The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sataworn.chai, 2021-09-18 23:47:21

หน่วยที่1 เรื่อง ภาพรวมเครือข่าย โทรคมนาคม (Telecommunications network overview)

ภาพรวมเครือข่ายโทรคมนาคม (Telecommunications network overview)

ใบความรู้หน่วยท่ี 1
เรอ่ื ง ภาพรวมเครือขา่ ย โทรคมนาคม (Telecommunications network overview)

ภาพรวมเครอื ขา่ ย โทรคมนาคม(Telecommunications network overview)

เน้ือหา
1. การสื่อสารโทรคมนาคม
2. องคป์ ระกอบของระบบสอื่ สารโทรคมนาคม

1.การสื่อสารโทรคมนาคม(Telecommunications)
คาวา่ “การสือ่ สารขอ้ มลู ” และ “การสือ่ สารโทรคมนาคม” มกั นามาใช้รว่ มกนั เสมอ โดยคาว่า “Tele”

มาจากรากศพั ทใ์ นภาษากรกี ซง่ึ ตรงกบั คาภาษาองั กฤษวา่ “far” ท่หี มายความว่า “ไกล” สว่ นคาว่า
“communication” หมายถงึ การส่ือสาร ดังนน้ั Telecommunication ซ่งึ ต้องับภาษาไทยว่า “การสอ่ื สาร
โทรคมนาคม” จึงหมายถึงการสอ่ื สารระยะไกล โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ การแลกเปล่ยี นสารสนเทศโทรคมนาคม

(Telecommunications) หมายถึง การส่ือสารข้อมูลระยะทางไกลในรูปแบบสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
ปัจจุบนั การถา่ ยทอดสญั ญาณส่วนใหญ่อยู่ในรปู แบบดิจติ อล โดยใช้คอมพิวเตอรใ์ นการส่งข้อมูลจากสถานทห่ี น่ึงไป
ยังอีกสถานท่หี นึ่ง ประกอบดว้ ยฮาร์ดแวร์และซอฟทแ์ วร์จานวนหนึง่ ทสี่ ามารถทางานรว่ มกันและถกู จดั ไว้สาหรบั การ
ส่ือสารข้อมูลจากสถานที่แหง่ หนง่ึ ไปยงั สถานท่ีอีกแหง่ หน่ึง ซ่ึงข้อมูลทส่ี ง่ ผา่ นในระบบโทรคมนาคมอาจเปน็ ได้ทั้ง
ข้อความ เสียง ภาพ และวีดีทัศน์ ที่สามารถใช้สายโทรศัพท์หรือคล่ืนวิทยุเป็นส่ือกลางส่งข้อมูลเหล่านี้ไปยัง
จดุ หมายลายทางได้ การส่งขอ้ มลู ผา่ นสายโทรศพั ท์ นบั ได้วา่ เปน็ การใชป้ ระโยชน์จากโครงข่ายโทรศพั ทส์ าธารณะที่
มอี ยตู่ ามพ้นื ท่ที วั่ ประเทศใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ และนามาใชเ้ พื่อการส่งขอ้ มลู ระยะไกลได้อย่างดี

การสอ่ื สารโทรคมนาคมเกีย่ วข้องกบั การใช้งานเคร่อื งสง่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronics Transmitters)
เชน่ โทรศพั ท์ โทรทศั น์ วทิ ยุ หรือคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ ระบบการสอ่ื สารโทรคมนาคมในยุคปจั จบุ ันถือวา่ มีบทบาท
สาคญั ต่อการพัฒนาประเทศชาตเิ ป็นอยา่ งมาก โดยจะพบวา่ ประเทศที่พฒั นาแลว้ ล้วนแตม่ รี ะบบการสอื่ สาร

โทรคมนาคมที่กา้ วหนา้ และทนั สมยั ที่มีส่วนสาคญั การผลักต้นธุรกจิ ต่าง ๆ ให้เกดิ ขนึ้ ซงึ่ ส่งผลตอ่ การพฒั นา
ระบบเศรษฐกจิ โลกในยุคน้ีที่เดียว แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม การสือ่ สารโทรคมนาคมจะมคี วามหมายท่กี ว้าง และควบคุม
มากกว่าการส่ือสารข้อมูล โดยอาจก้าวอีกนัยหน่ึงได้ว่า การส่ือสารข้อมูลเป็นส่วยย่อยส่วนหนึ่งการส่ือสาร
โทรคมนาคมกว็ า่ ได้

2. องค์ประกอบของระบบโทรคมนาคม
ระบบโทรคมนาคม (Telecommunications Systems) มรี ายละเอียดของโครงสร้างส่วนประกอบ

ดงั นี้

 เครอื่ งมอื คอมพิวเตอรห์ รอื เครอ่ื งมอื เปล่ยี นปรมิ าณใดใหเ้ ป็นไฟฟา้ (Transducer) เช่น โทรศพั ท์
หรอื ไมโครโฟน

 เครอ่ื งเทอรม์ ินลั สาหรบั การรบั ขอ้ มลู หรอื แสดงผลข้อมลู เชน่ เครอื่ งคอมพิวเตอรห์ รอื โทรศพั ท์

 อปุ กรณป์ ระมวลผลการส่อื สาร (Transmitter) ทาหนา้ ที่แปรรูปสญั ญาณไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกับ
ชอ่ งสญั ญาณ เชน่ โมเดม็ (Modem) มัลตเิ พลก็ เซอร์ (Multiplexer) แอมพลไิ ฟเออร์ (Amplifier)
ดาเนินการไดท้ งั้ รบั ขอ้ มูลและส่งขอ้ มูล

 ชอ่ งทางสอื่ สาร(Transmission Channel) หมายถึง การเชอ่ื มต่อรปู แบบใด ๆ เชน่ สายโทรศพั ทใ์ ย
แกว้ นาแสง สายโคแอกเซยี ล หรอื แมก้ ระทั่งสือ่ สารแบบไรส้ าย

 ซอฟต์แวรก์ ารส่ือสาร ซ่งึ ทาหน้าท่คี วบคมุ กิจกรรมการรบั ส่งขอ้ มลู และอานวยความสะดวกในการ
สือ่ สาร

2.1 องค์ประกอบข้ันพ้ืนฐานของการสอื่ สารข้อมูล

 ผ้สู ่งสาร (Transmitter) คือ สิง่ ท่ที าหนา้ ทสี่ ่งข้อมลู ในการสอ่ื สาร เชน่ ผู้พูด คอมพิวเตอร์
เครอื่ งสง่ รหสั มอส เปน็ ต้น

 ผูร้ บั สาร (Receiver) คือ สิ่งที่ทาหนา้ ทร่ี บั ข้อมูลทถี่ กู สง่ มา เชน่ ผ้ฟู งั เครอ่ื งรบั วิทยุ เปน็ ตน้

 ข้อมูล (Message) คือ สงิ่ ทผ่ี สู้ ง่ สารตอ้ งการสง่ ใหผ้ รู้ บั สาร รับทราบ เชน่ ข้อความ ประกาศ รหสั
ลบั เปน็ ตน้

 สญั ญาณบกวน (Noise) คอื ส่ิงทที่ าให้เกดิ การรบกวน ต่อระบบและข่าวสาร

 สื่อ (Medium) คอื ตวั กลางทีใ่ ช้ในการสง่ ขอ้ มลู ระหวา่ งผสู้ ง่ สารและผรู้ บั สาร เชน่ อากาศ
สายไฟฟา้ สายโทรศพั ท์ เปน็ ต้น

 โปรโตคอล (Protocol) คือ กระบวนการ วธิ ีการ ประเภท หรอื ขอ้ กาหนดตา่ งๆ ท่ตี กลงกันระหว่าง
ผู้ สง่ และผ้รู บั สารเพือ่ ใชใ้ นการ สอื่ สารขอ้ มลู เช่น การเขียนจ่าหน้าซองจดหมาย การเข้ารหสั และ
การถอดรหสั ข้อมลู การใชภ้ าษา เดียวกนั ในที่ทางานรว่ มกนั เชน่ โทรสาร วิทยุ ตดิ ตามตัว
โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ี อนิ เทอรเ์ น็ต วทิ ยุ กระจายและโทรทัศน์ Remote Control เป็นต้น

ดังนั้นพ้ืนฐานของการสอ่ื สารขอ้ มลู ทาหน้าทใี่ นการสง่ และรบั ขอ้ มูลระหวา่ งจุดสองจุด ไดแ้ ก่ ผสู้ ่งขา่ วสาร
(Sender) และ ผรู้ ับขา่ วสาร (Receiver) จะดาเนินการจัดการลาเลยี งขอ้ มลู ผ่านเส้นทางทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพท่สี ดุ
จัดการตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มลู ทจี่ ะสง่ และรบั เขา้ มา สามารถปรบั เปลี่ยนรูปแบบข้อมลู ใหท้ ง้ั สองฝ่าย
สามารถเขา้ ใจไดต้ รงกนั ซ่งึ ท่กี ลา่ วมาน้ีส่วนใหญใ่ ช้คอมพวิ เตอร์เป็นตวั จดั การ ในระบบโทรคมนาคมสว่ นใหญใ่ ช้
อปุ กรณ์ในการรบั ส่งข้อมลู ขา่ วสารตา่ งชนดิ ตา่ งยหี่ อ้ กัน แต่สามารถแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ระหวา่ งกนั ได้เพราะใช้
ชดุ คาส่งั มาตรฐานชุดเดียวกนั อยา่ งเดยี วกนั จึงจะสามารถสือ่ สารถึงกันและกันได้ หนา้ ทพี่ ืน้ ฐานของโปรโตคอล คือ

