ่ื งขัดชนิดนี้จะเป็น
การรวมลักษณะการหมุนของเครื่องขัดแป้นเหลี่ยม และเครื่องขัด 1 จังหวะจะมีแป้นรองขัดอยู่ 2 แบบ
คือ แบบแข็งและแบบอ่อน โดยชนิดแป้นรองขัดแบบแข็งใช้สำหรับการขัดแต่งผิวสีโป๊วและขัดแต่งผิวหน้า
ใหเ้ รยี บส่วนแปน้ รองขัดแบบอ่อนจะใช้สำหรับการขดั เตรียมผิวหน้าของสีก่อนพ่นสที บั หน้าและวงขัดที่ได้จะ
มีขนาดปานกลาง

รูปท่ี 5.27 เครอื่ งขัด 2 จงั หวะ
ท่ีมา : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยตา้ มอเตอร์(ประเทศไทย) จำกัด, 2540

24

1.2.2.6 แท่งรองขัด (Hand Block) ใช้ร่วมกับกระดาษทรายและทำการขัดด้วยมือ
แท่งรองขัดมีหลากหลายขนาด รูปร่างและทำมาจากหลายวัตถุ สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับรูปร่างและ
พื้นที่ทที่ ำการขดั

รูปท่ี 5.28 แทง่ รองขัด
ทมี่ า : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540
1.2.2.7 บรรทัดเหล็ก (Steel Ruler) ใช้สำหรับตรวจวัดความสูงต่ำของผวิ งานซ่อมเพือ่ เทยี บ
กบั ผวิ ขา้ งเคยี ง

รูปท่ี 5.29 บรรทดั เหล็ก
ทม่ี า : 98stationery [online] : เขา้ ถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://www.98stationery.com/productdetail.php?p_pro_id=296
1.2.2.8. สายลม (Wind) ใชต้ ่อลมในระบบเข้ากบั เครื่องมือหรืออุปกรณล์ มเพ่ือใช้งาน

รปู ท่ี 5.30 สายลม
ทม่ี า : คลงั ไฟฟา้ ขอนแกน่ [online] : เขา้ ถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก http://www.klungfaifakkn.com/index.php?route=product/product&product_id=1100

25

1.2.2.9. ถาดใส่เคร่ืองมอื ใชใ้ สว่ ัสดุ เคร่อื งมอื อุปกรณ์ เพ่ือนำไปใชใ้ นระหว่างการปฏิบัติงาน
ความเป็นระเบยี บเรียบร้อยและความปลอดภยั ในการทำงาน

รูปที่ 5.31 ถาดใสเ่ ครื่องมือ
ท่ีมา : นิวทรพิ ลสั [online] : เข้าถงึ 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://www.npi.co.th/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8
%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%
B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-178922-15.html
- ตหู้ รือชั้นวางเคร่ืองมือ ใช้สำหรบั จัดวางวัสดุ เคร่อื งมืออปุ กรณ์ ท่ีเตรยี มไว้ก่อนการนำไปใช้งาน

รปู ท่ี 5.32 ตหู้ รอื ช้นั วางเครอ่ื งมือ
ท่ีมา : ไทวสั ดุ [online] : เข้าถึง 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://www.thaiwatsadu.com/th/product-GIANT-KINGKONG-CF90251

26

2. ขนั้ ตอนการเตรยี มพืน้ ผวิ งาน (Methods of Surface Preparation)
2.1. ขัน้ ตอนการเตรยี มผวิ งานประกอบด้วยรายละเอยี ดด้านล่างตอ่ ไปนี้

2.2. วสั ดุเตรยี มผวิ งาน
2.2.1. รองพน้ื Primer ป้องกนั สนมิ เพิม่ การยดึ เกาะ
2.2.2. สโี ป๊วสี เพม่ิ การยดึ เกาะเตมิ รอยยุบ
2.2.3. สีรองพน้ื SURFACER การเติมแต่งผวิ ปอ้ งกันการดูดซึม เพ่ิมการยึดเกาะ

