The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kimza0221, 2019-01-21 09:34:40

องค์ประกอบและการกำหนดรายได้ประชาติ

บทน ำ

กำรก ำหนดขึ้นเป็นรำยได้ประชำชำติเป็นหัวใจของกำรศึกษำเศรษฐศำสตร์มหำภำค ซึ่งตำมทฤษฎีของเคนส์รำยได้ถูก
ก ำหนดโดยอุปสงค์มวลรวม (Aggregata Damand) ซึ่งประกอบด้วย ค่ำใช่จ่ำยเพื่อกำรบริโภค (Consumption Expenditure : C)

กำรลงทุน (Investment : I)ค่ำใช้จ่ำยรัฐบำล (Government Expenditure : G) และกำรลงทุนสุทธิ (Net Exports : X-M) กล่ำวคือ

ถ้ำค่ำใช่จ่ำยเหล่ำนี้มีมำก รำยได้ประชำชำติจะสูงตรงกันข้ำม ถ้ำค่ำใช่จ่ำยเหล่ำนี้มีน้อยรำยได้ประชำชำติจะต ่ำ อย่ำงไรก็ตำม
ค่ำใช่จ่ำยมวลรวมในขณะหนึ่งขณะใดไม่ควรมีมำกเกินไปจนกระทั่งเกิดกำรว่ำงงำน ค่ำใช่จ่ำยที่เหมำะสมจะต้องมีจ ำนวน

พอดีที่จะก่อให้เกิดกำรจ้ำงงำนเต็มที่ (Full Employment) โดยไม่มีเงินเฟ้อ

ดังนั้น ค่ำใช้จ่ำยมวลรวมเป็นตัวก ำหนดระดับรำยได้ประชำชำติ กำรศึกษำรำยละเอียดเกี่ยวกับค่ำใช้จ่ำยมวลรวม จึงเป็น

สิ่งจ ำเป็นส ำหรับกำรวิเครำะห์รำยได้ประชำชำติ

หน่วยที่ 8

องค์ประกอบและการก าหนดรายได้ประชาชาติ


8.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและรายได้

ปัจจัยที่ก ำหนดกำรบริโภคมีอยู่มำกมำย แต่ปัจจัยส ำคัญที่สุดคือ รำยได้ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งรำยได้ที่สำมำรถใช้จ่ำยได้
(Disposablo Income) ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรบริโภคและรำยได้เรียกว่ำ ฟังก์ชันกำรบริโภค (Consumption Function) ฟังก์ชั่นนี้

อธิบำยควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรบริโภคและรำยได้ โดยมีข้อสมมติว่ำปัจจัยอื่นที่ก ำหนดกำรบริโภคอยู่คงที่ เขียนเป็นสมกำรได้ ดังนี้

C = f ( Y )
d
C คือ ค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภค

Y คือ รำยได้ที่สำมำรถใช้จ่ำยได้
d
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรบริโภคและรำยได้เป็นควำมสัมพันธ์โดยตรง คือ ถ้ำรำยได้เพิ่มจะท ำให้กำรบริโภคเพิ่มด้วย และ

ถ้ำรำยได้ลดจะท ำให้กำรบริโภคลด โดยที่รำยได้ที่สำมำรถใช้จ่ำยได้ Y เท่ำกับค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภค (C) และกำรออม
d
(S) ซึ่งเขียนในรูปสมกำรได้

Y = C + S
d
ขณะที่กำรออม (Saving : S) ก็เป็นฟังก์ชันของ Y เช่นเดียวกัน
d
∴ S = f (Y )
d
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรออมและรำยได้ก็เหมือนกับควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรบริโภค และรำยได้ คือ รำยได้เพิ่มจะท ำให้

กำรออมเพิ่ม และถ้ำรำยได้ลดจะท ำให้กำรออมลด
8.2 ความโน้มเอียงในการบริโภคและการออม


นักเศรษฐศำสตร์จะก ำหนดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยได้และกำรออมในรูปแบบของควำมโน้มเอียงในกำรบริโภคและ
กำรออม 2 ชนิด

