The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hnoyza19400, 2022-01-05 22:18:16

กรณีศึกษา 3 (56_60)

กรณีศึกษา 3 (56_60)

การควบคุมของเหลวในร่างกาย

จดั ทำโดย

นางสาวเนติมา เอมโอช 64122301056
นางสาวบณั ฑิตา ทองคำ 64122301057
นางสาวบุษยา มากลู 64122301058
นางสาวปนิษตา พนั ชงั่ 64122301059
นางสาวปรัชญาพร อู่วงศ์ 64122301060

นกั ศึกษาพยาบาลช้นั ปี ที่ 1

นำเสนอ

อาจารยอ์ รุณรัตน์ โยธินวฒั นบำรุง

ภาคการเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2564
วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช

กรณีศึกษาที่ 3

ผปู้ ่ วยที่มีพฤติกรรมชอบรับประทานอาหารที่มีรสเคม็ จงอธิบายการควบคุมสมดุลอิเลคโตรลยั
ทใ์ นร่างกาย (อธิบายเป็นทฤษฎี และเขียนเป็น concept mapping)

วเิ คราห์โจทย์
การรับประทานอาหารที่มีรสเคม็ จะทำใหร้ ่างกายไดร้ ับโซเดียมเขา้ ไปในปริมาณมาก ซ่ึงอวยั วะที่

หลกั จะช่วยรักษาสมดุลของโซเดียมในร่างกาย กค็ ือ ไต โดยไตจะทำหนา้ ที่ขบั โซเดียมที่เกินมาในอาหาร
ปริมาณมากออกจากร่างกายทางปัสสาวะ โซเดียมท่ีเกินในร่างกายจะทำใหห้ ิวน้ำตอ้ งทานน้ำมากข้ึน และ
โซเดียมในร่างกายที่มากจะทำใหร้ ่างกายเกบ็ น้ำไวม้ ากข้ึน ส่งผลใหเ้ กิดความดนั โลหิตสูง ซ่ึงส่งผลตามมา
ทำใหค้ วามดนั ในหน่วยกรองของไตสูงข้ึน ถา้ ภาวะความดนั โลหิตสูงเกิดข้ึนเป็นระยะเวลานานจะส่งผลเสีย
ต่อการทำงานของไต ทำใหเ้ กิดการรั่วของโปรตีนในปัสสาวะ และเกิดการเสื่อมการทำงานของไตข้ึนหรือที่
เราเรียกกนั วา่ มีโรคไตเร้ือรังนน่ั เอง เมื่อไตทำงานลดลงมากกจ็ ะไม่สามารถขบั น้ำและโซเดียมท่ีเกินใน
ร่างกายออกไปไดเ้ พียงพอส่งผลใหเ้ กิดอาการบวม และทำใหค้ วามดนั โลหิตสูงข้ึน ซ่ึงความดนั โลหิตสูงกส็ ่ง
ผลใหก้ ารทำงานของไตแยล่ งไปอีกเป็นวฏั จกั รจนอาจนำไปสู่ภาวะไตวายเร้ือรังระยะสุดทา้ ยไดใ้ นที่สุด
นอกจากน้นั ภาวะบวม น้ำเกินในร่างกาย และความดนั โลหิตสูงยงั ส่งผลต่อการทำงานของหวั ใจทำใหห้ วั ใจ
ทำงานหนกั เกิดภาวะหวั ใจโต และภาวะหวั ใจลม้ เหลวได้ การทำงานของหวั ใจที่แยล่ งจะส่งผลทำใหโ้ รคไต
เร้ือรังแยล่ งไปอีก

บทบาทของอาหารเคม็ ต่อการเกิดโรคไต
โรคความดนั โลหิตสูงและโรคไตเร้ือรังเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคญั ของคนไทย จากการ