การทาความรจู้ กั กบั อปุ กรณ์ตัวอื่นทอี่ ยูก่ ฎเกณฑม์ าตรฐานในการสอ่ื สารนเี้ ราเรยี กวา่ “โปรโตคอล (Protocol)”

อปุ กรณ์แตล่ ะชนดิ ในเครือขา่ ยเดยี วกันต้องใช้โปรโตคอลในเส้นทางการถ่ายทอดข้อมูล การตกลงเง่ือนไขในการ

รบั ส่งข้อมลู การตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู การแก้ไขปญั หาขอ้ มูลทเ่ี กดิ การผิดพลาดในขณะทสี่ ง่ ออกไปและ

การแก้ปญั หาการส่อื สารขดั ขอ้ งทอ่ี าจเกิดข้นึ โปรโตคอลที่รจู้ กั กันมาก ไดแ้ ก่ โปรโตคอลในระบบเครอื ขา่ ย

อนิ เตอรเ์ นต็ เช่น Internet Protocol ; TCP/IP , IP Address ท่ีเราใชก้ นั อยทู่ ุกวนั น้ี

2.2 องค์ประกอบและหน้าทข่ี องระบบโทรคมนาคม

 ต้นกาเนดิ ขา่ วสาร (Source of Information) สว่ นนเ้ี ป็นสว่ นแรกในระบบการสอื่ สาร

โทรคมนาคม เปน็ แหลง่ ทม่ี าของข่าวสารตา่ งๆ ทผี่ สู้ ง่ ตอ้ งการทจ่ี ะ สง่ ไปยงั ผู้รบั ทป่ี ลายทาง

ตัวอย่างในระบบโทรศัพทห์ รอื ระบบวทิ ยกุ ระจาย เสยี ง สว่ นนี้ก็คือเสียงพูดของผ้พู ดู ทตี่ ้น ทาง

ซ่งึ จะถกู ไมโครโฟนเปล่ียนให้เป็นสญั ญาณไฟฟ้าที่ เหมาะสม และส่งเข้าไปในระบบ หรอื ใน

กรณีระบบการ สอ่ื สารข้อมลู (Data Communication) สว่ นน้อี าจจะเปน็ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์

หรอื Data Terminal ประเภทตา่ งๆ

 เคร่ืองส่ง (Transmitter) เคร่อื งสง่ หรอื ตัวส่งนี้ทาหนา้ ทใี่ นการแปลงหรอื เปลี่ยน

สัญญาณไฟฟ้าท่ีใชแ้ ทนข่าวสาร จากตน้ กาเนดิ ขา่ วสาร ใหเ้ ป็นสญั ญาณหรอื คลืน่

แม่เหลก็ ไฟฟ้าท่เี หมาะสมในการสง่ ตอ่ ไปยงั ปลายทาง เช่น ระบบโทรศัพท์ตวั เครอื่ งโทรศพั ท์

จะแปลงสญั ญาณไฟฟ้าที่ใชแ้ ทนเสียงพูด ให้ เปน็ สญั ญาณแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าทเ่ี หมาะสมและสง่

ตอ่ ไปยงั ปลายทาง หรือในระบบวทิ ยกุ ระจายเสยี ง สว่ นนี้ ไดแ้ ก่ เคร่อื งส่งวทิ ยุ สาหรบั ในระบบ

การสอ่ื สารข้อมลู ส่วนน้จี ะ เปน็ MODEM หรอื อปุ กรณอ์ นื่ ที่เหมาะสมในการเปล่ยี น

สญั ญาณไฟฟ้าทมี่ าจากคอมพิวเตอรห์ รอื Data Terminal เพื่อให้เปน็ สญั ญาณแมเ่ หล็กไฟฟ้าท่ี

เหมาะสมในการผา่ นระบบสื่อสญั ญาณ (Transmissions) ไปยงั ปลายทาง

 ระบบการส่งผา่ นสญั ญาณ (Transmissions) เมื่อเครอื่ งสง่ ได้เปลี่ยนหรอื แปลง

สัญญาณไฟฟ้าท่ใี ชแ้ ทนขา่ วสารต่างๆ ใหเ้ ปน็ สญั ญาณ หรอื คลื่น แม่เหล็กไฟฟา้ ที่เหมาะสมแลว้

สัญญาณกจ็ ะถูกสง่ ผ่านระบบระบบการส่งผ่านสัญญาณ เพอื่ ส่งต่อไปยงั เครื่องรับ และผรู้ บั ที่

ปลายทาง ดงั นน้ั ระบบการสง่ ผ่านสญั ญาณจงึ ถอื ได้ว่านบั เป็นส่วนทสี่ าคัญและจาเปน็ มากใน

ระบบการ ส่อื สารโทรคมนาคม เนือ่ งจากหากปราศจากระบบ การสง่ ผา่ นสญั ญาณหรอื มีระบบ

การสง่ ผ่านสัญญาณท่ีคณุ ภาพ ไม่ดแี ล้ว ระบบการสอ่ื สาร โทรคมนาคมทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพก็ไม่

สามารถจะเกิดข้นึ ได้

 เคร่ืองรบั (Receiver) ส่วนนีเ้ ปน็ สว่ นท่ที าการแปลงหรอื เปล่ียนสัญญาณหรอื คลนื่

แม่เหลก็ ไฟฟ้า ท่ีถกู สง่ ผ่าน ระบบการสง่ ผ่าน สญั ญาณจากต้นทาง เพอื่ ให้กลบั มาเปน็

สญั ญาณไฟฟา้ ท่ีใช้แทนข่าวสารทถ่ี ูก สง่ มาจากต้นทางทง้ั น้ีเพื่อส่งให้ อปุ กรณป์ ลายทางทาการ

แปลงหรอื เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าน้นั ให้ กลบั มาเปน็ ขา่ วสารที่ผรู้ บั สามารถเขา้ ใจ ความหมายได้

ในระบบโทรศพั ทส์ ว่ นน้ีกค็ ือตวั เครอ่ื ง รบั เครอื่ งโทรศพั ท์ ท่ีจะทาการเปล่ยี นสญั ญาณ

แมเ่ หล็กไฟฟา้ ทร่ี บั ไดน้ นั้ ให้เปน็ สญั ญาณไฟฟา้ ทเ่ี หมาะสมสาหรบั การสง่ ตอ่ ใหห้ ฟู งั หรอื ใน

ระบบวทิ ยุกระจายเสยี งสว่ นน้ีกค็ ือ เครอื่ งรับวิทยทุ ่ี จะแยกสญั ญาณเสียงออกจากคล่นื วทิ ยุเพอื่
ส่งต่อใหล้ าโพงสาหรบั ระบบการส่ือสารขอ้ มูล สว่ นนจี้ ะ เป็น MODEM หรอื อปุ กรณ์ทเ่ี หมาะสม
ในการเปลย่ี นสญั ญาณแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ที่รบั มานั้น ใหเ้ ป็นสญั ญาณไฟฟ้าท่ใี ช้ ขอ้ มลู ในรปู แบบที่
ถูกต้อง และเหมาะสมสาหรับการส่งต่อให้เครอ่ื ง คอมพิวเตอร์หรอื Data Terminal
 อปุ กรณป์ ลายทางและผู้รบั ท่ีปลายทาง (Destination) ระบบการสอื่ สารโทรคมนาคม
เชน่ ในระบบโทรศพั ท์ ก็คือหฟู ังทจ่ี ะเปลยี่ นสญั ญาณ ไฟฟ้าให้เป็นเสยี งพดู ทเี่ หมือนต้นทาง
และผรู้ ับท่ปี ลายทางกค็ ือผใู้ ชโ้ ทรศัพทท์ ่ปี ลายทาง ใน ระบบวทิ ยุกระจายเสยี งสว่ นนี้ คอื ลาโพง
และผรู้ บั ฟงั การรายการวทิ ยุกระจายเสยี งน้นั ส่วน ระบบการสอื่ สารขอ้ มลู นน้ั ในส่วนน้ไี ดแ้ ก่
เครือ่ งคอมพิวเตอร์ หรอื Data terminal ประเภท ตา่ งๆ
2.3 ประเภทของสัญญาณระบบโทรคมนาคม
ประเภทของขอ้ มลู สาหรบั การสอื่ สารในระบบโทรคมนาคม สามารถแยกได้เป็น 4 ประเภท คอื
 ประเภทเสยี ง เชน่ เสียงพูด เสยี งดนตรี
 ประเภทตัวอักษร เช่นอักษร ตวั เลข สญั ลกั ษณ์
 ประเภทภาพ ทั้งภาพนงิ่ และภาพเคลอ่ื นไหว
 ประเภทรวม เป็นการส่ือสารท้ังตัวอกั ขระ ภาพและเสียง
ประเภทของขอ้ มลู จาแนกตามสญั ญาณทส่ี ่งออกโดยจะมกี ารสง่ สญั ญาณข้อมลู ท้งั 4 ประเภทดา้ นบน และ
นามาแปลงเปน็ สญั ญาณไฟฟา้ ทเี่ รียกวา่ สัญญาณขอ้ มลู (Data Signal) ทาให้สามารถสง่ ผ่านสอื่ ไปไดใ้ นระยะไกลดว้ ย
ความเร็วสูง ข้อมลู จะถกู แปลงเป็นสญั ญาณขอ้ มูลได้ 2 ประเภท คือ
1. สัญญาณอนาลอ็ ก (Analog Signal) หมายถึง สญั ญาณขอ้ มลู แบบตอ่ เนื่อง มีขนาดของข้อมูลไม่
คงท่ี มีลกั ษณะเป็นเสน้ โคง้ ต่อเนื่องกันไป โดยสญั ญาณอนาลอ็ กจะถูกรบกวนใหม้ กี ารแปลความหมายผดิ พลาดไดง้ า่ ย
เชน่ สญั ญาณในสายโทรศพั ท์ เป็นต้น