8.2.1 ควำมโน้มเอียงในกำรบริโภคตัวเฉลี่ย (Average Propensity to Consume : APC) และควำมโน้มเอียงในกำร

ออมตัวเฉลี่ย (Average Propensity to Save : APS)

∴ APC =


และAPS =

8.2.2 ควำมโน้มเอียงในกำรบริโภคหน่วยสุดท้ำย (Marginal Propensity to Consume : MPC) และควำมเอียงใน

กำรออมหน่วยสุดท้ำย (Marginal Propensity to Save : MPS)
MPC แสดงให้ทรำบว่ำ เมื่อรำยได้เปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย กำรบริโภคจะเปลี่ยนแปลงเท่ำไร เขียนเป็นสูตร

ดังนี้


MPC =

โดยที่ ∆ คือ ค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป

∆ คือ รำยได้ที่เปลี่ยนแปลง

MPS คือ อัตรำส่วนของกำรออมเปลี่ยนแปลงไปเมื่อรำยได้เปลี่ยนแปลง 1 หน่วย นั่นคือ


MPS =


∆ คือ เงินออมที่เปลี่ยนแปลง

เมื่อรำยได้เปลี่ยนแปลงจะถูกน ำมำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภคส่วนหนึ่งที่เหลือเป็นเงินออม

ดังนั้น MPC + MPS = 1 เสมอ
ตัวอย่ำงเช่น ถ้ำรำยได้เพิ่มขึ้น 100 ล้ำนบำท กำรบริโภคจะเพิ่มขึ้น 80 ล้ำนบำท

∴ MPC = 80 = 0.8
100


และ MPS = 20 = 0.2 (S = Y – C = 100 - 80 = 20)
100

ซึ่ง MPS + MPS = 0.8 + 0.2 = 1 เสมอ

MPC และ MPS มีควำมส ำคัญยิ่งในกำรวิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงรำยได้ เพรำะช่วยให้ทรำบผลกำรเปลี่ยนแปลง

รำยได้เมื่อค่ำใช้จ่ำยมวลรวมเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบันมักจะก ำหนดให้ MPC และ MPS ในระบบเศรษฐกิจหนึ่งๆ มีค่ำคงที่
8.3 ตารางการบริโภคและการออม


(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)


MPC MPS


ระดับรายได้ ค่าใช่จ่ายเพื่อ เงินออม (S) APC = C/Y APC = C/Y = ∆C/∆Y = ∆S/∆Y

การบริโภค (C)
บุคคล (Y) หรือ (1)(2) หรือ (2)/(1) หรือ (3)/(1) หรือ ∆(2)/∆(1) หรือ ∆ (3)/∆(4)


0 200 200 - - -



200 350 150 1.75 .75 .75 .25


400 500 100 0.80 .25 .75 .25


600 650 50 1.08 0.08 .75 .25


800 800 0 1 0 .75 .25



1,000 950 50 .95 0.05 .75 .25


1,200 1,100 100 .92 .08 .75 .25



1,400 1,250 150 .89 .1 .75 .25


1,600 1,400 200 .88 .13 .75 .25

1,800 1,550 250 .86 .14 .75 .25


2,000 1,700 300 .85 .15 .75 .25


จำกตำรำงที่ 8.1 แสดงระดับค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภคกำรออม ณ ระดับรำยได้ต่ำงๆ จำกค่ำดังกล่ำวเรำสำมำรถหำค่ำของ

APC,APS,MPC และ MPS (ดูช่อง 4,5,6 และ 7) จะเห็นว่ำค่ำของ MPC และ MPS คงที่ในทุกระดับรำยได้

จำกตัวเลขในตำรำงที่ 8.1 เรำสำมำรถเขียนเส้นกำรบริโภคและกำรออม ดังรูปที่ 8.1



กำรบริโภค
B


1,800 กำรออมเป็นบวก
1,200 กำรออมติดลบ C

d
800 D A C = f (Y )
600 E = กำรบริโภค กำรออมเท่ำกับ 0
400 จุดรำยได้ (break-event point)
45 ° รำยได้

Ca = 200 0
800 200 400 600 800 1,000 1,200 1,800
200 00 (Y
1) รูปที่ 8.1 เส้นบริโภค