2.3. ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติก่อนการโป๊วสขี องการเตรียมพ้นื ล่างในบรเิ วณทเ่ี สียหาย
2.3.1. การตรวจสอบผิวสี
2.3.2. กำหนดขอบเขตความเสียหาย
2.3.3. ซอ่ มรอยนนู บนผิวงาน
2.3.4. ขดั ลอกผิวสี
2.3.5. การขดั ลบขอบผวิ สี
2.3.6. ทำความสะอาดและขจัดคราบไขมนั
2.3.7. การพ่นสรี องพืน้ Primer (ทำการพ่นเฉพาะผลติ ภณั ฑ์สีโป๊วที่ไม่สารยึดเกาะโลหะ)
2.3.8. ข้ันตอนการโป๊วสี

27

2.3.1. การตรวจสอบผิวสี (IDENTIFYING PAINT) การตรวจสอบชนิดของผิวสีที่จะซ่อม
คือ จุดสำคัญจุดหนึ่งในขั้นตอนการพ่นสี ถ้ามีการตรวจสอบชนิดของผิวสีไม่ถูกต้องจะทำให้เกิดปัญหา
ตามหลงั เม่ือพน่ สีทับหนา้ ลงไป ตัวอยา่ ง เช่น ถา้ ผวิ สีบริเวณดงั กล่าวไดร้ ับการซ่อมจากอภู่ ายนอกมาก่อนด้วย
สีแลคเกอร์แห้งเร็ว เมื่อมีการซ่อมครั้งต่อมาที่จุดเดียวกันแต่พ่นสีชนิดแหง้ ช้า เช่น สีพื้นหรือสีทับหน้าคลมุ
ลงไปบนชั้นสีดังกลา่ วทินเนอร์ในชัน้ สีที่พ่นใหม่และทะลุผา่ นเข้าไปที่ชั้นสีแลคเกอร์แหง้ เร็วด้านลา่ งและเกิด
การกัดผิวสี ผลที่ตามมาคือจะเกิดการย่น (การหดตัว) ขึ้นบนชั้นสีใหม่ที่พ่นทับลงไป เพื่อป้องกันปัญหา
ดังกล่าวจึงต้องทำการตรวจสอบผิวสีเดิมทุกครั้งก่อนที่จะปฏิบัติการเตรียมพื้นล่าง โดยทั่วไปแล้วเม่ือเอาผา้
ชุบด้วยทินเนอร์แล้วนำไปเช็ดบนผิวสีอบหรือสียูรีเทน สีจะไม่หลุดออกแต่ถ้าเป็นสีแห้งเร็วชนิดแลคเกอร์
เมื่อนำผ้าไปเช็ดสีจะเปื้อนติดผ้าท่ีเช็ดออกมาอย่างเห็นได้ชัด แต่ถึงแม้ว่าสีอบและสียูรีเทนจะมีการต้านทาน
และคงทนต่อสารละลายได้ดีแต่ถ้าได้รับบ่อยๆ โดยไม่มีการป้องกันหรือการแก้ไขที่เหมาะสมสภาพผิวสี
กอ็ าจจะเสื่อมหรือจางลงได้

รูปที่ 5.33 การตรวจสอบผิวสี
ที่มา : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540

2.3.2. การกำหนดขอบเขตความเสียหาย (Assessing the Extent of Damage) การกำหนด
ขอบเขตความเสยี หายด้วยการมองและการลูบสมั ผัสจากนนั้ วางแผนการซอ่ มบริเวณพืน้ ท่เี สยี หาย

2.3.2.1. การกำหนดขอบเขตด้วยการมอง ทดสอบโดยอาศัยแสงของหลอดฟลูออเรสเซนต์
ที่สะท้อนบนผิวงานเมื่อกำหนดขอบเขตความเสียหายและขนาดพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบสิ่งที่สำคัญอย่างย่งิ
สำหรับขั้นตอนนี้คือต้องตรวจสอบขอบเขตพื้นที่เสียหายให้ทั่วที่สุดที่กล่าวเช่นนี้เพราะเป็นการยาก
ทีจ่ ะประเมินขอบเขตความเสียหายได้อยา่ งถูกต้อง ถา้ สภาพความเสยี หายน้ันเร่ิมกระทบไปถึงผิวสีโดยรอบ
ดังนั้นในการเสียรูปเล็กน้อยจะเห็นได้โดยกระทบไปถึงผิวสีโดยรอบ ดังนั้นในการเสียรูปเล็กน้อยจะเห็นได้
โดยง่ายเพยี งแตเ่ อยี งหน้ามองในแนวระนาบกบั ผวิ งานเทา่ น้ัน

