The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุมชนคุณธรรมฯ บ้านทุ่งฝน หมู่ ๘

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanathippojit281, 2023-11-01 04:58:49

ชุมชนคุณธรรมฯ บ้านทุ่งฝน หมู่ ๘

ชุมชนคุณธรรมฯ บ้านทุ่งฝน หมู่ ๘

ส่วนที่ 1 บริบทชุมชน ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน โดยสังเขป ชาวบา้นทุ่งฝน เป็นกลุ่มชนชาวลาวที่มีถิ่นฐานแหล่งกา เนิด บริเวณบา้น หาดทรายฟอง บา้นตาแสง บ้าน สีฐาน เมืองศรีโคตรตะบอง นครเวียงจันทน์ บรรพบุรุษได้อพยพมาเนื่องจากสาเหตุ ๒ประการ คือ ๑. จากเหตุการณ์สงครามจีนฮ่อ เข้ายึดครองนครประเทศลาว ที่ประชาชนอพยพไปจนถึง นครนายก ปราจีนบุรี ๒. จากสาเหตุแตกทัพจากศึกทุ่งส าริด เมืองโคราช กลับไปยังนครเวียงจันทน์ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๐ ท้งัสองกลุ่มไดอ้พยพจะเดินทางกลบัไปยงับา้นเกิดแต่เนื่องจากเกิดโรคระบาด จึงตอ้งยอ้นกลบัเขา้มาในประเทศ สยามอีกคร้ังและเดินทางเลยมาจนถึงแหล่งที่ต้งับา้นทุ่งฝนจนปัจจุบนั เดิมบา้นทุ่งฝน ข้ึนกบัตา บลบา้นเชียง อา เภอหนองหาร จงัหวดัอุดรธานีจนเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๘ มีการขอ แยกเขตการปกครองเป็นกิ่งอา เภอทุ่งฝน จึงไดแ้ยกต้งับา้นทุ่งฝน เป็นตา บลทุ่งฝน และแยกบา้นทุ่งฝน เป็นหมู่ที่ ๑ และหมู่ที่ ๘ ต าบลทุ่งฝน อ าเภอหนองหาร จังหวัดอุดรธานี ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ต าบลทุ่งฝนได้รับการยกฐานนะ เป็นกิ่งอา เภอทุ่งฝน เมื่อวนัที่๑ กรกฎาคม ๒๕๑๙ และไดร้ับการยกฐานะเป็นอา เภอทุ่งฝนในลา ดบัต่อมา จึงเป็น ที่ต้งัใหม่เป็นบา้นทุ่งฝน หมู่ที่๘ ตา บลทุ่งฝน อา เภอทุ่งฝน จงัหวดัอุดรธานีจนปัจจุบนั รายชื่อผู้น าหมู่บ้าน ๑ นายบัวเรียน สมบัติก าไร เป็ นผู้ใหญ่บ้าน ๒ นายอ าคา สมบัติก าไร เป็ นผู้ใหญ่บ้าน ๓ นายทะ ส าคัญควร เป็ นผู้ใหญ่บ้าน ๔ นายบุญ ฤกษ์มา เป็ นผู้ใหญ่บ้าน ๕ นายประเดช หิตะคุณ เป็ นผู้ใหญ่บ้าน ๒ สมัย ๖ นายประดิษฐ สิทธิพรม เป็ นผู้ใหญ่บ้าน ที่ตั้ง ทิศเหนือ จดบ้านท่าช่วง หมู่ที่ ๖ ต.ทุ่งฝน อ.ทุ่งฝน จ.อุดรธานี ทิศใต้ จดบ้านทุ่งฝน หมู่ที่ ๑ ต.ทุ่งฝน อ.ทุ่งฝน จ.อุดรธานี


ทิศตะวันออก จดแม่น้า สงคราม ติดต่อกบัเขตอา เภอสวา่งแดนดิน จงัหวดัสกลนคร ทิศตะวันตก จดกับบ้านทุ่งฝน หมู่ที่ ๑๑ ต.ทุ่งฝน อ.ทุ่งฝน จ.อุดรธานี ลกัษณะภูมิประเทศ บา้นทุ่งฝน หมู่ที่๘ มีพ้ืนที่เป็นที่ราบลุ่ม แม่น้า สงครามและลา ห้วยโคน้ซ่ึงเป็นแหล่งน้า หลกัในการทา การเกษตร มีพ้ืนที่ท้งัหมด ๓,๔๓๐ไร่ เป็นพ้ืนที่ทา นา ๒๘๗๕ ไร่จา นวน ๓๗๐ ครอบครัว เป็นพ้ืนที่ทา ไร่๗๓๐ ไร่จา นวน ๙๔ ครอบครัว พ้ืนที่สาธารณะ ๒๕ ไร่ ประชากร/ครัวเรือน จ านวนครัวเรือน ๔๖๔ ครัวเรือน จ านวนประชากร ๑,๕๖๔ คน เป็ นชาย ๗๐๑ คน หญิง ๘๖๓ คน จ านวนผู้สูงอายุ ๑๖๕ คน ผู้พิการ ๑๓ คน เด็กไร้อุปการะ - คน จ านวนผู้ยากจน ๑ ครัวเรือน ผู้น าและผู้แทนประชาชน ผู้ใหญ่บ้านชื่อ นายประดิษฐ์ สิทธิพรม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน(๑)ชื่อ นายบัณฑิต เบิกสีใส (๒)ชื่อ นางค าพวง จันทร์ประทักษ์ สมาชิก อบ. (๑)ชื่อ นายปัญญา มาตรเหลือง (๒) ชื่อ นายประเดช หิตะคุณ สมาชิก ท้อ. ๑. นายพรชัย ฤกษ์มา ๒. นายพงษ์ดนัย กาละครัว ๓.นายค าตัน แสงนันดา เขตการบริหารจัดการภายในหมู่บ้านแบ่งออกเป็น ๑๐ คุ้ม คุ้มที่ ๑ คุ้มหนองบักซ่อม ประธานคุ้ม นายบุญกอง ขันเดช คุ้มที่ ๒ คุ้มวัด ประธานคุ้ม นางล าไย สีมี คุ้มที่ ๓ คุ้มกลางบ้าน ประธานคุ้ม นางบุญยืน ปิ ตาคะโส คุ้มที่ ๔ คุ้มตลาด ประธานคุ้ม นายค าหม่อน โคกสถาน คุ้มที่ ๕ คุ้มนาน้อย ประธานคุ้ม นางบุญอิน สีค า


คุ้มที่ ๖ คุ้มโพนธาตุ ประธานคุ้ม นางแดง หอมกระชาย คุ้มที่ ๗ คุ่มหมากต้องใหญ่ ประธานคุ้ม นางเทพิน เข็มพรมมา คุ้มที่ ๘ คุ่มนาไฮ่หลุบ ประธานคุ้ม นางพรพิลา ทิวาพัฒน์ คุ้มที่ ๙ คุ้มดอกมันปลา ประธานคุ้ม นางสมใจนึก ปิ ตาคะโส คุ้มที่ ๑๐ คุ้มบ้านเหมือด ประธานคุ้ม นายประยนต์ เสนามนู ข้อมูลด้านอาชีพ รายได้และการมีงานท า มีพ้ืนที่ท้งัหมด ๓,๔๓๐ไร่ เป็นพ้ืนที่ทา นา ๒๘๗๕ ไร่จา นวน ๓๗๐ ครอบครัว เป็นพ้ืนที่ทา ไร่๗๓๐ ไร่จา นวน ๙๔ ครอบครัว พ้ืนที่สาธารณะ ๒๕ ไร่ รายได้เฉลี่ย ๔๓,๕๐๐ บาท ต่อครอบครัวต่อปี ข้อมูลด้านแหล่งน ้าเพื่ออุปโภค/บริโภคและการเกษตรในหมู่บ้าน -แม่น้า สงคราม -ล าห้วยโคน -หว้ยข้ีสูต -หนองบ่อร้าง ห้วยวังปลาเข็ง ประปาส่วนภูมิภาค ข้อมูลด้านร้านค้าและสถานบริการในหมู่บ้าน -ร้านคา้ทวั่ ไป ๒๐ แห่ง -ป้ัมจา หน่ายน้า มนั (ปั๊มหลอด) ๒ แห่ง -ตลาดสดเทศบาลต าบลทุ่งฝน -หอกระจายข่าว ๑ แห่ง -บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร ๒๗๐ บ่อ -บ่อน้า ต้ืน ๑๑ บ่อ -ประปาส่วนภูมิภาค ๑ แห่ง - สถานีวิทยุกระจายเสียง ๑ แห่ง คลื่น ๑๐๔.๕ Maz สถานที่ส าคัญในหมู่บ้าน -วัดโพธิ์ ศรีทุ่ง (ม) (ส านักเจ้าคณะอ าเภอทุ่งฝน) จ านวนพระ ๗ รูป -วัดเวฬุวนาราม (ธ) จ านวนพระ ๕ รูป -ศาลหลักเมือง โพนธาตุ