จำกรูปที่ 8.1 แสดงส้นกำรบริโภคทุกจุดบนเส้น 45 แสดงว่ำ C = Y ดั้งนั้น เส้นกำรบริโภคตัดเส้น 45 ตรงระดับรำยได้

ใดระดับรำยได้นั้นจะมำกำรออมเป็น 0 (รำยได้เท่ำกับค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภค) จุดตัดของเส้น C กับเส้น 45 เรียกว่ำ break-

event point ตำมรูป คือ จุด A ณ ระดับรำยได้ 800 บำท ขอให้สังเกตว่ำจุดเริ่มต้นของเส้น C บนแกนที่วัดกำรบริโภคจะต้องอยู่

สูงกว่ำจุดก ำเนิด (คือ จุด 0) เสมอ ทั้งนี้ เพรำะแม้ไม่มีรำยได้เลยคนเรำก็ยังต้องบริโภคเพื่ออยู่รอด กำรบริโภค ณ ระดับใดเป็น

0 นี้ เรียกว่ำ autonomous consumption(ใช้ตัวย่อว่ำ Ca) ตำมรูป คือ 200 ดังนั้น เส้น C ก่อนจุด break-event จึงอยู่เหนือเส้น 45

ช่วงนี้กำรออมจะติดลบ (dissaving) เหนือจุด break-event เส้น C จะอยู่ใต้เส้น 45 แสดงว่ำกำรออมมำกกว่ำ 0 ขนำดของกำร

ออม คือ ขนำดของระยะห่ำงระหว่ำงเส้น C และเส้น 45 วัดตำมแกนตั้ง ตัวอย่ำงเช่น ณ ระดับรำยได้ Y (600บำท) กำรบริโภค
1

เท่ำกับ Y D (650บำท) กำรออมติดลบเท่ำกับ DE (50บำท)
1

รูปที่ 8.2 เส้นกำรออม



จำกรูปที่ 8.2 แสดงกำรออม (S) เส้นกำรออมตัดแกนรำยได้ ณ ระดับรำยได้ใดแสดงว่ำกำรออมเป็น 0 หรือค่ำใช้จ่ำย
เพื่อกำรบริโภคเท่ำกับรำยได้พอดี ตำมรูป เส้นกำรออมตัดแกนที่จุด A ซึ่งตรงกับระดับรำยได้ OY และเรียกจุกตัดนี้ว่ำ จุด

break-event เช่นเดียวกัน ขอให้สังเกตว่ำ จุด break-event บนเส้นกำรบริโภคและเส้นกำรออมจะต้องอยู่ตรงระดับรำยได้

เดียวกัน จุดเริ่มต้นของเส้น S จะตัดแกนออมต ่ำกว่ำ 0 (ดูรูป) เหตุผลคือ แม้รำยได้ไม่มีเลยกำรบริโภคก็ต้องเป็นบวก คือ
มำกกว่ำศูนย์ ดังนั้นกำรออมจึงต้องติดลบ กำรออม ณ ระดับรำยได้เป็น 0 เรียกว่ำ 0 เรียกว่ำ autonomous saving (ใช้ตัวย่อ S )
a
ซึ่งจะมีค่ำเท่ำกับ –C ช่วงของรำยได้ที่เส้นกำรออมอยู่ใต้แกนรำยได้จะมีค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภคสูงกว่ำรำยได้ กำรออมจึงติด
a
ลบ (ดูรูป) ช่วงของรำยได้ที่เส้นกำรออมอยู่เหนือแกนรำยได้จะมีค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภคสูงกว่ำรำยได้ กำรออมจึงติดลบ (ดู

รูป) ช่วงของรำยได้ที่เส้นกำรออมอยู่เหนือแกนรำยได้จะมีค่ำใช้จ่ำยในกำรบริโภคน้อยกว่ำรำยได้และเงินออมเป็นบวก (ดูรูป)


8.4 กฎว่าด้วยการบริโภคของเคนส์

เคนส์ ได้ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรบริโภคและรำยได้จำกข้อเท็จจริง และสรุปขึ้นเป็นกฎดังนี้