หลอดฟลอู อเรสเซนต์

รูปท่ี 5.34 การกำหนดขอบเขตดว้ ยการมอง
ท่ีมา : TEAM-B&P บริษัท โตโยตา้ มอเตอร์(ประเทศไทย) จำกัด, 2540

28

2.3.2.2. การกำหนดขอบเขตดว้ ยการลบู สัมผสั สวมถุงมอื และลบู สัมผสั พ้นื ท่ีเสียหายจากทุก
ทิศทางตามรูปท่ี 5.35 ในการลบู ใหล้ บู โดยไมต่ อ้ งออกแรงกดพร้อมท้ังอาศยั ความรู้สึกจากฝ่ามือที่ลบู
สัมผสั ผิวงาน ประเมนิ ขนาดความเสียหายซึง่ จากวธิ นี ีจ้ ะทำให้เราตรวจสอบความเสยี หายได้อยา่ งแม่นยำ
และถูกตอ้ ง

ลูบสัมผสั ยาก ลบู สัมผสั ง่าย

รปู ที่ 5.35 การกำหนดขอบเขตดว้ ยการลบู สัมผสั
ท่มี า : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540

2.3.2.3 การกำหนดขอบเขตความเสียหายด้วยบรรทัดเหล็ก นำบรรทัดเหล็กวางทาบลงบน
พื้นที่ปกติของชิ้นส่วนตัวถังในด้านตรงข้ามและตรวจระยะห่างระหว่างผิวด้านตัวถังและบรรทัดเหล็ก
จากนั้นนำบรรทัดเหล็กไปวางทาบอีกครั้งบนพื้นที่เสียหายของชิ้นส่วนตัวรถอีกด้านหนึ่งและ
ตรวจความแตกตา่ งของระยะห่างระหวา่ งพ้ืนที่เสียหายและพ้นื ท่ปี กติ

รปู ที่ 5.36 การกำหนดขอบเขตความเสียหายดว้ ยบรรทดั เหล็ก
ท่มี า : ณกร แซห่ ลี (2563)

29

2.3.3. การลอกผิวสี (Removing the Paint) ถ้าผิวชิ้นงานได้รับการกระแทกมักมีแนวโน้ม

ที่จะเกิดความกระทบกระเทือนระหว่างชั้นสีและชิ้นงานตัวถังรถยนต์ ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องลอกสี
ออกเพื่อป้องกันปัญหาการลอกกะเทาะของผิวสีในภายหลัง โดยการขัดลอกผิวสีจากพื้นที่เสียหาย
จะใช้กระดาษทรายเบอร์ 60 - 80 ดว้ ยเคร่อื งขัด 1 จงั หวะ

รปู ท่ี 5.37 การลอกผวิ สี
ทม่ี า : TEAM-B&P บริษัท โตโยต้ามอเตอร์(ประเทศไทย) จำกัด, 2540
2.3.4 การขัดลบขอบผิวสี (Featheredging) จุดประสงค์ในการทำขั้นตอนนี้ก็เพื่อขัดลบขอบผิวสี
ที่หนาให้ลาดกว้างและเรียบลง ขั้นตอนการปฏิบัติจะเปน็ ไปตามภาพอธิบายด้านล่าง ซึ่งเราเรียกขั้นตอนน้ี
ว่าการขัดลบขอบผิวสี ในกรณีที่เราทำน้อยเกนิ ไปหรอื ไม่ได้ทำจะทำใหเ้ กิดแนวขอบการซ่อมผิวสีข้ึนภายหลังการ
พ่นสที บั หนา้

รูปท่ี 5.38 การขดั ลบขอบผวิ สี
ทมี่ า : TEAM-B&P บริษัท โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540

ท่ีมา : ณกร แซห่ ลี (2563)

30

2.3.5 การทำความสะอาดและขจดั คราบไขมัน (Cleaning and Degreasing)
2.3.5.1 การทำความสะอาด ใช้ปนื เป่าลมเป่าฝุน่ ละอองและเศษผงสีออกจากผวิ งาน