ศึกษาความชุกของโรค พบวา่ มีประชากรไทยที่เป็นความดนั โลหิตสูงไดถ้ ึง 1 ใน 4 ของผใู้ หญ่ หรือกวา่ 10
ลา้ นคน และพบวา่ มีประชากรไทยเป็นโรคไตเร้ือรังประมาณ 7 ลา้ นคน โดยส่วนมากเป็นโรคไตระยะเริ่มตน้
ซ่ึงถา้ ความดนั โลหิตสูงไม่ไดร้ ับการรักษาท่ีถกู ตอ้ งจะทำใหเ้ กิดโรคแทรกซอ้ นตามมา เช่น หวั ใจวายอมั พาต
และความเสื่อมจากการทำงานของไตนาํ ไปสู่ภาวะไตวาย หลกั สำคญั ในการดูแลรักษาผปู้ ่ วยโรคเหล่าน้ีคือ
ควบคุมความดนั โลหิต รักษาเบาหวาน รวมท้งั ป้ องกนั ภาวะแทรกซอ้ นทางหวั ใจและหลอดเลือด

อุปสรรคที่สำคญั ท่ีทำใหก้ ารควบคุมความดนั โลหิตไม่ไดต้ ามเป้ าหมายคือ การบริโภคเกลือปริมาณ
มากมีการเติมเกลือหรือน้ำปลาในการปรุงรสชาติอาหารใหม้ ีรส
เคม็  โดยเฉพาะคนไทยมีพฤติกรรมการบริโภคเกลือสูงถึง 2 เท่าของปริมาณท่ีร่างกายตอ้ งการ และผลเสียท่ี

ติดตามมากบั อาหารเคม็ กค็ ือ “โซเดียมสูง” ซ่ึงการรับประทานอาหารที่มีโซเดียมสูง ส่งผลเสียท้งั ทำใหค้ วาม
ดนั โลหิตสูง เพิ่มการร่ัวของโปรตีนในปัสสาวะ และยงั ส่งผลเสียต่อไตโดยตรง

จากการศึกษาพบวา่ คนที่รับประทานอาหารท่ีมีโซเดียมสูงเป็นประจำ มีโอกาสเป็นโรคหวั ใจและ
เสียชีวติ สูงกวา่ คนท่ีรับประทานอาหารท่ีมีโซเดียมในปริมาณท่ีเหมาะสม ดงั น้นั เราจึงควรมาทำความรู้จกั ส่ิง
ท่ีเรียกวา่ โซเดียม เพ่ือใหท้ ราบถึงบทบาทต่อร่างกายและวธิ ีการลดปริมาณโซเดียมในอาหารไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

โซเดียมคืออะไร
โซเดียมเป็นหน่ึงในเกลือแร่ที่สำคญั ในร่างกาย โดยระดบั โซเดียมปกติจอยทู่ ่ี  135-145 มิลลิอิคววิ า

เลนท/์ ลิตร ทำหนา้ ท่ีควบคุมสมดุลของเกลือแร่ การกระจายตวั ของน้ำในส่วนต่างๆของร่างกาย ควบคุม
สมดุลของกรด-ด่าง ควบคุมการเตน้ ของหวั ใจและชีพจร มีผลต่อความดนั โลหิตและการทำงานของเสน้
ประสาทและกลา้ มเน้ือ ร่างกายของเราไดร้ ับโซเดียมจากอาหาร ซ่ึงมกั อยใู่ นรูปของเกลือโซเดียมคลอไรด์
ทำใหม้ ีรสชาติเคม็  มกั ใชเ้ พ่ือปรุงรสหรือถนอมอาหาร เช่น น้ำปลา กะปิ นอกจากน้ีโซเดียมยงั แอบแฝงอยใู่ น
อาหารรูปแบบอื่นแต่ไม่มีรสชาติเคม็ เช่น ผงชูรส ผงฟู เป็นตน้

การรับและการขบั ออกโซเดียม (Sodium intake and output )
1.1 การรับโซเดียมเขาสู่ร่างกาย ปกติร่างกายรับโซเดียมจากส่วนประกอบของอาหารมากเกินพอ

ประมาณวนั ละ 130- 260 มิลลิโมล (ร่างกายตองการเพียง 1-2 มิลลิโมลเท่าน้นั ) หรือเท่าๆ กบั ปริมาณ
โซเดียมที่ขบั ถ่าย ออกทางปัสสาวะอุจจาระและเหงื่อในแต่ละวนั ส่วนมากจะอยใู่ นรูปของเกลือ โซเดียม
(NaCl) โดยเฉพาะในอาหารปรุงแต่งท่ีมีรสเคม็ (salted food) จากเครื่องปรุงรสอาหาร ต่างๆ เช่น กะปิ และ
น้ำปลา เป็นตน้