8.4.1 แม้รำยได้ไม่มีเลยกำรบริโภคก็จ ำเป็นต้องมีเพื่อยังชีวิตให้อยู่รอด หมำยควำมว่ำ ระดับรำยได้ก่อน break-event

จะมีค่ำ APC เกินกว่ำ 1 และค่ำ APS ติดลบ

8.4.2 MPC หรือ slope ของเส้นกำรบริโภคจะมีค่ำเป็นบวกเสมอเพรำะเมื่อรำยได้เพิ่มกำรบริโภคจะเพิ่ม และรำยได้


ลดกำรบริโภคจะลด

8.4.3 MPC มีค่ำน้อยกว่ำ 1 เสมอ และค่ำ APC จะลดลงเมื่อรำยได้เพิ่ม เพรำะอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงของค่ำใช้จ่ำยเพื่อ

กำรบริโภคจะน้อยกว่ำอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงของรำยได้

8.4.4 รำยได้ที่ใช้จ่ำยได้ของบุคคลจะถูกแบ่งออกเป็นค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภคส่วนหนึ่ง และเงินออมอีกส่วนหนึ่ง นั่น

คือ MPC+MPS จะเท่ำกับ 1 เสมอ เพรำะเมื่อรำยได้เพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งจะถูกใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภคส่วนหนึ่งจะเป็นเงินออม

8.4.5 MPC ณ ระดับรำยได้สูงจะมีค่ำต ่ำกว่ำ MPC ณ ระดับรำยได้ต ่ำกฎของเคนส์มีข้อสมมติว่ำ กำรบริโภคจะ

เปลี่ยนแปลงเมื่อรำยได้เปลี่ยนแปลงเท่ำนั้น

8.5 การลงทุน

กำรลงทุนมีควำมส ำคัญในกำรก ำหนดกำรเปลี่ยนแปลงรำยได้ กล่ำวคือ ถ้ำกำรลงทุนมีไม่มำกพอที่จะท ำให้ค่ำใช้จ่ำย


มวลรวมเท่ำกับมูลค่ำสินค้ำและบริกำรของระยะเดียวกัน รำยได้จะลด ตรงกันข้ำมถ้ำกำรลงทุนมีมำกเกินไปจนท ำให้

ค่ำใช้จ่ำยมวลรวมมีมำกเกินกว่ำมูลค่ำสินค้ำและบริกำรของระยะเดียวกันจะท ำให้ระดับรำคำสินค้ำสูงขึ้น ไม่เป็นผลดีต่อ

เศรษฐกิจ

นอกจำกนี้ กำรลงทุนยังมีควำมส ำคัญต่อกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ เพรำะกำรลงทุนสุทธิมีผลท ำให้สินทรัพย์

ประเภททุนในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ประเทศสำมำรถผลิตสินค้ำและบริกำรได้มำกขึ้นในอนำคต ประชำชนจะมีมำตรฐำน

กำรครองชีพดีขึ้น หำกประเทศใดไม่มีกำรลงทุนสุทธิจะท ำให้เศรษฐกิจถอยหลัง ไม่เจริญก้ำวหน้ำ

กำรลงทุน ประกอบด้วย ค่ำใช้จ่ำย 3ประเภท คือ ค่ำใช้จ่ำยเพื่อสร้ำงที่อำศัยและสถำนประกอบกำรผลิต ค่ำใช้จ่ำย

ซื้อเครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์กำรผลิตใหม่และส่วนเปลี่ยนในสินค้ำคงเหลือขอให้สังเกตว่ำ กำรลงทุนในสินทรัพย์ที่

เคยมีเจ้ำของมำแล้ว เช่น กำรซื้อใบหุ้นที่ไม่ได้ออกใหม่ กำรซื้อ ที่ดิน กำรซื้อของเก่ำที่ใช้แล้ว ไม่ถือเป็นกำรลงทุนทำง

เศรษฐศำสตร์ เป็นเพียงกำรลงทุนทำงกำรเงินเท่ำนั้น (Financial Investment) เพรำะกำรลงทุนดังกล่ำวไม่ได้ท ำให้สินทรัพย์