รูปที่ 5.39 การทำความสะอาดโดยใชป้ ืนเป่าลม
ทีม่ า : TEAM-B&P บริษัท โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540

2.3.5.2 การขจดั คราบไขมัน ใชผ้ ้าสะอาดชบุ น้ำยาขจัดคราบไขมนั และเช็ดผวิ งานใหท้ วั่
จากนน้ั ใชผ้ ้าสะอาดเชด็ ผิวงานซำ้ อกี คร้ังหน่งึ เพ่อื ขจัดคราบไขมันและสง่ิ สกปรกทีย่ งั หลงเหลอื บนผวิ งานให้
หมดไปในขน้ั ตอนน้ีถ้ายังมเี ศษส่ิงสกปรกหรือคราบไขมนั หลงเหลือติดอยู่บนผิวงานเม่อื ถึงขัน้ ตอนการพ่นสี
อาจจะทำใหเ้ กิดปัญหาการพองหรือการลอกของผวิ สีได้

ผ้าชุบน้ำยาขจดั คราบ
คราบ
ไขมนั

ผา้ แหง้

รปู ที่ 5.40 การขจดั คราบไขมนั
ท่ีมา : TEAM-B&P บรษิ ัท โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกดั , 2540

31

3. ขนั้ ตอนการโป๊วสี (Putty) ดงั ตอ่ ไปน้ี
3.1 การกำหนดปริมาณสีโป๊ว (Checking the Coverage of Polyester Putty) เพื่อเตรียมปริมาณ

สีโป๊วได้ถูกต้องและเหมาะสมกับบริเวณที่เสียหาย แต่มีข้อที่ควรระวังคือ อย่าแตะสัมผัสกับผิวงาน
เพอ่ื ป้องกันไม่ให้ฝนุ่ ละอองหรือคราบไขมันจากมือเราไปทำความสกปรกกับผวิ งานท่ีได้ทำความสะอาดแลว้

3.2 การผสมสีโป๊ว (Mixing Polyester Putty) การตักสีโป๊วเมื่อเก็บไว้เป็นเวลานาน บ่อยครั้งที่เราจะ
พบว่าสารละลายเรซิ่นและผงสีในสีโป๊วแยกตัวออกจากกัน สีโป๊วในลักษณะดังกล่าวจะไม่สามารถนำไปใช้
งานได้ ดังนั้นก่อนที่จะนำไปใช้งานจึงต้องทำให้ส่วนผสมของสีโป๊วทั้งหมดรวมเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน
ก่อนจะนำไปใช้งาน เช่นเดียวกับสารช่วยแข็งในหลอดจะต้องทำการคลุกเคล้าส่วนผสมในหลอดให้เข้ากัน
ก่อนนำไปใชเ้ สมอ

รปู ท่ี 5.41 การผสมสโี ป๊ว
ที่มา : TEAM-B&P บริษทั โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540
3.3 การผสมสีโป๊วใช้มีดโป๊วคลุกส่วนผสมอย่างระมัดระวัง อย่าให้เกิดฟองอากาศแทรกเข้าไปในเนื้อสี
โป๊ว การตักสีโป๊วผสมสีตามจำนวนที่กำหนดจากนั้นบีบสารช่วยแข็งตามอัตราส่วนที่เหมาะสมในครั้งแรก
สไม่ควรผสมสีโป๊วในปริมาณที่มากเกินไปแม้จะทำการโป๊วในบริเวณกว้าง แต่ครั้งแรกต้องโป๊วให้ปริมาณของ
สีโปว๊ เทา่ กับขอบแผลในครง้ั ต่อไปจึงเพมิ่ ปริมาณสโี ปว๊ ให้มากข้ึน

รปู ที่ 5.42 การผสมสโี ปว๊ ใช้มีดโปว๊ คลุกสว่ นผสม
ท่ีมา : ณกร แซ่หลี (2563)

32

3.4 การโป๊วสี ตอ้ งกำหนดการทิศทางและวิธีการโปว๊ สตี ามตำแหน่งและรปู ทรงของพืน้ ท่ีที่จะทำการ
ซอ่ มโดยมวี ิธกี ารโป๊วพ้นื ฐาน ดงั ตอ่ ไปน้ี