ศิลปวัฒนธรรม/ประเพณีที่ส าคัญ/ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีเทศกาลงานบุญตามประเพณีของชาวทุ่งฝนที่ถือปฏิบตัิสืบทอดกนัมาต้งัแต่บรรพบุรุษ กลุ่มอาชีพ และ ผลติภัณฑ์ชุมชน กลุ่มอาชีพ ๑.กลุ่มทอผ้า มีสมาชิก ๒๐ คน ๒.กลุ่มทอเสื่อกก มีสมาชิก ๘ คน ๓.กลุ่มขนมไทย มีสมาชิก ๕ คน ๔.กลุ่มแปรรูปอาหาร - ปลาร้าบอง -กล้วยฉาบ มีสมาชิก ๖ คน ๕ เกษตรอินทรี มีสมาชิก ๔ คน ๖. กลุ่มแปรรูปเศษไม้ มีสมาชิก ๔ คน เดือน มกราคม ประเพณี บุญเทศกาลข้ึนปีใหม่ เดือน กุมภาพันธ์ ประเพณี ๑.บุญกองข้าวใหญ่(บูชาแม่โพสพ) ๒.ประเพณีแห่ต้นกล้วยน้อยบังสุกุล บูชาหลวงพ่อทองค า ในวัน เพ็ญเดือน ๓ (มาฆะมาส) เดือน มีนาคม ประเพณี บุญเดือนสี่ เดือน เมษายน ประเพณี งานเทศกาลสงกรานต์ เดือน พฤษภาคม ประเพณี บุญบ้งัไฟ เดือน มิถุนายน ประเพณี แห่ต้นกล้วยน้อยบังสุกุล บูชาหลวงพ่อทองค า ในวันเพ็ญเดือน ๖ (วิสาขะมาส) เดือน กรกฎาคม ประเพณี บุญเข้าพรรษา เดือน สิงหาคม ประเพณี บุญข้าวประดับดิน เดือน กันยายน ประเพณี บุญข้าวสาก เดือน ตุลาคม ประเพณี ๑.บุญออกพรรษา ๒.แห่ตน้กลว้ยนอ้ยบงัสุกุลและปราสาทผ้ึง บูชาหลวงพ่อทองคา เดือน พฤศจิกายน ประเพณี บุญกฐิน เดือน ธันวาคม ประเพณี เทศกาลวนัสิ้นปีเก่า


๗.กลุ่มเล้ียงไก่พนัธุ์พ้ืนเมือง มีสมาชิก ๑๒ คน ๘.กลุ่มดนตรีพ้ืนเมือง มีสมาชิก ๒๐ คน ผลติภัณฑ์ชุมชนดีเด่น ไดแ้ก่ -ชื่อผลิตภัณฑ์ ต่อเงินต่อทอง -ชื่อผลิตภัณฑ์ เสื่อกกยกลาย ลายต้นกล้วยน้อยบังสุกุล แหล่งทุนในหมู่บ้าน ๑ กองทุนหมู่บ้านทุ่งฝน หมู่ที่ ๘ มีทุนหมุนเวียน ๒,๗๗๐,๐๐๐ บาท ๒ กองทุนฌาปนกิจหมู่บ้าน มีทุนหมุนเวียน ๙๖,๕๐๐ บาท ๓ กองทุนปุ๋ ยอินทรีชีวภาพอัดเม็ด มีทุนหมุนเวียน ๑๒๐,๐๐๐ บาท ท าเนียบปราชญ์ชาวบ้าน ผู้มีความรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆในชุมชน ที่ ชื่อ – สกุล ความรู้ความสามารถพเิศษ ๑ นายพิสิทธิ์ โนนคู่เขตโขง -งานฝี มือการประดิษฐ์เศษไม้ -การเล่นหมากกบั๊แกบ้ ๒ นายอุทัย สินสม การดีดพิณ ๓ นายสมพร นักสาน การเป่ าแคน ๔ นายสมบุญ ภูพวงนิน การตีกลองยาว ๕ นายภักดี บุคสิงหา การเกษตรอินทรีย์ ๖ นางประยงค์ เต็มตาวงษ์ การเกษตรอินทรีย์ ๗ นายสมพงษ์ จันทรเสนา การเกษตรอินทรีย์ ๘ นายเพญ็ศรีไผเ่ฟ้ือย การเกษตรอินทรีย์ ๙ นายบุญจันทร์ นามโส หมอพ้ืนบา้น ๑๐ นายบัววร แสงนันดา หมอสมุนไพร ๑๑ นางเทพิน เข็มพรมมา สรภัญญะ ๑๒ นางล าดวน ค ามะโนชาติ สรภัญญะ ๑๓ นายค าป้อง ทุ่งฝนภูมิ ผญา ๑๔ นายสมบูรณ์ ภูผาจง หมอพราหมณ์ ๑๕ นายสุวิทย์ ปุ่ ยน้อย (แอ่ง) การตีกลองร ามะนา ฉางฉาบ วงกลองยาว


การวิเคราะห์สภาพหมู่บ้าน ๑.จุดแข็งในการพฒันาหมู่บ้าน ๑.๑ ประชาชนมีความสามัคคีและให้ความร่วมมือในการพัฒนาหมู่บ้าน ๑.๒ ประชาชนในหมู่บ้านรวบรวมกลุ่มเพื่อท าอาชีพเสริม ๑.๓ ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาและศาสนา ๒.จุดอ่อนในการพฒันาหมู่บ้าน ๒.๑ ราคาผลผลิตทางการเกษตรต ่า ๒.๒ ประชาชนขาดโอกาสเข้าถึงแหล่งข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย ๒.๓ แหล่งน้า ในการอุปโภค บริโภคขาดการปรับปรุงพฒันา ๓. โอกาสในการพฒันาหมู่บ้าน ๓.๑ ผู้น าชุมชนมีความสามารถในการออกแบบการพัฒนาหมู่บ้าน ๓.๒ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านของคนในชุมชน ๔.อุปสรรคในการพฒันาของหมู่บ้าน ๔.๑ ขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน ภายในปี ๒๕๗๐ บ้านทุ่งฝนหมู่ที่ ๘ จะพัฒนาและส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี ให้สอดคล้องกับวิถี ความเป็นอยขู่องชุมชน จนเป็นเอกลกัษณ์อตัลกัษณ์สู่การท่องเที่ยวแบบนวตัถีที่ยงั่ยนื ค าขวัญอ าเภอทุ่งฝน ทุ่งฝนแดนอีสาน คู่บ้านวัดโพธิ์ ศรีทุ่ง นุ่งผ้าลายหมี่ขิด ศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อทองค า เลิศล้า ขา้วเจา้มะลิหอม งามพร้อมธรรมชาติหนองแลง้ ค าขวัญบ้านทุ่งฝน หมู่ที่8 หลวงพ่อทองค าโพธิ์ ศรีทุ่ง บ้านทุ่งฝนยลตระการ โพนธาตุงามคู่บ้าน อภิบาลอารยธรรม