ประเภททุนในระบบเศรษฐกิจมีจ ำนวนมำกขึ้น

ตำรำงที่ 8.1 กำรลงทุนจ ำแนกตำมสถำบัน ปี พ.ศ.2554-2556


มูลค่ำกำรลงทุน ณ รำคำประจ ำปี อัตรำกำรขยำยตัวที่แท้จริง

(%)
รำยกำร (ล้ำนบำท)


2554 2555 2556 2554 2555 2556


กำรก่อสร้ำง 916,455 1,026,092 1,026,092 -4.6 7.4 0.3



ภำคเอกชน 469,477 521,987 521,987 6.7 7.8 4.8



ภำครัฐ 446,978 504,105 504,105 -14.2 7.0 -4.3


เครื่องจักรเครื่องมือ 2,004,838 2,291,669 2,291,669 9.9 11.5 -1.3



ภำคเอกชน 1,807,446 2,077,952 2,077,952 10.2 11.9 -2.2



ภำครัฐ 197,392 213,717 213,717 7 7.5 6.7


กำรลงทุน 2,921,293 3,317,761 3,317,761 4.9 10.2 -0.8



ภำคเอกชน 2,276,923 2,599,939 2,599,939 9.5 11.1 -0.8


ภำครัฐ 644,370 717,823 717,823 -8.6 7.1 -1



ที่มำ : รำยได้ประชำชำติของประเทศไทย พ.ศ. 2556 แบบปริมำณลูกโซ่

ตำรำงที่ 8.2 กำรออมและกำรลงทุนในประเทศ ปี พ.ศ. 2554-2556

มูลค่ำกำรลงทุน ณ รำคำประจ ำปี อัตรำกำรขยำยตัว (%)


รำยกำร (ล้ำนบำท)



2554 2555 2556 2554 2555 2556


กำรลงทุน 3,017,284 3,506,575 354,391 10.1 16.2 1.7



 ภำคเอกชน 2,276,923 2,599,939 2,551,440 17.8 14.2 -1.8


 ภำครัฐ 644,370 717,822 720,149 -2.5 11.4 -0.4



 ส่วนเปลี่ยนสินค้ำ 95,991 188,814 274,802 -34.9 96.7 64.3
คงเหลือ

กำรออมเบื้องต้น 3,147,741 3,460,177 3,482,704 3.1 9.9 1.2



 กำรออมสุทธิ 1,610,897 1,636,960 1,535,360 4.8 1.6 -11.2


 ค่ำเสื่อมรำคำ 1,738,526 1,948,081 2,081,526 9.3 12.1 6.4



 สถิติคลำดเคลื่อน -201,682 -124,864 -134,162 -171.7 38.1 44.6


ช่องว่ำงระหว่ำงกำรออม
130,457 -46,398 -63,667 -58.6 -135.6 -41.3
และกำรลงทุน



ที่มำ : รำยได้ประชำชำติของประเทศไทย พ.ศ. 2556 แบบปริมำณลูกโซ่

8.6 ปัจจัยก าหนดการลงทุน


กำรซื้อสินค้ำและบริกำรของผู้บริโภค มีวัตถุประสงค์เพื่อบ ำบัดควำมต้องกำรของผู้บริโภคเอง แต่รำยจ่ำยเพื่อกำร

ลงทุน ผู้ลงทุนมีจุดประสงค์เพื่อแสวงหำก ำไร กำรลงทุนจะมีมำกหรือน้อยจึงขึ้นอยู่กับก ำไรที่ได้รับ ส่วนก ำไรจะเป็น

อย่ำงไรขึ้นอยู่กับอัตรำดอกเบี้ยและอัตรำตอบแทนของกำรลงทุน

ในกำรตัดสินใจว่ำจะเลือกลงทุนในธุรกิจใด นอกจำกจะต้องค ำนึงผลตอบแทนสุทธิของโครงกำรนั้นๆ โดยเฉพำะ

แล้ว ผู้ลงทุนจ ำเป็นต้องเปรียบเทียบอัตรำผลตอบแทนสุทธิของโครงกำรอื่นๆ ด้วยและเลือกลงทุนในโครงกำรหรือกิจกำรที่