3.4.1 การโปว๊ คร้งั แรก ให้ถือมีดโปว๊ อยใู่ นตำแหน่งเกือบตั้งฉากกบั ผวิ งานและทำการปาดสโี ป๊วลง
ไปเป็นช้นั บางก่อนเพ่อื ให้สีโป๊วเข้าไปเตมิ รอยขรุขระเล็กๆ และรอยรูเข็มบนผิวงานอีกทัง้ เพือ่ เสริมความยึด
เกาะชั้นสี

รูปที่ 5.43 การโปว๊ เท่ยี วแรก
ท่มี า : TEAM-B&P บรษิ ทั โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540

ท่ีมา : ณกร แซ่หลี (2563)

3.4.2 การโป๊วครั้งที่สองและสาม ควรถือมีดโป๊วทำมุมผิวงานประมาณ 35 - 45 องศา
โดยการโป๊วให้หนากว่าเที่ยวแรก และใช้ปริมาณสีโป๊วมากขึ้นให้กินบริเวณกว้างขึ้นเรื่อย ๆ โดยพยายาม
ปาดสโี ปว๊ ใหบ้ ริเวณขอบผิวงาน ใหบ้ างที่สดุ

รูปที่ 5.44 การโปว๊ คร้ังที่สองและสาม
ทีม่ า : ณกร แซห่ ลี (2563)

33

3.4.3 ขน้ั ตอนสุดทา้ ย ถือมดี โปว๊ ใหท้ ำมุมเอยี งเกือบจะเปน็ แนวราบมากท่สี ดุ และโปว๊ แต่งผวิ ให้
ใกล้เคียงกบั ผิวปกตมิ ากที่สดุ

รูปท่ี 5.45 การโป๊วข้ันตอนสุดทา้ ย
ทีม่ า : ณกร แซ่หลี (2563)

ทม่ี า : TEAM-B&P บรษิ ทั โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540
3.4.5 การอบสีโป๊ว (Drying Polyester Putty) สีโป๊วที่โปว๊ เสร็จใหม่ จะมีความร้อนเกิดในผิวงาน
จากการทำปฏิกิริยาระหว่างสีโป๊วและฮาร์ดเดนเนอร์ เพื่อให้ผิวสีโป๊วแห้งตัวได้เร็วยิ่งขึ้น จึงมีการเสริม
ปฏิกิริยาการเกิดความร้อนในผิวสโี ป๊วข้ึน โดยปกติสีโปว๊ จะแห้งตัวพร้อมทำการขัดไดใ้ นระยะเวลา 20 -30
นาที หลังการโป๊ว (แห้งตัวด้วยอากาศ) การเกิดปฏิกิริยาเคมีในผิวสีโป๊วจะเกิดขึ้นช้าหรือต่ำลงภายใต้
อุณหภูมิตำ่ หรือความชืน้ ในอากาศสูง ซ่งึ จำเป็นตอ้ งใชเ้ วลาการแห้งตัวท่ียาวขึ้นเพ่ือเป็นการเร่งข้ันตอนการ
แหง้ ตวั จงึ ได้คิดวธิ กี ารเพิ่มความรอ้ นข้นึ เช่น ใช้แผงอินฟราเรดหรือตัวเปา่ ลมรอ้ นช่วยเร่งการแห้งตวั

รูปที่ 5.46 การอบสีโปว๊
ที่มา : TEAM-B&P บริษัท โตโยต้ามอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกดั , 2540

34

4. การขัดสีโป๊ว (Sanding Polyester Putty) หลังจากผิวสีโป๊วแห้งตัวสมบูรณ์แล้ว การขจัดจุดนูนผิวสีโป๊
วสามารถทำได้โดยใชเ้ ครื่องขัดหรือตัวรองขัด แม้ว่าโดยทัว่ ไปแล้วจะมีการใชเ้ ครือ่ งขัด 2 จังหวะเหมอื นกนั
แตร่ ายละเอียดในสว่ นน้ีจะใชเ้ ครอ่ื งขดั 2 จังหวะ ซ่ึงเปน็ เคร่อื งขัดทใี่ ช้กนั ทว่ั ไป

4.1 การทาผงถ่านก่อนการขัดสีโปว๊ โดยทาผงถ่านใหท้ ่วั บริเวณสีโปว๊ ทจ่ี ะทำการขัด ซ่งึ การทาผงถา่ น
จะทำการทาทุกครัง้ ทมี่ ีการเปลีย่ นความละเอยี ดของกระดาษทรายในการขัด