ทีม่ ารูปภาพ https://sites.google.com/site/informlesson1/6-prapheth-khxng-sayyan-rabb-thorkhmnakhm

2. สญั ญาณดิจทิ ลั (Digital Signal) หมายถงึ สญั ญาณทเ่ี ก่ียวข้องกบั ขอ้ มลู แบบไมต่ อ่ เนอื่ ง มีขนาด
แนน่ อนซง่ึ จะมีการกระโดดไปมาระหวา่ งสองคา่ คือ สัญญาณสงู ทส่ี ุด และระดับสญั ญาณทรี่ ะดบั ต่าทส่ี ุด สญั ญาณนี้
เปน็ สญั ญาณทีค่ อมพวิ เตอร์ใช้ในการทางานและตดิ ตอ่ ส่อื สารกัน เช่น ระบบการสอ่ื สารวิทยุดจิ ติ อล และทวี ดี จิ ติ อล

ท่มี ารปู ภาพ https://sites.google.com/site/informlesson1/6-prapheth-khxng-sayyan-rabb-thorkhmnakhm

2.4 ประเภทของการสื่อสารสาหรบั การสอ่ื สารโทรคมนาคม
ตวั กลางการส่อื สาร (Communication Media) หรอื เรยี กอย่างง่ายวา่ ชอ่ งสญั ญาณในการสือ่ สาร

จาแนกไดเ้ ป็น 2 ชนิดตามลกั ษณะทางกายภาพคอื ตัวกลางการสอ่ื สารแบบมี สาย (Wired
Communication Media) และตัวกลางการส่อื สารแบบไรส้ าย(Wireless Communication Media)
ตวั กลางการสอื่ สารเป็นปัจจัยทส่ี าคัญหนึ่งทที่ าให้การสอ่ื สารมปี ระสิทธภิ าพ เชน่ ในด้านความเรว็ หรอื
ตน้ ทนุ

1. การสอื่ สารผา่ นสือ่ ตา่ ง ๆ (wire transmission) หมายถึง การถ่ายทอดสญั ญาณขอ้ มลู จาก
อปุ กรณต์ วั หนง่ึ ในระบบเครือขา่ ยไปยงั อุปกรณอ์ กี ตวั หนึ่งเช่น ส่งสญั ญาณผ่านสายชนิดต่าง ๆ
ตวั กลางการสอ่ื สารแบบมีสายจาแนกออกเป็น 3 ชนดิ ได้แก่ สายคูต่ เี กลยี ว (Twisted-pair
Wire) สายโคแอกซ(์ Coaxial Cable) และเส้นใยแกว้ นาแสง (Fiber Optic Cable)

 สายคู่ตีเกลียว (Twisted-pair Wire) สายโทรศัพทแ์ บบดั้งเดิมจะใช้สายคู่ตีเกลยี ว
เปน็ ตวั กลางในการสอื่ สาร สายคตู่ เี กลยี วประกอบด้วยสายทองแดง 8 เส้นพนั กันเป็น
คู่ๆ จานวน 4 คู่ การท่ีใช้สายพนั กันน้นั เพื่อลดสญั ญาณรบกวนระหว่างช่องสญั ญาณ
รบกวนที่เกดิ จากสนามไฟฟา้ ระหว่างสายท่ีอยู่ใกล้กนั (Crosstalk) สายตีเกลยี ว 1 คู่
แทนช่องสัญญาณได้1ช่อง สายคู่ตีเกลียวประกอบด้วยชนิดไม่หุ้มฉนวนโลหะ
(Unshielded Twisted-pair Wire) และชนิดหุ้มฉนวนโลหะ (Shielded Twisted-
pair Wire) ท่ีสามารถป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีขึ้นสายคู่ตีเกลียวเป็นสายท่ีมี
ความเรว็ ในการสง่ ขอ้ มลู ต่า อัตราการสง่ ขอ้ มลู อย่รู ะหว่าง 1 - 128Mbps โดยทวั่ ๆ ไป
ความเรว็ ที่ 56 kbps สายค่ตู เี กลียวใช้ในระบบการสง่ ข้อมลู มานาน และปจั จบุ นั ยงั มี
การใช้งาน สายค่ตู เี กลยี วสามารถใช้ในการสง่ ข้อความเสยี งและการสง่ ขอ้ มูลระหว่าง
คอมพวิ เตอร์ ขอ้ ดีของสายคตู่ เี กลียวคือ สามารถทาการเชอื่ มต่อสายเข้าระบบได้ง่าย
แต่อัตราการส่งข้อมูลช้า นอกจากนี้สัญญาณรบกวนระหว่างช่องสัญญาณสูง และ
ค่าใช้จ่ายในการบารงุ รักษาสูง เช่น ค่าใช้จ่ายในการเปลยี่ นสายเพ่ือทดแทนสายเดิม

ทงั้ ระบบสูง ตัวอย่างของสายคู่ตีเกลยี วแสดงในรปู

รูปแสดง สายคู่ตเี กลยี ว
ตาราง แสดงคณุ ลกั ษณะของสาย UTP ในแตล่ ะชนิด

ทีม่ า http://www.mwit.ac.th/~cs/download/tech30102/Chapter2_Media.pdf

 สายโคแอ็กเชียล(Coaxial Cable) สายโคแอ็กเชียลเป็นสายทองแดงทีห่ ุ้มด้วยโลหะ
ภายในและภายนอกหมุ้ ดว้ ยพลาสติก การที่มีการหุม้ เพิ่มข้นึ ทาให้ สายโคแอ็กเชยี ลมี
คุณสมบัติดีกว่าสายคู่ตีเกลียวคือสามารถลดสัญญาณรบกวนท่ีเกิดจากคล่ืน
แม่เหล็กไฟฟา้ จากภายนอกไดด้ กี ว่า สายโคแอ็กเชียลเป็นสายทส่ี ามารถส่งข้อมูลด้วย
ความเร็วสูง อัตราการส่งข้อมูลสามารถสูงได้ถึง 200 Mbpsอัตราการส่งข้อมูลของ

สายโคแอ็กเชียลที่ใช้สาหรบั บา้ นพักอาศัยอาจจะอยู่ท่ี 4-10 Mbps สายโคแอก็ เชยี ล
ส่วนใหญ่นิยมใช้ในระบบโทรทศั น์ อินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่งนิยมนาไปใช้เปน็
สายเคเบล้ิ ทวี ี ตัวอยา่ งของสายโคแอ็กเชียลแสดงในรูป