เจตนารมณ์ของชุมชนคุณธรรม บ้านทุ่งฝน หมู่ที่๘ ต าบลทุ่งฝน มีกฎ ระเบียบ กติกา ของหมู่บ้าน ล าดับ กฎกติกาของหมู่บ้าน บทลงโทษ ๑ ห้ามยิงปื นในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๕๐๐ บาท ๒ ห้ามเล่นการพนันในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๓ ห้ามละเลาะวิวาทหรือส่งเสียงรบกวนคนอื่นให้เกิดความร าคาญ ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๔ ทุกครัวเรือนปลอดลูกน้า ยงุลาย พบเห็น ฝ่ าฝื นปรับ ๕๐ บาท ๕ ห้ามสูบบุหรี่หรือสุราในที่สาธารณะ ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๖ ห้ามขับรถเสียงดังเกินกฎหมายก าหนดในยามวิกาล ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๗ ห้ามเผาขยะ เผาถ่าน ในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๘ ห้ามลักทรัพย์ของคนอื่น โดยเจตนาหรือไม่เจตนาก็ตามในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๓๐๐ บาท ๙ หา้มเสพหรือจา หน่ายสิ่งเสพติดร้ายแรงทุกชนิดในหมู่บา้น ฝ่ าฝื นปรับ ๕๐๐ บาท ๑๐ ห้ามเรี่ยไรในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๕๐๐ บาท ๑๑ ทุกครัวเรือนไม่ซ้ือสิทธ์ิขายเสียง ฝ่ าฝื นงดเว้นการ ให้บริการทางสังคม ค่านิยม ๑๒ ประการ ๑ มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒ ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน ๓ กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบออาจารย์ ๔ ใฝ่หาความรู้หมนั่ศึกษาเล่าเรียนท้งัทางตรงและทางออ้ม ๕ รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย ๖ มีศีลธรรม และรักษาความสัตย์ ๗ เข้าใจเรียนรู้ประชาธิปไตย ๘ มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ ๙ มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ท า ๑๐ รู้จักด ารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๑ มีความเข้มแข็ง และจิตใจไม่ยอมแพ้ต่ออ านาจฝ่ ายต ่า ๑๒ ค านึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตัวเอง


ศาสนสถาน โบราณสถาน วดัโพธ์ิศร ี ทุ่ง การก่อต้ังวัดโพธ์ิศรีทุ่ง หลงัจากที่มีการรวมกลุ่มต้งัหมู่บา้นและมีผนู้า แลว้กลุ่มนายพรานที่ออกหาล่าสัตวจ์ึงเล่าใหก้บัผนู้า หมู่บ้านห่างจากหมู่บ้านเข้าไปในป่ าดงทึบจะมีไม้โกทาเป็ นส่วนใหญ่ พวกเขาได้ล่าสัตว์เช่น หมูป่ า กระต่าย ไก่ป่า สัตวเ์หล่าน้ีมกัจะวิ่นเขา้ไปในดงน้นัพวกพรานใชป้ืนยงิยงัไงก็ไม่แตกและกลบับา้นมือเปล่าทุกคร้ังที่ เขา้ไปบริเวณน้นัคิดวา่คงจะมีอาถรรพอ์ะไรสักอยา่งปืนถึงยงิไม่ออกคณะผนู้า หมู่บา้นและชาวบา้นจึง ร่วมกนัไปถางป่าบริเวณน้นัจนพบวา่มีพระธาตุและกู่บรรจุพระพุทธรูปอยมู่ากมาย ชาวบา้นจึงไดร้่วมกนั ถากถางป่าบูรณะเจดียแ์ละกู่พระถางป่าจนโล่งเตียน และในบริเวณน้นัยงัมีตน้ โพธ์ิขนาดใหญ่จา นวน 2 ตน้ จึงต้งัชื่อวดัวา่วดัโพธ์ิศรี 1. วัดโพธิ์ ศรีทุ่ง พระพุทธรูปส าคัญที่พบในกู่ 1.หลวงพ่อทองค า เป็ นพระคู่บ้านคู่เมืองของชาวทุ่งฝนในปัจจุบัน 2.หลวงพ่อนาคปรก 1องค์ เป็ นพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์ และชาวบ้านจะน ามาเป็ นพระพุทธรูปเสี่ยง ทายโชคชะตาในเวลาที่มีการจัดงาน 3.พระพุทธรูปปางลีลา และพระพุทธรูปอื่นอีกจ านวนมาก


อูปหลวงพ่อทองค า หลวงพ่อทองค า หลวงพ่อทองค า เป็ นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย รูปทรงบางหลงัเอนซึ่งเป็นเอกลกัษณ์รูปแบบของลาวหลวง พระบาง หน้าตักกว้าง 22 นิ้ว สูง 37 นิ้วฐานกวา้ง 38 นิ้ว สูงจากฐานถึงยอดเกศ58 นิ้ว สร้างเมื่อวนัองัคาร แรม 10 ค ่า เดือน 4 ปี ฉลู จศ.23 (พ.ศ.1204) หลวงพ่อทองค าด้านหน้า พระที่อยภู่ายในอูป(กู่)


(รอยจารึกหลักฐานการสร้างหลวงพ่อทองค าที่ฐานด้านหน้าขวา เป็ นภาษาโบราณ อ่านแปลความได้ว่า จุล ศักราชล่วงแล้ว 23 ต้นปี ฉลู เดือน 4 แรม 10 ค ่า วันอังคาร แปลโดยพระอริ ยานุวัตรเจ้าคณะจังหวัด มหาสารคาม วัดมหาชัย) (จุลศักราชมีหลังพุทธศักราช1181ปี ) “โพนธาตุ” ที่อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของวัดโพธิ์ ศรีทุ่ง เป็ น “พระธาตุประทุมเจดีย์(พระธาตุหมากโม) เป็ นสถาปัตยกรรมแบบหลวงพระบาง ที่มีเจดีย์แบบเดียวกันที่วัด “วิชุนศรัทธาราม” วัดคู่บ้านคู่เมืองของ “นคร หลวงพระบาง” พระธาตุโพธ์ิศรี พระธาตุในปัจจุบนัเดิมน้ันเป็นพระปรางค์ทรงสี่เหลี่ยมยอดตดั ไม่เป็นอย่างเช่นทุกวนัน้ีด้วยเหตุที่ ก่อสร้างมานานและไม่มีหลกัฐานบ่งบอกว่าสร้างมาแต่สมยัใด เกิดการชา รุดปรักหักพงัปลายยอดแตกออกเป็น สองแฉกแต่ไม่หลุดจากกัน ต่อมาคณะผู้น าและชาวบ้านจึงได้ร่วมใจกันบูรณะซ่อมแซมข้ึนใหม่โดยก่ออิฐขยาย ฐานใหก้วา้งข้ึนเพื่อครอบพระปรางคอ์งคเ์ดิมโดยจา ลองรูปแบบมาจากพระธาตุพนม อยา่งที่เห็นในปัจจุบนั