รปู ท่ี 5.47 การทาผงถ่านก่อนการขดั สีโป๊ว
ทม่ี า : lazada [online] : เขา้ ถึง 4 ก.พ. 2563 .
จาก https://www.lazada.co.th/products/3m-05860-refill-3m-dry-guide-coat-cartridge-

i100843751.html
ทมี่ า : ณกร แซ่หลี (2563)
4.2 ตดิ กระดาษเบอร์ 80 เขา้ กับเครื่องขัด ขัดพ้นื ท่ีทั้งหมดโดยการเดนิ เครื่องขัดจากหน้าไปหลงั ด้าน
หน่ึงไปอีกดา้ นหนงึ่ และแนวทะแยงมุมท้งั หมด

รปู ท่ี 5.48 การขัดสีโป๊วดว้ ยกระดาษเบอร์ 80
ทีม่ า : TEAM-B&P บริษทั โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกัด, 2540

35
4.3 ติดกระดาษทรายเบอร์ 120 กับยางรองขัด ขัดผิวสีโป๊วอย่างระมัดระวัง ขณะที่ทำการขัดตรวจ
สภาพผวิ งานโดยการสัมผัสผวิ งานจนเรยี บแต่สูงกวา่ ผวิ ระดับเล็กน้อยโดยทำรูปแบบเดยี วกันกับการขัดด้วย
กระดาษทรายเบอร์ 180

กระดาษทรายเบอร์ 180

รปู ท่ี 5.49 การขัดสีโปว๊ ดว้ ยกระดาษ เบอร์ 120 และ180
ท่มี า : TEAM-B&P บริษทั โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกดั , 2540
4.4 ตดิ กระดาษทราย เบอร์ 240 บนยางรองขดั ในข้ันตอนนจ้ี ะต้องขัดบริเวณขอบด้านนอกของผวิ สโี ปว๊
เพอ่ื ใหร้ ะดับพื้นผวิ ของสีโปว๊ มคี วามเรียบและกลมกลนื เท่ากับพน้ื สีเดิม

รปู ที่ 5.50 การขดั สีโปว๊ ด้วยกระดาษเบอร์ 240
ที่มา : ณกร แซ่หลี (2563)

36
4.5. การลบรอยกระดาษทราย (Removing Paper Scratches) ติดกระดาษทรายเบอร์ 320
บนยางรองขัดและขัดลบรอยกระดาษทรายหยาบบนผิวสโี ปว๊ ใหท้ ่ัวผิวงาน

รปู ที่ 5.51 การลบรอยกระดาษทราย
ที่มา : ณกร แซ่หลี (2563)

5. การตรวจสอบผิวงาน Surface Inspection
5.1 ตรวจสภาพความเรียบโดยการลูบสัมผสั

รปู ที่ 5.52 การตรวจสภาพความเรียบโดยการสมั ผสั
ทม่ี า : ณกร แซ่หลี (2563)

5.2 ตรวจสภาพโดยการใช้ไม้บรรทดั ตรวจวัดความเรียบ

37

รูปท่ี 5.53 การตรวจสภาพความเรียบโดยการใชไ้ ม้บรรทดั ตรวจวัด
ท่มี า : ณกร แซ่หลี (2563)

5.3 การตรวจสอบด้วยสายตา ใช้กระบอกฉดี นำ้ ยาขจดั คราบ ฉีดคลุมผวิ งานทง้ั หมดจนเปียกเปน็ เนอื้
เดียวกันเหมอื นเรือนกระจก โดยผตู้ รวจสอบมองจากดา้ นข้าง ทำมมุ 30 องศา สงั เกตความราบเรยี บบนเงา
ของช้ินงาน

รปู ที่ 4.54 การตรวจสอบดว้ ยสายตา
ทม่ี า : ณกร แซ่หลี (2563)

38

5.4 เชด็ ทำความสะอาดช้นิ งาน

รปู ที่ 5.55 เช็ดทำความสะอาดช้ินงาน

ทีม่ า : TEAM-B&P บริษทั โตโยตา้ มอเตอร(์ ประเทศไทย) จำกดั , 2540
ทม่ี า : ณกร แซ่หลี (2563)