รูปแสดง โคแอ็กเชยี ล

ตาราง เปรยี บเทยี บข้อดีและข้อเสียของสายโคแอก็ เชียล

 เส้นใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable) เส้นใยนาแสงประกอบด้วยใยแก้วหรือ
พลาสติกเลก็ ๆ หลายเสน้ หรือหลายร้อยเส้น ใยแก้วแต่ละเสน้ น้ีสามารถส่งข้อมูลได้
สูงถึง 2 Gbps ดังน้ันเส้นใยนาแสงจึงสามารถส่งข้อมูลได้ปริมาณมาก ปริมาณการ
รับส่งของเสียงสนทนากว่าล้านคู่สามารถส่งได้ในเวลาเดียวกัน เน่ืองจากการส่ง
สัญญาณของเส้นใยนาแสงใช้แสงในการรับส่งข้อมูลจึงไม่มีผลกระทบจากสัญญาณ
รบกวนท่ีเกิดจากคลื่นไฟฟา้ ดังนนั้ ในการรับสง่ สัญญาณโดยใชเ้ ส้นใยนาแสงจึงมีอัตรา
ความผิดพลาดต่ากว่าการใช้สายแบบอ่ืนๆ อย่างไรก็ตามการบารงุ รกั ษาและตดิ ตัง้ มี
ค่าใช้จ่ายสูง อีกท้ังเส้นใยนาแสงแตกหกั ได้ง่าย การเชื่อมต่อต้องทาการเช่ือมต่อด้วย
อุปกรณพ์ ิเศษและชา่ งเทคนิคทชี่ านาญ ซง่ึ ประการหลงั นที้ าใหก้ ารรบั สง่ ขอ้ มลู ด้วยวธิ ี
นีม้ ีความปลอดภยั มากข้ึน เนอื่ งจากบคุ คลธรรมดาทาการลกั ลอบเชอื่ มต่อสัญญาณได้
ยากตัวอย่างของเส้นใยนาแสงแสดงในรปู ท่ี 3.10 และแสงทเ่ี ดินทางภายในเสน้ ใยแกว้
นาแสงมีลกั ษณะไม่เปน็ เส้นตรง กล่าวคือ แสงเดินทางโดยการหกั เหของแสงสะทอ้ น
ไปมาดังภาพ

รปู แสดง เสน้ ใยแกว้ นาแสง

ทมี่ าของรปู ภาพ http://www.elfhs.ssru.ac.th/nutthapat_ke/file.php/1/GE/ges1101_chapter3.pdf

รปู แสดง การเดินทางของแสงภายในเสน้ ใยแก้วนาแสง
ตาราง เปรยี บเทียบข้อดีและขอ้ เสยี ของสายเสน้ ใยแก้วนาแสง

2. ตัวกลางการส่ือสารข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Communication) คลื่นแม่เหล็กไฟฟา้
(Electromagnetic Spectrum) เป็นตวั กลางทส่ี าคัญของการส่อื สารแบบไร้ สาย การเคลอ่ื นท่ี

ของคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าในแถบความถี่ท่ีต่างกันจะมคี ุณสมบตั ิแตกต่างกัน มาตรฐานข้อตกลง
ระหว่างประเทศทเ่ี รยี กว่า International Telecommunication Union (ITU) ได้มีการแบ่ง
แถบความถี่ (Band) และกาหนดชอ่ื แถบความถค่ี ลนื่ วทิ ยุ (Radiofrequency) แสดงดงั ตาราง

แบนด์วิดท์ (Bandwidth) คือ ช่วงหรือความกวา้ งแถบความถี่ทีต่ ัวกลางสามารถ
รบั สง่ ขอ้ มลู ในช่วงเวลาท่ีกาหนดให้ ตัวอยา่ งเช่น ระบบโทรศัพทท์ ที่ างานในแถบความถี่ 869 -
894MHz จะมีแบนด์วิดท์ 25 MHz ท่ีสามารถใช้ ในการส่งข้อมลู ได้ ดังนั้นตัวกลางท่ีมีแบนด์
วิดท์มากกว่าจะมีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงกว่า แบนด์วิดท์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
แบนด์วิดท์แบบแคบและแบบกวา้ ง เรียกว่าแถบความถ่ีแคบ(Narrowband) และแถบความถี่
กวา้ ง(Broadband) ในระบบโทรศัพท์ส่ือสารท่ัวไปและโมเดม็ ทใี่ ช้ในการเชื่อมต่ออนิ เทอร์เน็ต
ผ่านโทรศัพท์จะใช้แบนด์วิดท์แถบความถี่แคบทส่ี ามารถให้บริการรับส่ง เสียง โทรสาร และ
ข้อมูลด้วยอัตราเร็ว 1.5 Mbps สาหรับแบด์วิดท์แถบความถ่ีกว้างจะใช้ในการรับส่งข้อมูลท่ี
ตอ้ งการอัตราเร็วสงู และภาพและเสียงทมี่ ีความละเอยี ดสูง อตั ราเร็วอยู่ในช่วง 1.5 Mbps - 1
Gbps
ตารางแสดง การแบ่งแถบความถี่ตามมาตรฐาน ITU

ทีม่ า http://www.elfhs.ssru.ac.th/nutthapat_ke/file.php/1/GE/ges1101_chapter3.pdf

ตวั กลางการส่ือสารแบบไร้สายจาแนกออกเปน็ 7 ชนิดไดแ้ ก่ การส่งผ่านคล่ืนอินฟราเรด
(Infrared Transmission) วิทยุกระจายเสียง (Broadcast Radio) เซลลูล่า (Cellular Radio)
คลื่นไมโครเวฟ (Microwave Radio) ดาวเทียม (Satellites) Wi-Fi (Wireless Fidelity) และการ
สอ่ื สารผ่านบลูทูธ (Bluetooth) รายละเอยี ดอธิบายดังต่อไปนี้

 การส่อื สารผา่ นคลน่ื อนิ ฟราเรด คล่นื อินฟราเรดอยใู่ นย่านความถ่สี ูงมากและสามารถ
มองเห็นด้วยตาเปล่า ความเร็วในการสง่ สัญญาณข้อมูลต่า (ประมาณ 1- 16 Mbps)
ข้อจากัดของการรับส่งข้อมูลด้วยคลื่นอินฟราเรดคือ ระยะใกล้และไม่มีสิ่งกีดขวาง
ระหว่างตวั รับและตัวส่ง เน่อื งจากต้องอาศยั เสน้ ทางของแสงในการนาขอ้ มูล ตัวอยา่ ง
การรับสง่ ข้อมูลด้วยระบบนี้ได้แก่ รีโมทโทรทัศน์ เมาสแ์ บบไร้สาย พ้อยเตอรแ์ บบไร้

สาย กลอ้ งแบบดิจทิ ัลคอมพิวเตอร์ การต่อเครือ่ งคอมพวิ เตอรก์ บั เครื่องฉาย

รูปภาพแสดงการใชง้ าน รโี มท อินฟาเรด

ที่มาของรปู ภาพ https://www.joom.com/th/products/5d0374e78b2c370101272b22

รูปภาพแสดงการใช้งาน รโี มท อินฟาเรด
ท่ีมาของรปู ภาพ http://www.datacom2u.com/WirelessMedia.php

รูปภาพแสดงการใช้งาน เครอื่ งวัดอณุ หภูมริ ่างกายอินฟราเรด
ท่ีมาของรูปภาพ https://santatechnology.com/cem-dt-8806h

 การสอ่ื สารผา่ นวิทยกุ ระจายเสียง(Broadcast Radio) คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าทใ่ี ชใ้ นการ
แพรก่ ระจายเสียงวิทยุมคี วามถีต่ ง้ั แต่ 100 Hz - 300 GHz การส่อื สารทใี่ ช้ ระบบนีไ้ ด้
แก่วิทยุกระจายเสียงท้องถ่ินด้วยระบบ AM (Amplitude Modulation ความถี่
ระหว่าง 550 - 1600kHz) ระบบ FM (ความถ่ีระหว่าง 88 – 108 MHz)
วทิ ยกุ ระจายเสียงระหว่างประเทศในระบบ AM(ความถรี่ ะหว่าง 1600kHz -15 MHz)
โทรทศั น์ โทรศพั ทไ์ รส้ าย หรอื วิทยสุ ื่อสาร (เชน่ วิทยสุ ่อื สารของตารวจ หน่วยงานทีใ่ ช้
เฉพาะกลุม่ ) การส่งสัญญาณข้อมลู ดว้ ยวทิ ยกุ ระจายเสยี งสามารถสง่ ขอ้ มลู ไดร้ ะยะไกล
และมคี วามเรว็ สูงถงึ 2 Mbps

รปู ภาพแสดง การสื่อสารผา่ นวทิ ยกุ ระจายเสียง

 การส่ือสารผ่านวิทยเุ ซลลูล่า(Cellular Radio) ระบบวิทยุเซลลูล่าใช้อยา่ งแพร่หลาย
ในระบบโทรศพั ท์เคลือ่ นท่ี ระบบเซลลลู ่าสามารถเปน็ ระบบทมี่ กี ารจดั สรรความถี่และ
การใช้ความถ่ีให้กับพื้นที่บริการต่างๆ กัน โดยพ้ืนท่ีบริการจะเรียกว่า “เซล” มี
ลักษณะเปน็ รปู หกเหล่ยี มคลา้ ยรังผ้งึ ดังแสดงในรปู การท่ีเซลถูกออกแบบใหม้ ีลกั ษณะ
เป็นรูปหกเหลย่ี มนั้นเพ่ือให้เซลครอบคลมุ พนื้ ทโ่ี ดยไม่มีช่องว่าง ขนาดของเซลข้ึนกับ
ความหนาแนน่ ของผ้ใู ช้ (จานวนเซลมากขึ้นมากจานวนผูใ้ ช)้ แต่ละเซลจะรบั สง่ ข้อมูล
ผ่านสถานีฐาน (Base Station) ท่ีเช่ือมต่อไปยังเคร่ืองโทรศัพท์เคลื่อนท่ี (Mobile
Station) การให้บริการของแต่ละเซลสามารถใช้ความถี่ค่าเดียวกันได้โดยไม่กระทบ
กับการให้บรกิ าร ซ่ึงทาให้ระบบเซลลลู ่ามีการใช้ความถ่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เม่อื
โทรศัพทเ์ คลอ่ื นทไ่ี ปอยอู่ ีกเซลหน่งึ ระบบจะทาการโอนช่องสญั ญาณสนทนาไปยงั เซล
นน้ั โดยอตั โนมตั ิ การรบั ส่งข้อมูลในระบบเซลลูล่าใช้คลื่นความถ่สี งู ในการรับสง่ ข้อมูล
เสยี ง หรือข้อความ