เม่ือเกลือโซเดียม (NaCl) ผา่ นระบบทางเดินอาหารจะถกู ดูด ซึมอยางรวดเร็วที่ บริเวณส่วนตนของ
สำไสเ้ ลก็ โซเดียมไหลเขา้ -ออกผา่ นเซลลท์ ี่เป็นเยอื่ บุของลำไส้ ดว้ ยวธิ ีท่ีตอ้ งอาศยั พลงั งาน

1.2 การขบั โซเดียมออกจากร่างกาย ปกติร่างกายไดร้ ับโซเดียมในรูปของเกลือโซเดียมคลอไร
ดจ์ ากอาหารประจำวนั ร่วมกบั การไดร้ ับน้ำ ซ่ึงส่วนใหญ่จะเขาไปอยใู่ นน้ำส่วนนอกเซลลแ์ ละโซเดียมส่วน
เกินจะถกู ขบั ออกจากร่างกายได้ 3 ทาง คือ

1.2.1 การขบั โซเดียมออกทางเหง่ือ ร่างกายจะสูญเสียโซเดียมทางเหง่ือวนั ละประมาณ 25
มิลลิโมล การขบั โซเดียมออกทางเหงื่อน้นั เป็นผลจากร่างกายตอ้ งการขบั ความร้อนออกมา โดยใชน้ ้ำเป็น
ตวั นำความร้อน) เพ่ือรักษา อุณหภมู ิร่างกายใหป้ กติ การที่โซเดียมถกู ขบั ออกมากบั เหง่ือจึงไม่ไดเ้ ป็นวธิ ีการ
ควบคุมจำนวนโซเดียมในร่างกายแต่การขบั โซเดียมออกทางเหง่ือข้ึนอยก่ บั การขบั เหง่ือออกมานอ้ ยเพียงใด
และข้ึนอยกู่ บั อิทธิพลของฮอร์โมน ACTH และ aldosterone ในสภาวะอุณหภมู ิปกติ การขบั เหง่ือออกมา
นอ้ ยจะทำใหข้ บั โซเดียมมีปริมาณนอ้ ยดว้ ย แต่ในสภาวะท่ีอากาศร้อน หรือหลงั การออกกำลงั กายหรือมีไข้
จะทำมีการเสียเหง่ือมากถึง 5 ลิตร/วนั กจ็ ะทาใหข้ บั โซเดียม ออกมามากข้ึนดว้ ย ( มากกวา่ 250 มิลลิโมล)
จำนวนโซเดียมที่ขบั ออกทางผวิ หนงั สามารถปรับตวั ไดเ้ อง เช่นคนที่อาศยั อยใู่ นประเทศที่มีอากาศร้อน
ความเขม้ ขน้ ของโซเดียมในเหง่ือจะลดลง

1.2.2 การขบั โซเดียมออกทางไต ร่างกายจะขบั โซเดียมส่วนเกินออกทางไตโดยร่วมอยใู่ น
ปัสสาวะมากท่ีสุด หรือเกือบ เท่ากบั ปริมาณมาณโซเดียมท่ีไดร้ ับ การขบั โซเดียมออกทางไตมีความสำคญั
มาก เพราะการปัสสาวะที่มีโซเดียมปนอยดู่ ว้ ยเป็นกลไกท่ีสำคญั ต่อการรักษาสถานภาพปกติของโซเดียมใน
ร่างกายท้งั หมด โดยจะเห็นโซเดียมที่ขบั ออกทางปัสสาวะจะมากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั จำนวนโซเดียมท่ีมีใน
อาหาร โซเดียมจะถกู ขบั ออกเป็นสดั ส่วนโดยตรงกบั การกรองที่โกลเมอรูลสั (glomerulus filtered rate ;
GFR) ปกติโซเดียมจะถกู กรองท่ีโกลเมอรูลสั ไดอ้ ยา่ งอิสระ แต่โซเดียมจะถกู ดูดซึมกลบั ที่ท่อกรวย ไตส่วน
ตน้ ร่วมกบั ไบคาร์บอเนต (ประมาณร้อยละ 70) , ท่ีส่วนโคง้ ของเฮนเล่ (loop of Henle) ร่วมกบั คลอไรดแ์ ละ
น้ำ (ประมาณร้อยละ 15) , ท่ีท่อกรวยไตส่วนปลาย (ประมาณร้อย ละ 5 ) , ท่ีท่อไตรวม (ร้อยละ 5) และท่ีท่อ
ไตรวมMedullary (ประมาณร้อยละ 5) ฉะน้นั จะมีโซเดียม ถกู ขบั ออกจริงๆ ไม่เกินร้อยละ 1 เท่าน้นั กลไก
เหล่าน้ีเกี่ยวของกบั ปริมาตรเลือดท่ีไหลผา่ นไตต่อหน่วยเวลาความดนั เลือด ปริมาณโปรตีน และอตั ราการ
แลกเปล่ียนกบั โมเลกลุ ของไฮโดรเจนอีกดว้ ย