39

แบบฝกึ หัด

หนว่ ยท่ี 5 การโปว๊ สแี ละการขัดสีโป๊ว

คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรียนทำแบบฝกึ หัดต่อไปน้ีดว้ ยตนเอง ด้วยความซ่อื สัตย์
ตอนที่ 1 ใหท้ ำเครื่องหมายถูก ()หน้าข้อความทถ่ี ูกต้องและทำเครอ่ื งหมายผิด () หนา้ ข้อความทีผ่ ดิ

………….1. การเตรียมผิวงานก่อนการโป๊วสีควรใช้เคร่ืองขัด 1 จงั หวะกับกระดาษทราย เบอร์ 60 -
80 ในการเปิดปากแผล

………….2. วัตถปุ ระสงค์ของการโปว๊ สี คือ การปรับสภาพผิวงานใหม้ รี ปู ทรงและความเรียบเหมือนชิน้ งานเดิม
………….3. การเตรยี มผวิ งานก่อนการโป๊วสี ทำเพ่ือใหส้ ีโปว๊ ผสมเขา้ กันได้ดมี ากยง่ิ ขน้ึ
………….4. Scraper เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ในการโปว๊ สี
………….5. อัตราสว่ นผสมของสีโป๊วกับสารช่วยแขง็ คอื 100 : 5
………….6. การผสมสโี ปว๊ กบั สารช่วยแขง็ มากเกินไปจะทำการขัดสโี ป๊วไมส่ ามารถขัดใหผ้ ิวงานเรยี บได้
………….7. การตรวจสอบผวิ สี เปน็ การตรวจสอบประเภทของสเี ฉพาะสี 1 องคป์ ระกอบเทา่ น้นั
………….8. การกำหนดขอบเขตความเสียหายของช้ินงาน มี 3 วธิ ี คือ การมอง การสมั ผสั และการวัด
………….9. การใชก้ ระดาษทรายระบบแห้งให้เปล่ียนความละเอียดของหมายเลขกระดาษทราย

ในแต่ละข้ันตอนไมเ่ กนิ 60 เบอร์
………..10. กระดาษทรายหมายเลขน้อย หมายถึง กระดาษทรายที่มีความละเอยี ด
………..11. การขัดสีโปว๊ ไม่จำเป็นตอ้ งขัดเรียงหมายเลขกระดาษทรายตามกำหนดเพราะไม่มีผล

อะไรเกดิ ข้นึ กบั ชนิ้ งาน
………..12. การแหง้ ตัวของสโี ป๊วโดยปกตกิ อ่ นการขดั สีโป๊วนนั้ ใช้เวลาประมาณ 10 - 15 นาที
………..13. การโปว๊ สีควรโปว๊ ครง้ั แรกควรโป๊วกลบรอยแผลทันที เพื่อปรบั แตง่ ผิวงานและรปู ทรง

กลบั สภาพช้ินงานเดมิ
………..14. การทำความสะอาดและการกำจัดคราบไขมันควรทำหลังการโปว๊ สีทกุ คร้งั
………..15. การขัดผิวงานครั้งสุดทา้ ยก่อนพ่นสรี องพ้นื จะต้องขัดดว้ ยกระดาษทราย เบอร์ 600

40
ตอนท่ี 2 จากรปู ที่ 5.56 จงบอกชอื่ วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือในการโปว๊ สีและการขดั สโี ปว๊

รปู ท่ี 5.56 วสั ดุ อปุ กรณ์และเครอื่ งมือในการโป๊วสีและการขดั สโี ป๊ว
1. ......................................................................... 2. .............................................................................
3. ......................................................................... 4. .............................................................................
5. ......................................................................... 6. .............................................................................
7. ......................................................................... 8. .............................................................................
9. ....................................................................... 10. ............................................................................