รปู แสดง ระบบเซลลลู ่า

ทมี่ าของรปู ภาพ: http://cpe.kmutt.ac.th

 การส่ือสารผ่านวิทยุไมโครเวฟ (Microwave) คลื่นไมโครเวฟเป็นคล่ืน
แม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงมากอยู่ในย่าน 1– 4 GHz ระบบวิทยุไมโครเวฟสามารถ
รับส่งเสียงและข้อมูลด้วยความเร็วสูงถึง 45 Mbps ผ่านช้ันบรรยากาศ การรับส่ง
ข้อมูลอาจเกดิ ระหว่างสถานีภาคพ้ืนดนิ (Ground-based Station) และดาวเทียม ท่ี
อยู่นอกโลก หรือระหว่างสถานีภาคพื้นดินก็ได้เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟเป็นคล่ืนท่ี
เดนิ ทางเป็นเสน้ ตรง ดังนั้นการรับสง่ สญั ญาณจงึ ต้องไมม่ ีสงิ่ กดี ขวาง หรือสถานตี ้องอยู่
ในท่ีสูง เช่นยอดเขาหรือดาดฟ้าของตึกสูง เคร่ืองส่งสัญญาณ(Transmitter)และ
เครื่องรับสัญญาณ (Receiver) ต้องวางในตาแหนง่ ทหี่ ันหน้าตรงกนั ระยะห่างระหวา่ ง
สถานีรับส่งสัญญาณโดยท่ัวไปอยู่ระหว่าง 40 -50 กิโลเมตร การสื่อสารในระบบ
ไมโครเวฟที่ใช้ในการสง่ รับสง่ สัญญาณระยะไกลจงึ ตอ้ งอาศัยการสง่ ต่อกันเป็นทอดๆ
จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหน่ึงจนถึงสถานีจุดหมายปลายทาง จานรับส่งคล่ืน
ไมโครเวฟอาจมีขนาดต้ังแต่เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 - 4 ฟุต หรืออาจจะสูงถึง 10 ฟุต
ขึ้นอยู่กับระยะห่างของสถานี ข้อเสียของระบบไมโครเวฟคือสญั ญาณถกรบกวน ได้
ง่ายจากสภาวะภูมอิ ากาศ เช่น อุณหภูมิ พายุ ฝน ตัวอย่างจานรับสง่ คล่ืนไมโครเวฟ
แสดงดังรูป

รปู แสดง จานรบั ส่งคลนื่ ไมโครเวฟ

ท่ีมาของรปู ภาพ: http://hubpages.com/technology/Microwave-Radio-Communications

นอกจากการใช้คลื่นไมโครเวฟด้านการสอื่ สารแลว้ ประโยชน์ท่เี หน็ ได้เด่นชดั อีก

ประการหนึ่งคือการนามาใช้ในเตาไมโครเวฟ เน่ืองจากโครงสร้างโมเลกุลของวัสดุ
ตา่ งๆดูดกลนื คลื่นไมโครเวฟได้ดดี ังนั้นจึงนาคลนื่ ไมโครเวฟมาใช้ในการอุ่นอาหารด้วย
การทาใหโ้ มเลกุลของน้าสั่นสะเทือนทาใหอ้ าหารสุกได้
 การสือ่ สารผา่ นบลูทธู (Bluetooth) ระบบส่อื สารของอปุ กรณ์อิเลค็ โทรนคิ แบบสอง
ทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะส้ัน (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สาย
เคเบ้ิล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ และไม่จาเปน็ จะต้องใช้การเดินทางแบบเสน้ ตรง
เหมอื นกบั อนิ ฟราเรด ซึ่งถือวา่ เพิ่มความสะดวกมากกว่าการเชอื่ มตอ่ แบบอินฟราเรด
ที่ใชใ้ นการเชือ่ มต่อระหวา่ งโทรศัพท์มือถอื กบั อุปกรณ์ ในโทรศัพท์เคลอ่ื นทร่ี ุ่นก่อนๆ
และในการวิจัย ไม่ได้มุ่งเฉพาะการส่งข้อมูลเพียงอย่างเดียว แต่ยังศึกษาถึงการส่ง
ข้อมูลท่ีเป็นเสียง เพ่ือใช้สาหรับ Headset บนโทรศัพท์มอื ถือด้วยเทคโนโลยี บลูทูธ
เปน็ เทคโนโลยสี าหรับการเชอื่ มตอ่ อปุ กรณ์แบบไรส้ ายท่ีน่าจับตามองเปน็ อย่าง ยงิ่ ใน
ปัจจุบัน ท้ังในเรอื่ งความสะดวกในการใช้งานสาหรบั ผใู้ ช้ทั่วไป และประสิทธิภาพใน
การทางาน เน่อื งจาก เทคโนโลยี บลทู ธู มรี าคาถกู ใชพ้ ลงั งานน้อย และใชเ้ ทคโนโลยี
short – range ซ่ึงในอนาคต จะถูกนามาใช้ในการพัฒนา เพื่อนาไปสู่การแทนที่
อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้สาย เคเบิล เช่น Headset สาหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น
เทคโนโลยีการเชื่อมโยงหรือการส่ือสารแบบใหม่ท่ีถูกคิดค้นขึ้น เป็นเทคโนโลยีของ
อินเตอร์เฟซทางคล่ืนวิทยุ ต้ังอยู่บนพื้นฐานของการสือ่ สารระยะใกลท้ ี่ปลอดภัยผา่ น
ช่องสัญญาณความถ่ี 2.4 Ghz โดยท่ีถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดข้อจากัดของการใช้สาย
เคเบิลในการเช่ือมโยงโดยมี ความเรว็ ในการเชอ่ื มโยงสงู สดุ ท่ี 1 mbp ระยะครอบคลมุ
10 เมตร เทคโนโลยีการส่งคล่ืนวิทยุของบลูทูธจะใช้การกระโดดเปลี่ยนความถี่
(Frequency hop) เพราะวา่ เทคโนโลยนี เี้ หมาะท่ีจะใชก้ บั การสง่ คลน่ื วทิ ยุที่มีกาลงั สง่
ต่าและ ราคาถูก โดยจะแบ่งออกเป็นหลายช่องความถี่ขนาดเลก็ ในระหว่างท่ีมกี าร
เปล่ียนช่องความถ่ีท่ีไม่แน่นอนทาให้สามารถหลีกหนีสัญญาณรบกวนที่เข้ามา
แทรกแซงได้ ซ่ึงอปุ กรณ์ท่ีจะได้รับการยอมรับว่าเปน็ เทคโนโลยี บลูทูธ ต้องผ่านการ
ทดสอบจาก Bluetooth SIG (Special Interest Group) เสียก่อนเพ่ือยืนยันว่ามัน
สามารถท่จี ะทางานรว่ มกบั อุปกรณ์ บลูทธู ตวั อน่ื ๆ และอนิ เตอร์เนต็ ได้

ท่ีมาของรูปภาพ https://sites.google.com/site/tuntikongppk123/thekhnoloyi-ri-say

รูปภาพ แสดงการเช่ือมต่ออุปกรณด์ ว้ ยการสื่อสารผ่านบลทู ธู (Bluetooth)