ให้อัตรำผลตอบแทนสุทธิสูงที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้

กำรวัดผลตอบแทนจำกกำรลงทุน นอกจำกจะวัดเป็นรำยได้เฉลี่ยต่อปีกล่ำวแล้ว ยังมีกำรวัดผลอีกแบบหนึ่งเรียกว่ำ


“ประสิทธิภำพของเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้นแต่ละหน่วย” (Marginal Efficiency of Capital : MEC ) ซึ่งก็คือ อัตรำผลตอบแทนที่ยัง

ไม่ได้หักอัตรำดอกเบี้ยที่ผู้ลงทุนคำดว่ำจะได้รับเมื่อกำรลงทุนเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ในกำรตัดสินใจของนักลงทุน MEC จะถูก

น ำมำเปรียบเทียบกับอัตรำดอกเบี้ยตรำบใดที่ MEC สูงกว่ำอัตรำดอกเบี้ย กำรลงทุนจะเพิ่มขึ้น กำรลงทุนจะสิ้นสุดเมื่อ MEC

ต ่ำกว่ำอัตรำดอกเบี้ย โดยปกติ MEC จะลดลง เมื่อกำรลงทุนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เพรำะกำรลงทุนเพิ่มท ำให้ผลิตผลมีจ ำนวนเพิ่มขึ้น

รำคำจึงลดต ่ำลง ขณะเดียวกันต้นทุนกำรผลิตจะสู.ขึ้นเพรำะควำมต้องกำรใช้ปัจจัยกำรผลิตเพิ่มขึ้น ก ำไรจึงลดลง



8.7 ปัจจัยก าหนด MEC


ปัจจัยก ำหนด MEC มีดังนี้
8.7.1 ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี เช่น กำรค้นพบผลิตภัณฑ์ใหม่ เทคนิคกำรผลิตแบบใหม่เครื่องมือเครื่องจักร

แบบใหม่ สิ่งเหล่ำนี้ท ำให้กำรลงทุนเพิ่มขึ้นเพรำะตำดว่ำจะท ำให้ได้รับก ำไรจำกกำรลงทุนมำกขึ้น เนื่องจำกกำรเป็นผู้ผลิต

รำยแรกมักจะได้รับกำรต้อนรับจำกลูกค้ำเป็นอย่ำงดี
8.7.2 ควำมมั่นใจของผู้ลงทุนเกี่ยวกับอนำคตของธุรกิจ เป็นปัจจัยอีกอย่ำงหนึ่งของก ำหนดระดับกำรลงทุน ถ้ำผู้

ลงทุนเชื่อว่ำอนำคตของธุรกิจจะเติบโตเจริญก้ำวหน้ำ กำรคำดคะเนก ำไรก็ต ่ำกำรลงทุนจะไม่มีหรือมีก็น้อยมำก ผู้ลงทุนจะ

คำดคะเนอนำคตของธุรกิจ โดยใช้ปัจจัยทำงเศรษฐกิจ เช่น อัตรำค่ำจ้ำง ดอกเบี้ยระดับรำคำสินค้ำ สภำวะแรงงำน และ

ปัจจัยนอกระบบเศรษฐกิจ เช่น สงครำมกำรเมือง ดินฟ้ำอำกำศ
8.7.3 รำคำสินค้ำทุน ค่ำใช้จ่ำย ค่ำบ ำรุงรักษำสินค้ำทุน เป็นปัจจัยส ำคัญที่ผู้ลงทุนต้องน ำมำพิจำรณำในกำร

คำดคะเนอัตรำก ำไรที่จะได้จำกกำรลงทุน คือ ถ้ำค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวมีมำก MEC จะต ่ำ กำรลงทุนมีน้อย ตรงกันข้ำม ถ้ำ

ค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวมีน้อย MEC จะสูง กำรลงทุนจึงมำก
8.7.4 ปริมำณสินค้ำที่มีอยู่ มีอิทธิพลต่อกำรคำดคะเนก ำไรของนักลงทุน เหตุผลนี้เห็นได้ชัดว่ำถ้ำอุตสำหกรรมที่มี