พระธาตุโพธิ์ ศรี ในปีพุทธศกัราช 2400 ปรากฏหลกัฐานการต้งัชื่อวดัเนื่องจากสถานที่ต้งัวดัมีตน้ โพธ์ิใหญ่2 ตน้ภายใน วดัจึงต้งัชื่อวดัว่า “วัดโพธิ์ศรี”แต่เมื่อมีการตรวจสอบชื่อวัดเพื่อก าหนดขอบเขตวิสุงคามสีมา ปรากฏชื่อวัดพ้อง กันกับ วัดโพธิ์ศรีของบ้านเชียง และเดิมวัดโพธิ์ ศรีของบ้านเชียงจะเรียกกันว่า วัดใน เนื่องจากมีสองวัด อีกวัด หนึ่งเรียกวัด วัดนอก “วัดสระแก้ว”จึงให้วัดโพธิ์ ศรี บ้านเชียง ชื่อว่า วัดโพธิ์ศรีใน วัดโพธิ์ ศรีที่บ้านทุ่งฝน ชื่อว่า วัดโพธ์ิศรีทุ่ง ตามชื่อของหมู่บ้าน วัดบ้านเหมือด (วัดเวฬุวนาราม) บ้านเหมือด เป็นสถานที่แห่งแรกที่กลุ่มชาวลาวพลดัถิ่นมาต้งัหลกัปักฐานก่อนที่จะมาต้งับา้นทุ่งฝน ซ่ึง สถานที่แห่งน้ีมีร่องรอยของการก่อต้งัหมู่บา้นก่อนหน้าน้ีแลว้มีหลกัฐานที่ยงัเหลือให้เห็นคือ “เจดีย์วัดบ้าน เหมือด” เป็นเจดียข์นาดเล็กที่ก่อสร้างจากอิฐที่ทา จากดินผสมยางไมแ้ลว้เผาเป็นสถาปัตยกรรมของลาวเชื่อว่าได้ ก่อสร้างไวเ้มื่อคณะเดินทางมาต้ังหลักแหล่งอยู่ที่บ้านเหมือด จึงได้สร้างศาสนสถานเพื่อประกอบพิธีของ พุทธศาสนิกชนที่นบัถือกนัมา สภาพที่เห็นในปัจจุบนั ไดก้่ออิฐโบกปูนครอบองค์เดิมไว้เพื่อไม่ให้พังทลายตาม กาลเวลา วัดเวฬุวนาราม (วดับา้นเหมือด) ต้งัอยู่ที่บา้นทุ่งฝน หมู่ที่8 ตา บลทุ่งฝน อา เภอทุ่งฝน จงัหวดัอุดรธานี สังกดัคณะสงฆธ์รรมยตุิที่ดินต้งัวดัมีเน้ือที่15ไร่2 งาน 40 ตารางวาอาณาเขตทิศเหนือ5 เส้น 1วา 2ศอกจดทุ่ง นา ทิศใต้ 5 เส้น 2 วา 2 ศอก ทิศตะวันออก 15 วา จดทุ่งนา ทิศตะวันตก 2 เส้น 18 วา จดถนนสายทุ่งฝน - ท่าช่วง อาคารเสนาสนะประกอบดา้ยศาลาการเปรียญ เป็นอาคาร 2 ช้นัช้นับนเป็นไม้ช้นัล่างสร้างดว้ยคอนกรีต สร้าง


เมื่อพ.ศ.2523 กุฎีสงฆ์ 6 หลัง เป็ นอาคารไม้ 5 หลัง และครึ่งตึกครึ่งไม้ 1 หลัง วิหารเป็ นคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้าง เมื่อ พ.ศ.2520 และโรงครัวมุงสังกะสีช้นัเดียว ปูชนียวตัถุพระพุทธรูปหน้าตกักวา้ง 2.25 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2520 เจดีย์โบราณ วัดเวฬุวนาราม สร้างเมื่อ พ.ศ.2373 โดยชาวลาวที่แตกทัพจากศึกทุ่งส าริดได้อพยพมาเพื่อหาแหล่งที่ท า กิน มาต้งัหลกัแหล่งบริเวณบา้นเหมือด ซ่ึงมีหลกัฐานการสร้างที่อยู่อาศยัและซากปรักหักพงัของศาสนสถาน เช่น พระธาตุเจดียแ์ละกู่ปกคลุมไปดว้ยตน้ ไมห้นาแน่นเป็นป่าทึบ จึงไดช้ ่วยกนับูรณะให้เป็ นสถานที่เคารพ กราบไหวแ้ละทา บุญตามประเพณีของชาวพุทธเช้ือสายลา้นชา้ง ใหม้ีชื่อวา่ “วัดบ้านเหมือด” ตามชื่อหมู่บ้าน แหล่งเรียนรู้เชิงเกษตรและงานฝีมือในชุมชน แหล่งเรียนรู้เกษตรน้า หยด บา้นทุ่งฝนหมู่ที่8 ตา บลทุ่งฝน อา เภอทุ่งฝน จงัหวดัอุดรธานี 1. นายวิทยา วิเชียรเครือ


นางสภาพร ทุ่งฝนภู มิ เกษตรกรแปลงเกษตรน้ า หยด


แหล่งเรียนรู้ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีและแหล่งแปรรูปเศษไม้ นายพิสิทธิ์ โนนคู่เขตโขง


ส่วนที่ 2 การขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรม การขับเคลื่อนชุมชนบ้านทุ่งฝน หมู่ที่ 8 ต าบลทุ่งฝน อ าเภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี สู่ “ชุมชนคุณธรรม น้อมน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขับเคลื่อนด้วยพลังบวร ต้นแบบ” ไม่จ ากัดว่าเป็ นบทบาทของศาสน สถานหรือวดัเท่าน้นัแต่เป็นการนา ทางการมีส่วนร่วมจากคนทุกภาคส่วน “ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับ ประโยชน์” 3 ฝ่ าย “ บ –ว – ร” 1. “บ้าน” หมายถึงผู้น าหมู่บ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน ภาคเอกชน และราษฎรในชุมชน 2. “วัด” หมายถึง ผู้น าทางศาสนา ศาสนสถาน 3. “โรงเรียน” หรือ “ส่วนราชการ” หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา หวัหนา้ส่วนราชการและเจา้หนา้ที่ของรัฐในพ้ืนที่จงัหวดัอุดรธานีร่วมส่งเสริม “ชุมชนคุณธรรม”แก่เด็ก เยาวชนและประชาชน ให้สามารถด ารงชีวิตได้อย่างมีคุณธรรม มีความพอเพียง มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันและมีวิถี ชีวิตตามกรอบวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ ขั้นตอนที่ 1 การประกาศเจตนารมณ์ ประชุมประชาคมสมาชิกในชุมชนสร้างความรู้ความเข้าใจหลักการและแนวทางการด าเนินงานชุมชน คุณธรรมนอ้มนา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่สมาชิกในชุมชน เพื่อระดมความคิดเห็นในการขบัเคลื่อนชุมชนสู่ การเป็ นชุมชนน้อมน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงร่วมกัน และชุมชนมีข้อตกลงของชุมชนเป็ นประกาศเจตนารมณ์ หรือขอ้ตกลงของผนู้า ชุมชนและราษฎรในชุมชนที่จะพฒันาใหเ้ป็นชุมชนคุณธรรมร่วมกนัดงัน้ี


เจตนารมณ์ของชุมชนคุณธรรม บ้านทุ่งฝน หมู่ที่๘ ต าบลทุ่งฝน มีกฎ ระเบียบ กติกา ของหมู่บ้าน ล าดับ กฎกติกาของหมู่บ้าน บทลงโทษ ๑ ห้ามยิงปื นในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๕๐๐ บาท ๒ ห้ามเล่นการพนันในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๓ ห้ามละเลาะวิวาทหรือส่งเสียงรบกวนคนอื่นให้เกิดความร าคาญ ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๔ ทุกครัวเรือนปลอดลูกน้า ยงุลาย พบเห็น ฝ่ าฝื นปรับ ๕๐ บาท ๕ ห้ามสูบบุหรี่หรือสุราในที่สาธารณะ ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๖ ห้ามขับรถเสียงดังเกินกฎหมายก าหนดในยามวิกาล ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๗ ห้ามเผาขยะ เผาถ่าน ในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๒๐๐ บาท ๘ ห้ามลักทรัพย์ของคนอื่น โดยเจตนาหรือไม่เจตนาก็ตามในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๓๐๐ บาท ๙ หา้มเสพหรือจา หน่ายสิ่งเสพติดร้ายแรงทุกชนิดในหมู่บา้น ฝ่ าฝื นปรับ ๕๐๐ บาท ๑๐ ห้ามเรี่ยไรในหมู่บ้าน ฝ่ าฝื นปรับ ๕๐๐ บาท ๑๑ ทุกครัวเรือนไม่ซ้ือสิทธ์ิขายเสียง ฝ่ าฝื นงดเว้นการ ให้บริการทางสังคม ค่านิยม ๑๒ ประการ ๑ มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒ ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน ๓ กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบออาจารย์ ๔ ใฝ่หาความรู้หมนั่ศึกษาเล่าเรียนท้งัทางตรงและทางออ้ม ๕ รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย ๖ มีศีลธรรม และรักษาความสัตย์ ๗ เข้าใจเรียนรู้ประชาธิปไตย ๘ มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่