 Wi-Fi (Wireless Fidelity) คือเครือขา่ ยทอ้ งถนิ่ ไรส้ ายท่ีช่วยใหอ้ ปุ กรณ์การคานวณ
แบบพกพาสามารถเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตได้อย่างง่ายดาย ในขณะที่มาตรฐาน IEEE
802.11 b, g, n, Wi-Fi ให้ความเร็วเท่ากับบางชนิดของสายอีเธอร์เน็ต ได้กลายเปน็
มาตรฐานสาหรับการเข้าถึงในบ้านส่วนตัว, ภายในสานักงานและท่ีฮอตสปอต
สาธารณะ เดิมที WiFi ออกแบบมาใช้สาหรับอุปกรณ์พกพาต่างๆ และใช้เครือข่าย
LAN เท่านน้ั แต่ปัจจุบนั นยิ มใช้ WiFi เพอ่ื ต่อกบั อนิ เทอร์เน็ต โดยอปุ กรณพ์ กพาตา่ งๆ
สามารถเช่อื มต่อกับอินเทอร์เนต็ ไดผ้ า่ นอปุ กรณ์ทเี่ รยี กว่าแอคเซสพอยต์ และบริเวณที่
ระยะทาการของแอคเซสพอยตค์ รอบคลมุ เรยี กว่า ฮอตสปอต แต่เดิมคาว่า Wi-Fi เปน็
ช่ือท่ีต้ังแทนตัวเลข IEEE 802.11 ซ่ึงง่ายกว่าในการจดจา โดยนามาจากเคร่ืองขยาย
เสียง Hi-Fi อย่างไรก็ตามในปัจจบุ ันใช้เป็นคาย่อของ Wireless-Fidelity โดยมีแสดง
ในเว็บไซต์ของ Wi-Fi Alliance โดยใชช้ ือ่ WiFi เป็นเครือ่ งหมายการคา้
เทคโนโลยี Wi-Fi ใช้คลื่นวิทยุความถี่สูงสาหรับรับส่งข้อมูลภายในเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งาน Wi-Fi ได้ต้องมีการติดต้งั แผงวงจร
หรืออุปกรณร์ บั ส่ง Wi-Fi ซง่ึ มีช่อื เรยี กวา่ Network Interface Card (NIC) แตป่ จั จบุ นั
เคร่ืองคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คที่มีจาหน่ายในท้องตลาดมักได้รับการ ติดต้ังชิปเซ็ต
(Chipset) ที่ทาหน้าท่ีเป็นตัวรับส่งสัญญาณ Wi-Fi ไปในตัว ทาให้สะดวกต่อการ
นาไปใช้งานมากข้ึน การติดต่อส่ือสารด้วยเทคโนโลยี Wi-Fi ทาได้ท้ังแบบเชื่อมต่อ
โดยตรงระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอร์ โดยไม่ต้องผา่ นอปุ กรณ์ตัวกลาง (Ad-hoc) และ
แบบที่ผ่านอุปกรณ์จุดเช่ือมต่อ (Access Point) เน่ืองจากการติดต้ังเครือข่าย Wi-Fi
ทาได้ง่ายและไม่ต้องใช้ความรู้ในเชิงลึกทางด้านวิศวกรรมเครือข่าย แม้จะมีพ้ืนท่ี
ครอบคลุมในระยะทางจากัด แต่ก็ถือว่าเพียงพอที่ต่อการใช้งานในสานักงานและ
บ้านพักอาศยั โดยทัว่ ไป จงึ ทาให้ผู้คนท่ัวไปนยิ มใช้งาน Wi-Fi กนั มาก ส่งผลใหเ้ กิดการ
ขยายตัวของตลาดผู้บรโิ ภคอยา่ งรวดเร็วในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นการแสดงจานวนพ้ืนทที่ มี่ ี
การเปิดให้บริการ Wi-Fi ในสหรัฐอเมรกิ า ท้ังท่ีเป็นการใหบ้ ริการฟรี และท่ีมีการคิด
ค่าใช้จ่าย โดยท่ัวไปมักเรียกพ้นื ทเี่ หล่าน้ีว่า Hotspot เทคโนโลยี Wi-Fi มีการพัฒนา
มาตามยุคสมยั ภายใต้การกากบั ดแู ลของกลุ่มพันธมติ ร WECA (Wireless Ethernet
Compatibility Alliance) เริ่มจากข้อกาหนดมาตรฐาน IEEE 802.11 ซึ่งกาหนดให้
ใช้คล่ืนวิทยุความถี่ 2.4 กิกะเฮิตรซ์ เป็นตัวกลางในการติดต่อสอ่ื สารกบั จุดเช่ือมตอ่
(AP หรือ Access Point) ข้อกาหนดดังกล่าวเป็นเพียงหลักการทางทฤษฎีเท่านั้น
จนกระทั่งเม่ือมีการกาหนดให้มาตรฐาน IEEE 802.11a (อัตราเร็ว 54 เมกะบิตต่อ
วินาที) และ IEEE 802.11b (อตั ราเร็ว 11 เมกะบิตตอ่ วินาที) ซง่ึ ใชค้ ล่นื วิทยุความถ่ี 5
กิกะเฮิตรซ์ และ 2.4 กิกะเฮิตรซ์ตามลาดับ เป็นมาตรฐานสากลสาหรับใช้งานใน
ปัจจบุ ัน และไดม้ กี ารพัฒนามาตรฐาน Wi-Fi ต่อเน่ืองไปเปน็ IEEE 802.11g (อตั ราเรว็
54 เมกะบิตต่อวินาที) ซึ่งในปัจจุบัน กล่าวได้ว่าการรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายแบบ
Wi-Fi ทั้งสองความถ่ีสามารถทาได้ด้วยอัตราเร็วสูงสุดถึง 54 เมกะบิตต่อวินาที
เทยี บเท่ากนั
อยา่ งไรกต็ าม อัตราเรว็ ท่แี ท้จริงในการรบั สง่ ข้อมลู ผ่านอปุ กรณ์ AP ของผใู้ ชง้ าน

แต่ละคนอาจมีค่าไม่เท่ากัน ข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อมในการใช้งาน และจานวน
ผู้ใช้งานทแี่ บ่งกนั รบั ส่งขอ้ มูลผ่านอุปกรณ์ AP รว่ มกัน นอกจากน้ันยงั ข้ึอยู่กับรปู แบบ

ในการรบั สง่ ขอ้ มลู ของแตล่ ะคนอกี ด้วย แม้การวางเครอื ขา่ ยสอื่ สารไรส้ ายแบบ Wi-Fi
จะมีพ้ืนท่ีใหบ้ รกิ ารจากัดในระยะไม่มากนัก แต่การติดต้ังอปุ กรณ์ AP เพ่ือสร้างพน้ื ท่ี
บริการให้ต่อเน่ืองกัน ก็ทาให้เพ่ิมขอบเขตในการให้บริการได้ ปัจจุบันมีการพัฒนา

รูปแบบการวางเครือข่ายอุปกรณ์ AP ชนิดพิเศษซ่ึงมีการใช้งานร่วมกับสายอากาศ
ขยายความแรงสัญญาณ ทาให้สามารถใหบ้ ริการ Wi-Fi ในพืน้ ท่ีกว้างขึ้น และ AP แต่
ละชุดต่างก็สามารถรับส่งข้อมูลหากันได้ โดยต่างทาหน้าท่ีเป็นวงจรส่ือสัญญาณ

(Transmission) ใหแ้ กก่ ันและกันเรียกเทคโนโลยดี งั กล่าววา่ Wireless-Mesh
ใน ทางปฏิบัติมักมีความเขา้ ใจกันว่าเทคโนโลยี Wi-Fi กับมาตรฐาน WLAN เป็น

ส่ิงเดียวกัน แต่แท้จริงแล้ว WLAN มีความหมายถึงการให้บริการส่ือสารข้อมูลใน

ลักษณะแบ่งกันใช้แบนด์วิดท์ ระหว่างเครื่องลูกข่าย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ กับเครือข่ายส่ือสารไร้สาย โดยผ่านทางอุปกรณ์สถานีฐานหรือจุด
เชื่อมต่อ ท้ังนี้ไม่มีการกาหนดมาตรฐานการเช่ือมต่อทางเทคนิคให้ตายตัว

นอกเหนือจากเทคโนโลยี Wi-Fi แล้ว ยังมีเทคโนโลยีอ่ืน ๆ ท่ีเข้าข่ายให้บริการแบบ
WLAN ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี WiMAX มาตรฐานการส่ือสารแบบ Bluetooth
เทคโนโลยี Home RF หรอื แมก้ ระท่งั เทคโนโลยี HiperLAN ซง่ึ 2 เทคโนโลยหี ลงั นั้น

ยงั ไม่ได้รับการยอมรบั ใชง้ านอยา่ งแพร่หลายเท่าใดนกั ใน ปจั จุบนั
สาหรับ WiFi 6 สามารถรองรบั การเชือ่ มต่ออุปกรณ์ไดม้ ากขนึ้ ในระดับกว้าง เชน่

สนามกีฬา, สถานท่ีสาธารณะต่าง ๆ อาทิ สถานีรถไฟ/รถไฟฟ้า, สนามบิน, สถานี

ขนส่งผู้โดยสาร, หา้ งสรรพสนิ ค้า, โกดังเก็บสินค้า, โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น โดยท่ี
ยังคงให้ความเร็วสูงในการรับส่งสัญญาณด้วยช่องสัญญาณที่กว้างข้ึน, สัญญาณ
รบกวนน้อย ทะลุทะลวงส่ิงกดี ขวางไดม้ ากข้นึ และใชพ้ ลังงานในระดบั ต่า รวมถึงตอบ

โจทยก์ ารใชง้ านแบบ Internet of Things (IoT) / สตรมี ม่งิ ได้ในทกุ สภาวะแวดลอ้ ม
สาหรับ WiFi 6 ยังใช้มาตรฐานในการเช่ือมตอ่ ท่ีมีชื่อเรียกว่า 802.11ax รองรับคลื่น
แค่ 2.4GHz และ 5GHz เท่านน้ั