1.2.3 การขบั โซเดียมทางอุจจาระ ร่างกายจะสูญเสียโซเดียมโดยปะปนออกไปกบั อุจจาระ
ไม่มากนกั ประมาณ 1-2 มิลลิโมล เท่าน้นั พร้อมกบั น้ำประมาณ 100-200 มิลลิโมลต่อวนั แต่ในระบบทาง
เดินอาหารจะมีการหลงั่ น้ำ ออกมาประมาณ 8 ลิตรต่อวนั ซ่ึงจะถกู ดูดกลบั เกือบท้งั หมด และในน้ำส่วนจะมี
อิเลก็ โตรไลทอ์ ยดู่ ว้ ยการสูญเสียน้ำในช่องทางเดินอาหาร เช่น ในกรณีอุจจาระร่วง หรือมีการอาเจียนอยา่ ง
รุนแรง จะส่งผลใหม้ ีการสูญเสียโซเดียมเพิ่มมากข้ึน

ผลของการรับประทานโซเดียมสูงต่อร่างกาย

การรับประทานโซเดียมในปริมาณท่ีมากหรือนอ้ ยเกินไป ลว้ นส่งผลเสียต่อร่างกาย จากการ

สาํ รวจของกรมอนามยั ร่วมกบั สถาบนั โภชนาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั มหิดล พบวา่ คนไทยส่วนใหญ่รับประทาน

โซเดียมมากถึงสองเท่าของปริมาณท่ีแนะนาํ ซ่ึงผลเสียของการรับประทานอาหารท่ีมีโซเดียมสูง มีดงั น้ี

1) เกิดการคงั่ ของเกลือและน้ำในอวยั วะต่างๆ

แมว้ า่ โซเดียมมีความจาํ เป็นต่อร่างกาย แต่หากมีโซเดียมมากเกินไป

ทาํ ใหเ้ กิดการคงั่ ของเกลือและน้ำในร่างกาย ในผทู้ ่ีสุขภาพแขง็ แรงไตยงั สามารถ

กาํ จดั เกลือและน้ำส่วนเกินไดท้ นั แต่ในผปู้ ่ วยโรคไตเร้ือรัง ซ่ึงมกั จะไม่สามารถ

กาํ จดั เกลือและน้ำส่วนเกินในร่างกายได้ ทำใหเ้ กิดภาวะคง่ั ของเกลือและน้ำในอวยั วะต่างๆ เช่น แขน ขา

หวั ใจ และปอด ผลที่เกิดข้ึนทำใหแ้ ขนขาบวม เหน่ือยง่าย แน่นหนา้ อก นอนราบไม่ได้ ในผปู้ ่ วยโรคหวั ใจ

น้ำท่ีคง่ั ในร่างกายจะทำใหเ้ กิดภาวะหวั ใจวายมากข้ึน

2) ทำใหค้ วามดนั โลหิตสูง

การรับประทานโซเดียมมากเกินไปทำใหค้ วามดนั โลหิตเพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะในกลุ่มผสู้ ูงอายุ ผปู้ ่ วยโรคไต

เร้ือรัง คนอว้ น และผปู้ ่ วยโรคเบาหวาน ภาวะความดนั โลหิตสูงทำใหเ้ กิดผลเสียต่อหลอดเลือดในอวยั วะ