สินค้ำทุนมำกพอเพียง จะผลิตสินค้ำสนองควำมต้องกำรในปัจจุบันและอนำคตได้เป็นอย่ำงดี ไม่ต้องกำรลงทุนเพิ่ม จะท ำให้

MEC ลดต ่ำ ผู้ลงทุนจึงไม่สนใจ ตรงกันข้ำมกับอุตสำหกรรมที่ยังขำดแคลนสินค้ำทุนจะดึงดุดผู้ลงทุนได้เป็นอย่ำงดี เพรำะ

MEC สูง

8.7.5 นโยบำยของรัฐบำล มีบทบำทส ำคัญในกำรก ำหนดระดับกำรลงทุน เพรำะนโยบำยของรัฐบำลมีผลให้ MEC


สูงหรือต ่ำ เช่น นโยบำยภำษีมีผลให้ MEC ต ่ำลง แต่นโยบำยส่งเสริมกำรลงทุนมีผลให้ MEC สูงขึ้น


8.8 การลงทุนกับรายได้


กำรลงทุน ณ ระดับรำยได้ต่ำงๆ แยกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรก กำรลงทุนคงที่ทุกระดับรำยได้ เรียกว่ำ กำร

ลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment) อีกลักษณะหนึ่ง กำรลงทุนเปลี่ยนแปลงทำงเดียวกับระดับรำยได้ เรียกว่ำ กำร

ลงทุนแบบจูงใจ หรือ โน้มน ำ (Induced Investment)

8.1 กำรลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment : ld ) เป็นกำรลงทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงตำมระดับรำยได้ เส้นกำร

ลงทุนชนิดนี้จะเป็นเส้นตรงขนำนกับแกนนอน ซึ่งวัดรำยได้ ดังรูปที่ 8.3

จำกรูปที่ 8.3 คือ เส้นลงทุนแบบอิสระ ซึ่งจะเห็นได้ว่ำ ไม่ว่ำรำยได้จะเป็นเท่ำไร กำรลงทุนก็คงเหมือนเดิมไม่

เปลี่ยนแปลง คือ I กำรลงทุนแบบนี้ส่วนมำกเป็นกำรลงทุนของรัฐบำล ซึ่งไม่หวังผลก ำไรตอบแทน เช่น กำรลงทุนในกิจกำร
a
สำธำรณูปโภค กำรลงทุนสร้ำงถนนหนทำง

กำรลงทุน








I=I

a

I
a

รำยได้

รูปที่ 8.3 กำรลงทุนแบบอิสระ


8.2 กำรลงทุนแบบจูงใจ (Induced Investment) กำรลงทุนชนิดนี้เปลี่ยนแปลงทำงเดียวกับระดับเงินได้ คือ ถ้ำ

รำยได้เพิ่ม กำรลงทุนเพิ่มและถ้ำรำยได้ลด กำรลงทุนลด เส้นกำรลงทุนแบบนี้จังมีลักษณะเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้งเฉียงขึ้น
จำกซ้ำยไปขวำ ดังรูปที่ 8.4 (ก) และ (ข)


กำรลงทุน กำรลงทุน
I
i
I
i





รำยได้ รำยได้
รูปที่ 8.4 (ก) รำยได้เพิ่ม กำรลงทุนเพิ่ม รูปที่ 8.4 (ข) รำยได้ลด กำรลงทุนลด

จำกรูปที่ 8.4 (ก) I คือ เส้นตรงลงทุนแบบจูงใจ ซึ่งจะเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้งนั้น ขึ้นอยู่กับค่ำ MPI (Marginal
i
Propensity to Invest =∆I / ∆Y) คือ ถ้ำ MPI คงที่ทุนระดับรำยได้เส้นกำรลงทุนจะเป็นเส้นตรง ถ้ำ MPI ไม่เท่ำกันทุกระดับ

รำยได้เส้นกำรลงทุนจะเป็นเส้นโค้ง


โดยปกติ กำรลงทุนทั้งสิ้นในขณะใดขณะหนึ่งจะเท่ำกับผลรวมของกำรลงทุนแบบอิสระและกำรลงทุนแบบจูงใจ