สว่ น WiFi 6E เป็นเทคโนโลยตี อ่ ยอดจาก WiFi 6 โดยจะไม่ได้รองรบั การเชื่อมตอ่
แค่สองคล่ืนแล้ว คือ 2.4GHz+5GHz แต่จะเพิ่มข้ึนมาอีกหนึ่งช่องคล่ืนสัญญาณคือ
6GHz ท่ีมีช่องสัญญาณกว้างข้ึน และรองรับการจานวนการเช่ือมต่อมากกว่าเดิม ให้

ผลลัพธ์โครงข่ายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพทุกๆ สภาวะแวดลอ้ ม ประเด็นทน่ี ่าสนใจคอื
ท า ง ก ลุ่ ม ได้ ใ ช้ นิ ย า ม ว่ า ( very dense and congested environments.) นั่ น
หมายความว่าสภาพแวดล้อมท่ีหนาแน่นและแออัดมาก ซ่ึงจากท่ียกตัวอย่างข้างตน้

คอื สนามกฬี า, สถานท่สี าธารณะต่าง ๆ อาทิ สถานรี ถไฟ/รถไฟฟา้ , สนามบิน, สถานี
ขนส่งผู้โดยสาร, หา้ งสรรพสนิ ค้า, โกดงั เก็บสนิ ค้า, โรงงานอตุ สาหกรรม เปน็ ตน้ ก็จะ
ใหผ้ ลลพั ธท์ ี่ดีขนึ้ กวา่ เดมิ และสมจริง (closer to reality) หรือโลกของ AR/VR

รูปภาพแสดงการเชื่อมตอ่ ดว้ ย Wi-Fi (Wireless Fidelity)
 การสื่อสารผ่านดาวเทียม(Satellite) ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมได้พัฒนาจาก

ระบบไมโครเวฟ โดยมีสถานีคา้ งฟา้ (Sky Wave) แทนสถานภี าคพนื้ ดิน สถานีคา้ งฟา้
เรียกว่า“ดาวเทียม” ดาวเทียมทาหน้าที่รับสัญญาณขาข้ึน (Up Link) จากโลกและ
ขยายให้มีความแรงเพม่ิ ข้ึน จากน้ันจะส่งสญั ญาณขาลง (Down Link) กลับมายังผิว
โลก หรืออาจกล่าวไดว้ า่ ดาวเทียมเป็นสถานีทวนสญั ญาณนั่นเอง ตัวอยา่ งการสอื่ สาร
ผ่านดาวเทียมเพ่ือเฝ้าระวังสภาพแวดล้อมของโลก POES (polar operational
environmental satellite) ขององค์การนาซา่ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า แสดงดังรูป วง
โคจรของดาวเทียมจาแนกตามระยะความสูงจากพื้นโลกได้3ประเภทคือ วงโคจร
ประจาท่ี (Geostationary Earth Orbit: GEO) วงโคจรระยะปานกลาง(Medium-
earth Orbit: MEO) และวงโคจรระยะตา่ (Low-earth Orbit: LEO) รายละเอยี ดดังนี้

รูปแสดง ระบบดาวเทยี ม POES

ท่ีมา: http://goespoes.gsfc.nasa.gov/

วงโคจรค้างฟา้ ดาวเทียมโคจรขนานกบั เสน้ ศนู ย์สูตรในทิศเดียวกับโลกหมนุ รอบตัวเอง
ด้วยอัตราเร็วเท่ากบั อัตราการหมุนรอบตัวเองของโลก ดังน้นั จงึ ดูเหมอื นว่าดาวเทียม
อยู่กับที่ ด้วยดาวเทียมวงโคจรประจาท่ีอยู่ห่างจากโลก 35,680กิโลเมตรทาให้
มอง เ ห็นพื้นท่ีครอบ คลุมพื้นผิวโลกได้เป็นบริเวณกว้าง จึงเ หมาะส า หรับ ใช้เป็น

ดาวเทียมสอื่ สาร ตัวอย่างดาวเทยี มทีม่ ีวงโคจรค้างฟา้ ได้แก่ดาวเทียมสื่อสารของไทย
เชน่ ดาวเทียมไทยคม 1A ดาวเทียมไทยคม 2 ดาวเทียมไทยคม 3ดาวเทยี มไทยคม 4
(ไอพีสตาร์) และดาวเทียมไทยคม 5 วงโคจรระยะปานกลาง ความสูงห่างจากโลก
ระหว่าง 8,000 – 16,000 กิโลเมตร ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยาเป็นส่วนใหญ่ หากใช้
ต้องการสือ่ สารให้ครอบคลุมพืน้ ผิวโลกต้องใชด้ าวเทยี มชนิดน้หี ลายดวง วงโคจรระยะ
ตา ความสูงห่างจากโลกระหวา่ ง 320– 1,600 กิโลเมตร ดาวเทียมประเภทน้ีมีขนาด
ใหญ่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าและรับส่งสัญญาณแบบเวลาจริง(Real Time)
ตัวอย่างได้แก่ ดาวเทียมไทยพัฒน์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครซ่ึงเน้นการ
บริการด้านการสื่อสารดิจิทัลเพื่อการสารวจทรัพยากรธรรมชาติและภูมิอากาศ
ดาวเทียมโกบอลสตาร์ของสหรัฐอเมริ กาที่ ให้บริการ ด้านโทร ศัพท์ เ คลื่อ นท่ี ผ่ าน
ดาวเทียมตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากดาวเทียม เช่นการประเมินพ้ืนที่เสยี หายจาก
เหตุการณ์ซินามิประเทศญ่ีปุ่นเมื่อเดือนมีนาคม 2554 โดยการแสดงภาพสีผสมเท็จ
(False Color Image) แสดงดังรปู ภาพชนิดน้ีพชื ถกู แสดงด้วยสแี ดง เมื่อเปรยี บเทยี บ
ภาพท่ีถ่ายหลงั เกิดซนิ ามิ(รปู ก)กับภาพท่ถี ่ายก่อนเกิดซินามิ (รูป ข) จะเห็นไดช้ ัดวา่
พ้ืนท่ีพืชเสียหายจากเหตุการณ์ซินามิ(สังเกตเห็นว่าสีแดงท่ีแสดงแทนพืชจะจางลง)
โดยเฉพาะบรเิ วณพน้ื ทใ่ี กลๆ้ กบั ชายฝง่ั

รูปแสดง ภาพสีผสมเท็จพ้นื ทีป่ ระเทศญป่ี นุ่ จากดาวเทยี มขององคก์ ารนาซ่า

ท่ีมาของรปู ภาพ: http://www.nasa.gov/topics/earth/features/japanquake/aster20110315.html

รปู แสดง ช่วงคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้

ทม่ี า: http://hubpages.com/technology/Microwave-Radio-Communications#

2.5 อุปกรณ์โทรคมนาคม
อุปกรณโ์ ทรคมนาคม ประกอบดว้ ย ปจั จุบันมรี ะบบสอื่ สารโทรคมนาคมหลายประเภท ตงั้ แต่โทร

เลข โทรศัพท์ โทรสาร วิทยุ โทรทัศน์ และ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมีรูปแบบของส่ือหลายอย่าง เช่น
สายโทรศพั ท์ เสน้ ใยแก้วนาแสง เคเบลิ ใตน้ ้าคลืน่ วทิ ยุ ไมโครเวฟ และดาวเทยี ม เป็นต้น

อปุ กรณโ์ ทรคมนาคมระบบสอื่ สารโทรคมนาคม
 โทรศัพทม์ ือถือ หรือ โทรศัพทเ์ คลือ่ นท่ี (และมกี ารเรยี ก วิทยโุ ทรศพั ท์) คอื อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้ ในการส่ือสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คล่ืนวิทยุในการ
ติดต่อ กับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายข อง
โทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้ บริการจะเช่ือมต่อกับเครือข่ายของ โทรศัพท์บ้านและ
เครือข่าย โทรศัพท์มอื ถอื ของผใู้ หบ้ ริการ อนื่ โทรศพั ท์มือถือท่ีมคี วามสามารถเพิม่ ขึ้น
ในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูก กล่าว ถึงในช่ือ สมาร์ตโฟน โทรศัพท์มือถือใน
ปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แลว้ ยังมี คุณสมบัติพ้นื ฐาน
ของโทรศัพท์มือถือท่ีเพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความ ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัด
หมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ SMS วิทยุ
เคร่อื งเล่นเพลง และ GPS
 โทรสาร หรือแฟกซ์ (Fax) เป็นสื่อคมนาคมประเภทหน่ึง ราชบัณฑิตยสถาน
บัญญัติศัพท์ใช้คาว่าโทร ภาพ เพราะเดิมหมายถึงภาพหรือรูปท่ีส่งมาโดยทางไกล
ตลอดจนหมาย ถึงกรรมวิธีในการถอดแบบเอกสารตีพิมพ์ หรือรูปภาพ โดยทาง
คล่ืนวิทยุหรือทางสาย เช่นสาย โทรศัพท์ ในสังคมสารนิเทศปัจจุบันนิยมใช้คาว่า
โทรสาร แทนโทรภาพ เพราะครอบคลุม ประเภทของการสง่ สารสนเทศได้มากกวา่
ภาพ เครอื่ งโทรสารมาจากคาใน ภาษาองั กฤษว่า Facsimile หรอื ทน่ี ิยมเรยี กกนั ส้ันๆ
ว่า Fax (แฟกซ์) หมายถึง อุปกรณ์การถ่ายเอกสาร ภาพ และ วัสดุกราฟิกด้วยคล่นื
อากาศความถ่ีสงู ผ่านระบบโทรศัพท์ทาให้ผ้สู ง่ และผรู้ ับทแ่ี มอ้ ยู่หา่ งกันแคไ่ หนก็ตาม