ต่างๆ เช่น หวั ใจ และสมอง เกิดโรคหลอดเลือดหวั ใจตีบตนั โรคอมั พฤกษ์ อมั พาต ตามมา นอกจากน้ียงั พบ

วา่ ในผทู้ ่ีเป็นโรคความดนั โลหิตสูงอยแู่ ลว้ หากรับประทานโซเดียมในปริมาณที่เหมาะสมควบคู่กบั ยาลด

ความดนั โลหิตสามารถลดความดนั โลหิตไดด้ ีกวา่ ผทู้ ี่รับประทานยาลดความดนั โลหิต แต่ไดร้ ับโซเดียมเกิน

กำหนด

3) เกิดผลเสียต่อไต

จากการท่ีมีการคง่ั ของน้ำและความดนั โลหิตสูง ทำใหไ้ ตทำงานหนกั ข้ึน เพ่ือเพิ่มการกรองโซเดียมและน้ำ

ส่วนเกินของร่างกาย ผลที่ตามมาคือเกิดความดนั ในหน่วยไตสูงข้ึนและเกิดการร่ัวของโปรตีนในปัสสาวะ

มากข้ึนนอกจากน้ียงั กระตุน้ ใหร้ ่างกายสร้างสารบางอยา่ งเหล่าน้ี ซ่ึงทำใหไ้ ตเส่ือมเร็วข้ึน

4) เกิด Hypernatremia หรือภาวะโซเดียมในเลือดสูง เป็นภาวะท่ีร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดเกินค่า

มาตรฐาน ซ่ึงโซเดียมน้นั มีความสำคญั ต่อร่างกายหลายดา้ น เช่น ควบคุมปริมาณของน้ำในเซลลภ์ ายใน

ร่างกายใหส้ มดุล ช่วยดา้ นการทำงานของกลา้ มเน้ือและหวั ใจ เป็นตน้ แต่เมื่อโซเดียมในเลือดสูงอาจส่งผล

ใหม้ ีอาการกระหายน้ำมากกวา่ ปกติ อ่อนเพลีย หรือชกั เกร็ง ส่วนใหญ่ภาวะน้ีเกิดจากการรับประทานอาหาร

ที่มีโซเดียมสูง ดื่มน้ำนอ้ ยเกินไป หรือร่างกายเสียน้ำเป็นปริมาณมาก หากไม่ไดร้ ับการรักษาอาจมีผลกระทบ

ต่อสมองและเป็นอนั ตรายถึงข้นั เสียชีวติ ได้

การรักษาสมดุลอิเลคโตรลยั ทใ์ นร่างกาย

ร่างกายจะรักษาสมดุลไวด้ งั น้ี
1. อตั ราการกรองท่ีไต (GFR) : โดยในกรณีที่ร่างกายมี Na+ สูง จะมีการกรอง GFR สูงข้ึน ทำใหม้ ีการ
ขบั Na+ เยอะทางปัสสาวะ
2. Aldosterone Hormone : Aldosterone ทำหนา้ ท่ีดูดกลบั Na+ และ H2O กลบั เขา้ สู่ร่างกาย ดงั น้นั
เมื่อร่างกายมีปริมาณ Na+ สูง จึงทำให้ Aldosterone มีการหลง่ั นอ้ ย เพ่ือลดการดูดกลบั ของ Na+
3. Natriuretic Hormone : Natriuretic ทำหนา้ ท่ีเม่ือ Na+ สูง เกิดการกรองที่มากข้ึน และยบั ย้งั ไม่ใหม้ ี
การดูดกลบั ของ Na+



บรรณานุกรม

Patrangsit (2563, 18 สิงหาคม). กินเคม็ กบั โรคไต. https://shorturl.asia/z4swc

ณิชา สุนทรมีเสถียร (2562, 16 กรกฎาคม). ความหมาย ภาวะโซเดียมในเลือด. POBPAD.
https://www.pobpad.com/hypernatremia

อติพร อิงคส์ าธิต, กชรัตน์ วภิ าสธวชั , และสุรศกั ด์ิ กนั ตชูเวสศิริ (2563, 28 ตุลาคม). บทบาทของอาหารเคม็
ต่อการเกิดโรคไต. Rama Hopital. https://www.rama.mahidol.ac.th/rama_hospital/th
/services/knowledge/10282020-1441


Click to View FlipBook Version