41

ใบงานที่ 1 หน่วยท่ี 5

ชอ่ื วิชา งานตวั ถังและพน่ สีรถยนต์ 2101-2111 จำนวน 7
ชอ่ื หน่วย การโป๊วสีและการขัดสโี ป๊ว ชม./สปั ดาห์

ชือ่ เรอื่ งและงาน งานเตรยี มพ้นื ผวิ
1. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1.1 นกั เรียนสามารถอธบิ ายขั้นตอนการเตรยี มพ้ืนผวิ งานได้
1.2 นกั เรียนสามารถเตรียมพื้นผวิ งานได้ตามมาตรฐาน
1.3 เพอ่ื ให้นักเรยี นมีกิจนิสัยในการทำงาน รบั ผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภยั และรักษา
ส่ิงแวดล้อม

2. เครื่องมือและอุปกรณ์ 1 เครอ่ื ง รายการ 1 ตู้
รายการ 1 ชุด 1 ตวั
2.9 ตูเ้ คร่ืองมือ 1 เส้น
2.1 เครอ่ื งอดั อากาศ 1 ชน้ิ 2.10 ปืนเป่าลม 1 มว้ น
2.2 อุปกรณ์ควบคุมคุณภาพและ 1 เครื่อง 2.11 สายลม 1 กระป๋อง
แรงดนั ลม 1 เครอ่ื ง 2.12 กระดาษเชด็ คราบ 1 กระป๋อง
2.3 ช้ินงานประตพู ร้อมติดตั้งบนแท่น 1 ชดุ 2.13 ทนิ เนอร์ 1 ด้าม
2.4 เครื่องขัด 1 จังหวะ 2.14 น้ำยาขจดั คราบ 1 ดา้ ม
2.5 เครอ่ื งขัด 2 จงั หวะ 1 ใบ 2.15 ไมบ้ รรทดั 1 ผืน
2.6 กระดาษทรายแห้ง เบอร์ 80, 120,180 1 ชุด 2.16 ดนิ สอเขยี นช้ินงาน
และ 240 (อย่างละ 1 แผ่น) 2.17 ผ้าเช็ดทำความสะอาด
2.7 ถาด
2.8 อุปกรณ์ปอ้ งกันความปลอดภัย
(แว่นตา,ถงุ มือผ้า,ถุงมือยาง,หมวก,ปล๊ักอดุ ห,ู
ผ้าปิดจมกู ,ชดุ ปฏบิ ตั งิ าน,รองเท้านิรภยั และผ้า
กนั เปือ้ น)

42

คำช้ีแจง : ให้นกั เรยี นปฏิบัตติ ามขัน้ ตอนในใบงานท่ี 1

3. ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน รายละเอียดการปฏบิ ัติ
ภาพแสดงการปฏบิ ตั ิ
1. แต่งกายและสวมใส่อุปกรณ์ความปลอดภยั
1.1 แว่นตาใส
1.2 ถงุ มอื ผ้าและถุงมือปอ้ งกันสารเคมี
1.3 ชุดปฏิบตั งิ าน
1.4 รองเท้าเซฟต้ี
1.5 หมวก
1.6 ผ้าปดิ จมกู
1.7 ปลกั๊ อดุ หู

2. การตรวสภาพพ้ืนผวิ สี
2.1 การทำความสะอาดพื้นผิว

2.1.1 เปา่ ลมพื้นผิว

ภาพแสดงการปฏิบัติ 43

รายละเอยี ดการปฏบิ ัติ
2.1.2 เช็ดถพู นื้ ผวิ ด้วยผา้ สะอาด

2.1.3 เชด็ ถพู ืน้ ผวิ ดว้ ยน้ำยาขจดั คราบไขมนั

2.2 ตรวจสภาพดว้ ยสายตาและสัมผัสบน
พื้นผวิ

2.2.1 ดูการสะท้อนของแสงบนพนื้ ผิว

2.2.2 ลบู สัมผัสพ้ืนผวิ ดว้ ยมือ

ภาพแสดงการปฏบิ ัติ 44

รายละเอียดการปฏิบตั ิ
2.2.3 ทำเครื่องหมายบนพนื้ ผิว

2.3 ตรวจสภาพดว้ ยสารละลาย
2.3.1 เลือกใช้สารละลายในการตรวจสอบ

2.3.2 เชด็ ถพู ืน้ ผวิ ด้วยสารละลาย

2.3 การเตรยี มพื้นผิวงาน
2.3.1 ขดั ลอกผวิ สดี ว้ ยเคร่ืองขดั 1 จังหวะ

(Single Action Sander)


Click to View FlipBook Version