เขียนสมกำรและรูปได้ ดังนี้


I = I + I
a
i
= Ia + i
Y
I คือ กำรลงทุนทั้งสิ้น กำรลงทุน

I คือ กำรลงทุนแบบอิสระ
a
I i คือ กำรลงทุนแบบจูงใจ I = I + iY
a
I คือ MPI (∆I / ∆Y)

-------------- ----- ∆I = ∆Y
∆Y = ∆X ∆ คือ ความชัน(slope)ของเส้น I

I
a

ซึ่งคือค่า MPI =

รำยได้
4
รูปที่ 8.5 เส้นกำรลงทุนแบบจูงใจ
ตัวอย่ำง จงหำกำรลงทุน ณ ระดับรำยได้ 5,000 ล้ำนบำท โดยสมมติให้ MPI = .30 และกำรลงทุนเมื่อยังไม่มีรำยได้เท่ำกับ

1,000 ล้ำนบำท

วิธีท ำ แทนค่ำลงในสูตร I = I + iY
a
I = 1,000 + .30 (5,000)

= 1,000 + 1,500

= 2,500 ล้ำนบำท

 ณ ระดับรำยได้ 5 พันล้ำนบำท กำรลงทุนจะเท่ำกับ 2,500 ล้ำนบำท



อุปทำนมวลรวม (Aggrefate Supply)

เคนส์ (Keynes) กล่ำวว่ำ ระดับกำรใช้จ่ำยมวลรวม (Total Expenditure) จะเป็นตัวก ำหนดปริมำณของผลิตภัณฑ์มวล
รวม โดยผู้ผลิตจะผลิตจ ำนวนเท่ำไหร่ ขึ้นอยู่กับจ ำนวนค่ำใช้จ่ำยมวลรวมที่คำดคะเนไว้ผู้ผลิตที่มีเหตุผลจะไม่ผลิตผลผลิต

มำกกว่ำหรือน้อยกว่ำค่ำใช้จ่ำยมวลรวมที่คำดคะเนไว้ เพรำะจะท ำให้เกิดควำมต้องกำรหรือเกิดกำรขำดแคลน ดังนั้น เส้น

อุปทำนมวลรวมจึงเป็นเส้นตรงออกจำกจุดก ำเนิน (Origin) แล้วท ำมุม 45֯ กับแกนทั้งสอง ซึ่งแสดงว่ำทุกๆ จุดบนเส้นนี้

ผลิตภัณฑ์มวลรวมมีมูลค่ำเท่ำกับค่ำใช้จ่ำยมวลรวม

ค่ำใช้จ่ำยมวลรวมที่คำดคะเน




เส้นอุปทำนมวลรวม (AS)







45֯ ผลิตภัณภัณฑ์มวลรวม

รูปที่ 8.8 เส้นอุปทำนมวลรวม (AS)


กำรก ำหนดขึ้นเป็นรำยได้ประชำชำติดุลยภำพ โดยเส้นค่ำใช้จ่ำยมวลรวม (AD) และเส้นผลิตภัณฑ์มวลรวม (AS)


ค่ำใช้จ่ำยมวลรวม



AD [C + l1 + G + (X – M)]
2
AD [C + l + G + (X – M)]
1






ค่ำใช้จ่ำยอิสระ
45֯ ผลิตภัณภัณฑ์มวลรวม
Y1 Y2




รูปที่ 8.9 กำรก ำหนดรำยได้ประชำชำติดุลยภำพจำกรำยจ่ำยมวลรวมที่คำดคะเนไว้แล้วรำยได้ดุลยภำพที่เปลี่ยนแปลง


ตำมรูปที่ 8.9 ระดับรำยได้ประชำชำติดุลยภำพจะอยู่ ณ จุด E ที่ระดับรำยได้ประชำชำติ Oy สมมุติว่ำองค์ประกอบ
1
1
ของรำยได้ประชำชำติ คือ G เพิ่มขึ้น เส้น AD จะขยับสูงขึ้นเป็น AD จุดดุลยภำพ จะเปลี่ยนเป็น E ระดับรำยได้ประชำชำติ
2
2
1
ดุลยภำพจะเพิ่มขึ้นเป็น Oy
2


Click to View FlipBook Version