เป็นการ ส่งสัญญาณด้วย แสงท่ีมาแปลงเป็นเสียงแลว้ ย้อนกลับไปเปน็ กระแสไฟฟา้
แลว้ แปลงกลับมาเป็นเสียงและแสง อกี ครั้งหน่ึง การสง่ เอกสารผา่ นทางโทรสารตอ้ ง
มีหมายเลขของเครื่องรับ (เบอร์โทรศัพท์) และ ต้นฉบับท่ีเป็นเอกสาร และการส่ง
แฟกซแ์ ตล่ ะคร้ัง คิดคา่ บรกิ ารตามอัตราคา่ ใชโ้ ทรศัพท์ ถา้ ใน พน้ื ทเ่ี ดียวกนั กค็ รัง้ ละ 3
บาท ตา่ งจังหวัด คดิ ตามอัตราค่าบริการโทรศัพทท์ างไกล แต่ในความ จรงิ สถานทรี่ ับ
บริการส่งแฟกซ์จะคิดค่าบริการแพงกว่า ค่าใช้จ่ายจริงหลายเท่าตัว ปัจจุบัน
เครื่องโทรสารได้รบั ความนิยมใช้ในสานักงานกนั อย่างแพร่หลาย เนื่องจากให้ ความ
สะดวก รวดเร็ว และให้ความแม่นยาในการส่งข้อมูลข่าวสารด้วยสีที่เหมือนกับ
ต้นฉบับ ใช้ถ่ายเอกสารนาไป พ่วงต่อกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นพรินเตอร์
(Printer) ช่วยลดปัญหา การสื่อสารขอ้ ความผดิ พลาด และช่วย ให้การติดต่อส่ือสาร
ระหว่างกนั สะดวกและรวดเรว็ ยิง่ ขึน้

 วิทยุ–โทรทัศน์ วิทยุ-โทรทัศน์ ดิจิตอล (Digital Broadcasting) หมายถึง การ
ส่งผ่านภาพและเสียง โดยสญั ญาณดิจิตอลทม่ี ีประสทิ ธิภาพสูง ภาพและเสียงคมชัด
สามารถสง่ ขอ้ มลู ไดม้ ากกว่าแบบ อนาลอ็ กในหนึ่ง ชอ่ งสัญญาณ และทาใหไ้ ด้คุณภาพ
ของภาพและเสยี งดีกว่าการเปลี่ยนระบบจากอนาล็อกเปน็ ดิจิตอล เป็นกระแส ของ
โลก ทั้งในกจิ การวทิ ยุ- โทรทัศน์ต่างๆ ดงั น้ี
o ระบบแพร่ภาพดจิ ติ อลผา่ นดาวเทียม (The Digital Video Broadcasting -
Satel lite System) หรอื DVB-S
o ระบบแพรภ่ าพดจิ ิตอลผา่ นสายเคเบิ้ล (The Digital Video Broadcasting -
Cable System) หรอื DVB-C
o ระบบแพร่ภาพดิจิตอลภาคพื้นดิน (The Digital Video Broadcasting -
Terres trial System) หรือ DVB-T จุดใหญ่ที่จะทาให้ดิจิตอลทีวีต่างจาก
อนาล็อกทวี ีมากคือเทคนิคในด้านน้ี ซึ่งก็จะเริ่มเหน็ จากตัวอย่างของ ระบบ
โทรศพั ทท์ ีเ่ ปลีย่ นจากอนาล็อกมา เป็นดจิ ิตอล ในทานองคลา้ ยกนั โทรทัศน์
ดิจิตอลจะกลายเป็นสื่อผสมชนิดหนึ่ง (Multimedia) โดยเป็นสื่อผสมที่มี
ความเร็วสูงสุด สื่อผสมในที่น้ีจะประกอบด้วยภาพ เสียงและข้อมูลภาพจะ
เหน็ ได้จาก ดิจติ อลทีวกี จ็ ะข้นึ เป็น ระดับความคมชดั สูง (HDTV) ภาพท่ีรบั ชม
ก็สามารถโต้ตอบ (Interactive) ได้

 จีพเี อส (GPS) Global Positioning System หมายถงึ ระบบกาหนดตาแหนง่ บน
โลก โดยใช้วิธีการ คานวณตาแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ของอุปกรณ์รับสญั ญาณ จากค่า
ตาแหนง่ พกิ ัดจากดาวเทยี มที่โคจรอยู่รอบโลก ท่ี สง่ ผา่ นสญั ญาณนาฬกิ ามายงั โลก จี
พี เอส เปน็ ระบบนาร่องโดยอาศยั คลน่ื วิทยุ และรหัสท่ีสง่ มาจากดาวเทียม NAVSTAR
(NAVigation Satellite Timing and Ranging) จานวน 24 ดวงทีโ่ คจรอยเู่ หนือพื้น
โลก สามารถ ใชใ้ น การหาตาแหนง่ บนพื้นโลกได้ตลอด 24 ช่วั โมงทกุ ๆ จดุ บนผิวโลก
GPS (Global Positioning System) เป็นระบบ ดาวเทียม NAVSTAR ที่ออกแบบ
และ จัดสร้างโดยกองทัพสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้ในการนาทาง (Navigation) มี
วตั ถุประสงคใ์ นการ ออกแบบคอื
o เพือ่ ใหม้ ผี ูใ้ ช้ประโยชน์ทัง้ ฝ่ายทหารและพลเรอื นได้เปน็ จานวนมาก
o เพือ่ เครอื่ งรบั และอุปกรณใ์ ชง้ านได้งา่ ยและมีราคาต่า

o เพ่ือใช้ได้สะดวกไม่มีข้อจากัด นั่นคือ ใช้ได้ตลอด 24 ช่ัวโมง โดยไม่ขึ้นกับ
สภาพ ภมู ิอากาศและ สถานท่ี

o ให้ความถูกต้องทางตาแหน่งตามเงือ่ นไขที่ฝ่ายทหารกาหนด GPS เป็นเพียง
ระบบหนึ่งของ สหรัฐอเมริกา ท่ีเรียกระบบน้ีว่า GNSS หรือ Global
Navigation Satellite System ซึ่งยังมีอีกหลายระบบท่ีอยู่ ในกลุ่มน้ี เช่น

GPS เป็นเพียงระบบหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ที่เรียกระบบนี้ว่า GNSS หรือ
Global Navigation Satellite System ซง่ึ ยังมีอกี หลายระบบทอ่ี ยู่ในกลมุ่ น้ี
เชน่

 NAVSTAR - USA นยิ มเรยี กวา่ GPS
 GLONASS - Russia
 Galileo - European Union
 Beidou - China
 QZSS - Japanese
 IRNSS - Indian Regional Navigational Satellite System –

India
องค์ประกอบของ GPS จพี เี อส (GPS) มหี ลกั การทางานโดยอาศยั คลื่นวิทยุ และ

รหัสท่ีส่งมาจากดาวเทียม NAVSTAR จานวน 24 ดวง ท่ีโคจรอยู่รอบโลกวันละ 2 รอบ
และมีตาแหน่งอยู่เหนือพ้ืนโลกท่ี ความสูง 20,200 กิโลเมตร สามารถใช้ในการ หา
ตาแหน่งบนพ้ืนโลกได้ตลอด 24 ช่ัวโมง ทุกๆ จุดบนผิวโลก ใช้นาร่องจากท่ีหนึ่งไปทีอ่ ืน่

ตามต้องการ ใชต้ ดิ ตาม การเคลือ่ นท่ขี องคนและ ส่งิ ของต่างๆ การทาแผนท่ี การท างาน
รังวัด (Surveying) ตลอดจนใช้อ้างองิ การวัดเวลาที่ เที่ยง ตรงท่ีสุดในโลก องค์ประกอบ
ของระบบกาหนดตาแหนง่ บนโลก (GPS) ประกอบดว้ ย 3 ส่วนหลกั คือ

1.ส่วนอวกาศ (Space segment )
2.ส่วนสถานีควบคมุ (Control segment)
3.สว่ นผู้ใช้ (User segment)


Click to View FlipBook Version