๙ มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ท า ๑๐ รู้จักด ารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๑ มีความเข้มแข็ง และจิตใจไม่ยอมแพ้ต่ออ านาจฝ่ ายต ่า ๑๒ ค านึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตัวเอง (นายประดิษฐ สิทธิพรม) ผู้ใหญ่บ้านทุ่งฝน หมู่ที่ 8 ลงชื่อ............................................ผู้แทนสมาชิก (นายพิสิทธิ์ โนนคู่เขตโขง) ลงชื่อ............................................ผู้แทนสมาชิก (นายอุดม หอมกระชาย) ลงชื่อ............................................ผู้แทนสมาชิก (นายเจริญ เสนามนู) ลงชื่อ............................................ผู้แทนสมาชิก (นายยอดชัย เหมือนสีเลา)


คณะท างานขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมน้อมน าหลกัปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีงต้นแบบ บ้านทุ่งฝน หมู่ที่8 ต าบลทุ่งฝน อา เภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี 1. ชื่อชุมชน บ้านทุ่งฝน ที่อยู่ บ้านทุ่งฝน หมู่ที่ 8 ต าบลทุ่งฝน อ าเภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี 2. ชื่อผู้น าชุมชน นายประดิษฐ สิทธิพรม ที่อยู่ 266 หมู่ 8 บ้านทุ่งฝน ต าบลทุ่งฝน อ าเภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี โทร.083 403 1779 3. รายชื่อคณะกรรมการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมฯ ต้นแบบ 3.1 นายประดิษฐ สิทธิพรม ประธานกรรมการ 3.2 นายยอดชัย เหมือนสีเลา รองประธาน 3.3 นายพิสิทธิ์ โนนคู่เขตโขง เหรัญญิก 3.4 นายพงษ์ศักดิ์ สมบัติก าไร กรรมการและเลขานุการ 3.5 นายอุดม หอมกระชาย กรรมการ 3.6 นายเจริญ เสนามนู กรรมการ 3.7 นายบัณฑิต เบิกสีใส กรรมการ 3.8 นายวิชัย สมบัติก าไร กรรมการ 3.9 นายชาญสุวุฒิ โนนคู่เขตโขง กรรมการ 4. ลักษณะความโดดเด่นของชุมชนเป็ นที่รู้จักของชุมชนอื่น ๆ (ด้านศาสนา ด้านระเพณีโดดเด่น ด้าน เศรษฐกิจพอเพียงโดดเด่น)และเป็ นเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของชุมชน “ประเพณีแห่ต้นกล้วยน้อยบังสุกุล บูชาหลวงพ่อทองค า” ลงชื่อ..............................................ผู้รายงานข้อมูล (นายประดิษฐ สิทธิพรม) ผู้ใหญ่บ้านทุ่งฝน หมู่ที่ 8


ตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินชุมชนคุณธรรม การประเมินชุมชนคุณธรรม เป็นกระบวนการสำคัญในไปสู่การส่งเสริม พัฒนาและยกระดับชุมชน เพื่อ เป็นแบบอย่างด้านคุณธรรมและมีมาตรฐานเดียวกัน แบ่งการประเมินเป็น 3 ระดับ 9 ตัวชี้วัด คือ • ระดับที่ ๑ ชุมชนส่งเสริมคุณธรรม เป็นการประเมินกระบวนการพัฒนา ดำเนินการข้อ ๑ - ๓ ทุกข้อ ไม่น้อยกว่าข้อละ ๑ คะแนน รวมแล้วไม่น้อยกว่า 6 คะแนน • ระดับที่ ๒ ชุมชนพัฒนาคุณธรรม เป็นการประเมินการดำเนินงานตามแผน ดำเนินการข้อ 1 – 6 ทุกข้อ ไม่น้อยกว่าข้อละ 2 คะแนน รวมแล้วไม่น้อยกว่า 14 คะแนน • ระดับที่ ๓ ชุมชนคุณธรรมต้นแบบ เป็นการประเมินพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง ดำเนินการข้อ 1 – 9 ทุกข้อ ไม่น้อยกว่าข้อละ 2 คะแนน รวมแล้วไม่น้อยกว่า 21 คะแนน โดยมีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้ ตารางเกณฑ์การประเมินชุมชนคุณธรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน รวม 3 2 1 0 ๑)ชุมชนมีผู้นำและ คนในชุมชนประกาศ เจตนารมณ์ร่วมกันที่ จะพัฒนาชุมชนให้ เป็นชุมชนคุณธรรม โ ด ย ย ึ ด ม ั ่ น ใ น ห ล ั ก ธ ร ร ม ท า ง ศาสนา หลักปรัชญา ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พ ี ย ง ว ิ ถี วัฒนธรรมไทย และ คุณธรรม 5 ประการ พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา กตัญญู -จำนวนครัวเรือน ตั้งแต่ ๘๐.๐๐ % ขึ้น ไปที่ร่วมประกาศ เจตนารมณ์ โดยทำ เป็นลายลักษณ์อักษร -จำนวนครัวเรือน 6๐.๐๐-๗๙.๙๙ % ร ่ ว ม ป ร ะ ก า ศ เจตนารมณ์ โดยทำ เ ป ็ น ล า ย ล ั ก ษ ณ์ อักษร -จำนวนครัวเรือน 40 – 59.99% ร ่ ว ม ป ร ะ ก า ศ เจตนารมณ์ โดย ทำเป็นลายลักษณ์ อักษร -จำนวนครัวเรือน น้อยกว่า 40 % ร ่ ว ม ป ร ะ ก า ศ เจตนารมณ์โดยทำ เป็นลายลักษณ์ อักษร 3 ๒ ) ช ุ ม ช น ม ี ก า ร กำหนดเป้าหมาย 0kd "ปัญหาที่อยาก แก้" และ "ความดีที่ อ ย า ก ท ำ " ที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ห ล ั ก ธ ร ร ม ท า ง ศาสนา หลักปรัชญา - ม ี ก า ร ก ำ ห น ด เป้าหมายไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง ที่สอดคล้อง กับหลักธรรมทาง ศาสนา หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง วิถีวัฒนธรรมไทยและ คุณธรรม 5 ประการ - ม ี ก า ร ก ำ ห น ด เป้าหมายไม่น้อย ก ว ่ า 4 เ ร ื ่ อ ง ที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ห ล ั ก ธ ร ร ม ท า ง ศาสนา หลักปรัชญา ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พ ี ย ง ว ิ ถี - ม ี ก า ร ก ำ ห น ด เป้าหมายไม่น้อย กว่า 3 เรื่องที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ห ล ั ก ธ ร ร ม ทา ง ศ า ส น า ห ลั ก ป ร ั ช ญ า ข อ ง เศรษฐกิจพอเพียง -ไม่มีการกำหนด เป้าหมาย 3


เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน รวม 3 2 1 0 ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พ ี ย ง ว ิ ถี วัฒนธรรมไทยและ คุณธรรม 5 ประการ พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา กตัญญู พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา กตัญญู วัฒนธรรมไทยและ คุณธรรม 5 ประการ พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา กตัญญู วิถีวัฒนธรรมไทย และคุณธรรม 5 ประการ พอเพียง วินัย สุจริต จิต อาสา กตัญญู ๓)ชุมชนมีการจัดทำ แผนการดำเนินงาน ต า ม เ ป ้ า ห ม า ย ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ 2 เพื่อประโยชน์สุข ของชุมชน -มีการจัดทำแผนการ ด ำ เ น ิ น ง า น ต า ม เป้าหมายที่กำหนดไว้ ในข้อที่ 2 และมีการ ม อ บ ห ม า ย ค น ใ น ชุมชนรับผิดชอบการ ดำเนินงานและมีการ แต่งตั้งคณะกรรมการ ห ร ื อ ค ณ ะ ท ำ ง า น ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ก า ร ดำเนินงาน - ม ี ก า ร จ ั ด ท ำ แผนการดำเนินงาน ต า ม เ ป ้ าหมายที่ กำหนดไว้ในข้อที่ 2 และมีการมอบหมาย ค น ใ น ช ุ ม ช น ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ก า ร ดำเนินงาน - ม ี ก า ร จ ั ด ท ำ แ ผ น ก า ร ดำเนินงานตาม เ ป ้ า ห ม า ย ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ 2 -ไ ม่ม ี ก ารจัดทำ แผนการดำเนินงาน ตามเป้าหมายที่ กำหนดไว้ในข้อที่ 2 3 ๔)ชุมชนมีผลสำเร็จ ของการดำเนินงาน ตามเป้าหมาย ของ แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ จากการมีส่วนร่วม ของคนในชุมชน โดย ได้รับการสนับสนุน ทรัพยากร และหรือ เ ง ิ น ท ุ น จ า ก ห น ่ ว ย ง า น ภ า ค ประชารัฐในพื้นที่ -มีการดำเนินงาน ตาม เป้าหมาย ของแผน การดำเนินงาน ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และมีผลสำเร็จ ๙๐% ขึ้นไป -มีการดำเนินงาน ตามเป้าหมาย ของ แผน การดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และมีผลสำเร็จ ๗๐ – ๘9.9๙% -มีการดำเนินงาน ตามเป้าหมายของ แ ผ น ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และมีผลสำเร็จ 5๐ – 69.9๙% -มีการดำเนินงาน ตามเป้าหมายของ แ ผ น ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และมีผลสำเร็จ น้อยกว่า 5๐ % 3 ๕ ) ช ุ ม ช น ม ี ก า ร ประชุม เพื่อสรุป ผลสำเร็จของการ ด ำ เ น ิ น งา น ต า ม เป้าหมายของแผน การดำเนินงานที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ เพื่อเป็นแนวทาง ใน การปรับปรุงหรือ -มีการประชุม เพื่อ สรุปผลสำเร็จ ของ การดำเนินงาน ตาม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และ -มีการจัดทำ แนวทาง ปรับปรุง หรือพัฒนา -มีการประชุม เพื่อ สรุปผลสำเร็จ ของ การดำเนินงาน ตาม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และ -ม ี ก า ร จ ั ด ท ำ แนวทางปรับปรุง - มีการประชุม เพื่อ สรุปผลสำเร็จ ของ การดำเนินงาน ตามเป้าหมายของ แ ผ น ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ - ไม่มีการประชุม เพื่อสรุปผลสำเร็จ ของการดำเนินงาน ตามเป้าหมายของ แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ 3


เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน รวม 3 2 1 0 พัฒนา ชุมชนให้มี ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม คุณธรรมที่เข็มแข็ง และมีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น จากผลสำเร็จของการ ด ำ เ น ิ น ง า น ต า ม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และ - มีการประชาสัมพันธ์ ผลสำเร็จของการ ด ำ เ น ิ น ง า น ต า ม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ หรือพัฒนา จาก ผลสำเร็จของ การ ด ำ เ น ิ น งาน ต า ม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ ๖) ชุมชนมีการยก ย่องเชิดชูบุคคล ภายในชุมชน ที่มี คุณธรรมหรือที่ทำ ค ว า ม ดีจ น เ ป็ น แบบอย่างได้และ หรือบุคคลอื่น ที่ทำ ความดีให้กับชุมชน - ม ี ก า ร ป ร ะ ก า ศ ยกย ่อง เชิดชูบุคคล ภ ายในช ุม ชน ที ่ มี คุณธรรม หรือ ที ่ทำ ค ว า ม ดี จ น เ ป็ น แบบอย่างได้และหรือ บุคคลอื่นที่ทำความดี ให้กับชุมชน และ -มีการประชาสัมพันธ์ การประกาศ ยกย ่อง ภายใน ชุมชน และ -มีการประชาสัมพันธ์ การประกาศยกย ่อง ผ ่านช ่องทางสื ่อสาร ที่หลากหลายเช่น หอ กระจายข ่าว ไลน์เฟ ซบุ๊กเป็นต้น - มี ก า ร ป ร ะ ก า ศ ยกย่อง เชิดชูบุคคล ภายในช ุมชน ที ่มี คุณธรรม หรือ ที ่ทำ ค ว า ม ดีจ น เ ป็ น แบบอย ่างได้และ หรือบุคคลอื ่น ที ่ทำ ความดีให้กับชุมชน และ -ม ี ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ การประกาศยกย่อง ภายใน ชุมชน -มีการประกาศยก ย ่อง เชิดชูบุคคล ภายในชุมชน ที ่มี คุณธรรม หรือ ที่ ทำความดีจนเป็น แบบอย ่างได้และ หรือบุคคลอื ่น ที่ ทำความดีให้กับ ชุมชน -ไม่มีการประกาศ ยกย่อง เชิดชูบุคคล ภายในชุมชน ที ่มี คุณธรรม หรือ ที่ทำ ค ว า ม ดีจ น เ ป็ น แบบอย ่างได้และ หรือบุคคลอื ่นที่ทำ ความดีให้กับชุมชน 3 ๗ ) ช ุ ม ช น มี ความสำเร็จของการ ดำเ น ิ น งา น ต า ม เป้าหมายของแผน การดำเนินงานที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ ทำให้คนในชุมชน มี พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ที่ เปลี่ยนแปลง ไป - มีการประเมิน ความ พึงพอใจจากผลสำเร็จ การดำเนินงาน ตาม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ โดยมีผลการประเมิน ๙๐% ขึ้นไป - ม ี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ความพึงพอใจ จาก ผลสำ เ ร ็ จ ก า ร ดำเ น ิ น งาน ต า ม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ โ ด ย มีผ ล ก า ร -มีการประเมิน ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใจ จากผลสำเร็จการ ดำเนินงาน ตาม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แ ผ น ก า ร ดำเ น ิ น ง า น ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ โดยมีผลการ - ม ี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ความพึงพอใจ จาก ผลสำเ ร ็ จ ก า ร ดำเนินงาน ตาม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ โ ด ย มีผ ล การ 3


เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน รวม 3 2 1 0 ในทางที่ดีขึ้น เช่น ปัญหาการทะเลาะ วิวาท การลักขโมย การเล่นพนัน การยุ่ง เกี่ยวกับสิ่งเสพติด ลดลงหรือหมดไป มี การ ทำความดีมีการ ออมเงิน สร้างอาชีพ สร้างรายได้เพิ่มขึ้น เป็นต้น และชุมชนมี ส ภ า พ แ ว ด ล ้ อ ม ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น บรรยากาศร่ม ร ื ่ น ม ี ค ว า ม เ ป็ น ระเบียบเรียบร้อย สะอาด เป็นต้น ทำ ให้คน ในชุมชนอยู่ ร ่ ว ม ก ั น อ ย ่ า งมี ความสุข ป ร ะ เ ม ิ น ๘ ๐ - ๘๙.๙๙% ป ร ะ เ ม ิ น ๗ ๐ - ๗๙.๙๙% ประเมิน น้อยกว่า ๗๐% ๘ ) ชุ ม ชน ม ี อ งค์ ความรู้หรือรายงาน ผลสำเร็จ ของการ ดำเ น ิ น งา น ต า ม เ ป ้ า ห ม า ย ของ แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ - มีการรวบรวม องค์ ความรู้หรือรายงาน ผลส ำ เ ร ็ จ ก า ร ดำเ น ิ น ง า น ต า ม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่ กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และ - มีการจัดทำข้อมูล องค์ความรู้ในรูปแบบ ต่างๆไม่น้อยกว่า ๓ รูปแบบ เช่น แผ่นพับ บอร์ด แสดงผลงาน คลิปวิดีโอ พาวเวอร์ พ อ ย ท์ (PowerPoint) เป็นต้น - ม ี ก า ร ร ว บ ร ว ม องค์ความรู้หรือ รายงานผลสำเร็จ การดำเนินงาน ตาม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ และ - มีการจัดทำข้อมูล อ ง ค ์ ค ว า ม รู้ ใ น รูปแบบต่าง ๆ ไม่ น้อยกว่า ๒ รูปแบบ เช่น แผ่นพับ บอร์ด แสดงผลงาน คลิป ว ิ ด ี โ อ พ า ว เ วอร์ พ อ ย ท์ (PowerPoint) เป็นต้น -มีการรวบรวม องค์ความรู้หรือ รายงานผลสำเร็จ การดำเนินงาน ตามเป้าหมายของ แ ผ น ก า ร ดำเ น ิ น ง า น ที่ กำหนดไว้ในข้อ ๓ -ไม่มีการรวบรวม องค์ความรู้หรือ รายงานผลสำเร็จ การดำเนินงาน ตาม เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แผนการดำเนินงาน ที่กำหนดไว้ในข้อที่ ๓ 3 ๙ ) ช ุ ม ช น ม ี ก า ร พ ั ฒ น า ย ก ร ะ ดั บ -มีการเผยแพร่ องค์ ความรู้จากผลสำเร็จ -มีการเผยแพร่องค์ ความรู้จากผลสำเร็จ -มีการเผยแพร่ องค์ความรู้จาก -ไม่มีการเผยแพร่ องค์ความรู้จาก 2


เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน รวม 3 2 1 0 ค ุ ณ ภ า พ ม ี ขี ด ความสามารถ ใน การเผยแพร่หรือ ถ่ายทอดองค์ความรู้ และมีความพร้อม เป็นแหล่งเรียนรู้ ให้กับชุมชนอื่นได้ การดำเนินงาน ที่ได้ จัดทำไว้ในข้อที่ ๘ ให้กับ คนในชุมชน และ - มีการเผยแพร่ ผ่านช่องทางสื่อสาร ไม่น้อยกว่า ๒ ช่องทาง เช่น หอกระจายข่าว ไลน์เฟซบุก เป็นต้น และ - มีวิทยากร ไป ถ่ายทอดที่อื่น หรือมี ก า ร เ ข ้า มา ศ ึ ก ษา แลกเปลี่ยน เรียนรู้ จ า ก ช ุ ม ช น ห รื อ หน่วยงานอื่น การดำเนินงาน ที่ได้ จัดทำไว้ในข้อที่ ๘ ให้กับคนในชุมชน และ - มีการเผยแพร่ผ่าน ช่องทางสื่อสาร ไม่ น้อยกว่า ๒ ช่องทาง เช่น หอกระจายข่าว ไลน์เฟซบุกเป็นต้น ผลสำเ ร ็ จ ก า ร ดำเนินงาน ที่ได้ จัดทำไว้ในข้อที่ ๘ ให้กับคนในชุมชน ผลสำ เ ร ็ จ ก า ร ดำเนินงาน ที่ได้ จัดทำไว้ในข้อที่ ๘ รวมคะแนน 26 ข้ันตอนที่2 ชุมชนร่วมกนักา หนดเป้าหมาย“ปัญหาที่อยากแก้ความดีที่อยากท า” ประชุมประชาคมสมาชิกในชุมชนเพื่อหาปัญหาที่อยากแกและแนวทางที่อยากท าเพื่อแก้ไข ปัญหาของชุมชนร่วมกนั ไดข้อ้สรุปดงัน้ี ปัญหาที่อยากแก้ 1. ปัญหาเยาวชนติดยาเสพติด 2. ปัญหาเศรษฐกิจในครับเรือน 3. ปัญหาขยะ 4. ปัญหาการพนัน 5. ขาดแคลนมัคคุเทศก์ การใช้ภาษาต่างประเทศ 6. ขาดบุคลากร ฝ่ ายจัดท าข้อมูลสารสนเทศ การประชาสัมพันธ์ ความดีที่อยากท า 1. นา เสนอการบริการที่มีคุณภาพ และหมนั่พฒันาตนเองอยเู่สมอเพื่อการบริการที่มีคุณภาพ 2. คิดเส้นทางท่องเที่ยวใหม่อย่างสร้างสรรค์แปลกใหม่ในตลาดการท่องเที่ยว


3. อบรมมัคคุเทศก์ให้มีความเชี่ยวชาญ 4. โครงการพัฒนาชุมชน/หมู่บ้านตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. โครงการอยู่ดีมีสุข ร้านค้าชุมชน ร้านหัตถกรรมชุมชน การท าปุ๋ ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ 6. โครงการอบรมให้ความรู้ต้านยาเสพติดในชุมชน 7. โครงการรณรงค์งานศพ งานบุญประเพณีปลอดเหล้า ปลอดการพนันภายในชุมชน 8. โครงการถ่ายทอดภูมิปัญญาทอผา้หมี่ขิด การแสดงศิลปวฒันธรรมพ้ืนบา้น วงกลองยาว 9. โครงการสืบสาน ส่งเสริมวฒันธรรม ประเพณีพ้ืนถิ่น 10. การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ม การใชท้รัพยากรในพ้ืนที่ใหคุ้ม้ค่า 11. การจัดการแหล่งเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ด้านศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อสร้างรายได้แก่ ชุมชนจากการท่องเที่ยวในแบบนวัตวิถีมิติวัฒนธรรม ภาพการประชุมประชาคม เพื่อด าเนินการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


การประชุมประชาคมเพื่อระดมความคิดเห็นเพื่อรวบรวมปัญหาที่อยากแก้และแนวทางแก้ปัญหาความดีที่ อยากท า และประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมต้นแบบ


การประชุมประชาคมเพื่อระดมความคิดเห็นเพื่อรวบรวมปัญหาที่อยากแก้และแนวทางแก้ปัญหาความดีที่ อยากท า และประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมต้นแบบ


การประชุมประชาคมเพื่อระดมความคิดเห็นเพื่อรวบรวมปัญหาที่อยากแก้และแนวทางแก้ปัญหาความดีที่ อยากท า และประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมต้นแบบ


การประชุมประชาคมเพื่อระดมความคิดเห็นเพื่อรวบรวมปัญหาที่อยากแก้และแนวทางแก้ปัญหาความดีที่ อยากท า และประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมต้นแบบ


แผนชุมชนคุณธรรมตามแนชื่อชุมชนคุณธรรมบ้านทุ่งฝน หมู่ที่8 1.กา หนดเป้าหมายพฒันาชุมชนคุณธรรม ชุมชนร่วมกนักา หนด เป้าหมาย โครงการ กระบวนการ ปัญหาที่ชุมชนอยากแก้ 1.ปัญหายาเสพติด โครงการเยาวชนคุณ คุณธรรมน าชีวิต 1.-คัดกรองเยาวชนเข้าร่วม2.ด าเนินการพัฒนาคุณธรร3.ติดตามและประเมินผล 2. ปัญหาการพนัน โครงการรักษาศีล 5 1.รณรงค์เสียงตามสายขอค2.รณรงค์การท าบุญตักบาตสายบุญ 3. ปัญหาสุรา โครงการปลอดเหล้างานสี ด า 1.รณรงค์เสียงตามสาย 2.ขอความร่วมมือเจ้าภาพก


นวหลกัปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง ต าบลทุ่งฝน อา เภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี ผู้รับผิดชอบ สอดคล้องกับนโยบายไทยนิยมยั่งยืน ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 มกราคม 2561 กิจกรรม รมน าชีวิต เจ้าหน้าที่ปกครอง เจ้าหน้าที่ต ารวจ คณะกรรมการชุมชนฯ 9)ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติด ; ด้วยการ บูรณาการทุกภาคส่วนในการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างครบวงจร ความร่วมมือ ตรตามถนน คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม การจัดงาน คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม


ชุมชนร่วมกนักา หนด เป้าหมาย โครงการ กระบวนการ 4.ปัญหาขยะมูลฝอย โครงการพิทักษ์ความ สะอาดก าจัดขยะมูลฝอย 1.เชิญชวน ประชาสัมพันธ์ชุมชนร่วมมือกัน 2.การคัดแยกขยะ 5.ปัญหาอื่น ๆ โครงการท าดีด้วยใจ 1.รับสมัครกลุ่มจิตอาสา 2.ก าหนดวันบ าเพ็ญประโยประจ าเดือนและวันส าคุญทและวันส าคัญของชาติ ความดีที่อยากท า 1.การส่งเสริมรายได้ โครงการส่งเสริมอาชีพภูมิ ปัญญาทอ้งถิ่น -การทอเสื่อเสื่อกกยกลาย -การมัดหมี่ลายอัตลักษณ์ พ้ืนถิ่น 1.ส ารวจเยาวชนที่มีความสกลุ่มอาชีพในชุมชน 2.จัดท าหลักสูตรการอบรมวิชาชีพภูมิปัญญาทอ้งถิ่น -ด าเนินการอบรมพัฒนาอา


ผู้รับผิดชอบ สอดคล้องกับนโยบายไทยนิยมยั่งยืน ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 มกราคม 2561 ์ให้คนใน คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม กลุ่มจิตอาสา ยชน์ ทางศาสนา คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม สนใจของ มเกี่ยวกับ าชีพตาม คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม -ประธานกลุ่มอาชีพ


ชุมชนร่วมกนักา หนด เป้าหมาย โครงการ กระบวนการ -การท าบายศรี -การท าขนมไทย -การปลูกพืชเกษตรน้า หยด -การท าปลาร้าบอง กลุ่มสนใจ -ติดตามและประเมินผล 2.กลุ่มจิตอาสา โครงการท าดีเพื่อแผ่นดิน -ประชาสัมพันธ์เสียงตามส-ด าเนินการกิจกรรมตามก าทุกวันที่ 15 ของเดือน วันสศาสนาและวันส าคัญของท3 โครงการสืบทอด วัฒนธรรมประเพณี โบราณ โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของชุมชนคนไทย เช้ือสายลาวขาวทุ่งฝน -ประเพณีแห่ต้นกล้วยน้อย บังสุกุล จัดกิจกรรมวันส าคัญตามปก าหนดให้เป็ นวันอนุรักษ์วัประเพณีโบราณ


ผู้รับผิดชอบ สอดคล้องกับนโยบายไทยนิยมยั่งยืน ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 มกราคม 2561 สาย าหนดเวลา ส าคัญทาง ทางราชการ -คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม -กลุ่มจิตอาสา ปฏิทินที่ วัฒนธรรม คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม


ชุมชนร่วมกนักา หนด เป้าหมาย โครงการ กระบวนการ -ประเพณีบูชาดอกไม้ หลัง สงกรานต์ -ประเพณีก่อเจดียท์ราย -ประเพณีบูชาพระแม่โพสพ -ประเพณีบุญบ้งัไฟบูชา หลวงพ่อทองค า -ประเพณีแห่ต้นกล้วยน้อยวนัข้ึน 15ค่า เดือน 3 เดือน11 -ประเพณีบูชาดอกไม้ หลังวันที่ 17 – 19 เมษายน -ประเพณีก่อเจดียท์รายวนัเดือนเมษายน -ประเพณีบูชาพระแม่โพสพค ่า เดือน 3 -ประเพณีจุดบ้งัไฟบูชาหลววนัข้ึน 15ค่า เดือน 6


ผู้รับผิดชอบ สอดคล้องกับนโยบายไทยนิยมยั่งยืน ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 มกราคม 2561 บังสุกุล ใน น 6และเดือน สงกรานต์ นที่20 – 22 พ วนัข้ึน 3 วงพ่อทองคา


ชุมชนร่วมกนักา หนด เป้าหมาย โครงการ กระบวนการ 4.การขับเคลื่อนชุมชน คุณธรรม โครงการขับเคลื่อนชุมชน คุณธรรมน้อมน าหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “บวร ONOUR” -สร้างความเข้มแข็งในชุมช-ประสานสัมพนัธ์กบัองคก์ทางศาสนา ภาครัฐ และเอกมีสาวนร่วมในการสร้างควร่วมกัน -น าหมู่บ้านเข้าสู่ระบบการOTOP นวัตวิถี 5.การสร้างความสามัคคี โครงการส่งเสริมการมีส่วน ร่วมในการบริการชุมชน แต่งต้งัสมาชิกในชุมชนเขา้ร่วมในการบริหารจัดการ เช-คณะกรรมการหมู่บ้าน -คณะกรรมการชุมชนคุณธ-คณะกรรมการหมู่บ้านปรไตย


ผู้รับผิดชอบ สอดคล้องกับนโยบายไทยนิยมยั่งยืน ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 มกราคม 2561 ชน กรท้งัผนู้า กชน เข้ามา วามเข้าแข็ง ท่องเที่ยว -คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม -สภาวัฒนธรรมอ าเภอ ทุ่งฝน -วัฒนธรรมจังหวัด -พัฒนาการอ าเภอทุ่งฝน ามามีส่วน ช่น ธรรม ะชาธิป คณะกรรมการหมู่บ้าน


ชุมชนร่วมกนักา หนด เป้าหมาย โครงการ กระบวนการ -กลุ่มจิตอาสาท าดีด้วยใจ -กลุ่มอาสาสมัครสารณสุขปหมู่บ้าน -กลุ่มอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรหมู่บ้าน (ฟ้อนร า) 6.การส่งเสริมการ ท่องเที่ยว โครงการสร้างมัคคุเทศก์ ประจา ถิ่น 1.ส ารวจผู้สนใจและเยาวชชุมชน 2.จัดอบรมสร้างความเข้าใจบริบทของชุมชน เช่น วัฒนประเพณี และแหล่งท่องเที่มัคคุเทศก์ 3.จัดการอบรมการใช้ภาษาส าหรับการท่องเที่ยว ติดตามและประเมินโครงก


ผู้รับผิดชอบ สอดคล้องกับนโยบายไทยนิยมยั่งยืน ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 มกราคม 2561 ประจ า รมประจ า นใน จเกี่ยวกับ นธรรม ยวให้กับ าอังกฤษ การ -คณะกรรมการชุมชน คุณธรรม


2.การด าเนินงานตามแบบประเมินชุมชนคุณธรรม 9 ข้ันตอน แผนด าเนินการของชุมชน ในขั้นตอนต่าง ๆ กิจกรรมที่ด 1.ประชุมผู้น า คณะกรรมการและ สมาชิกในชุมชนในการประกาศ เจตนารมณ์ที่จะพัฒนาชุมชนให้ เป็ นคุณธรรม 1.ประชุมผู้น า คณะกรรมการฝ่ ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ส่วนราชการ เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง และประชาชนและกิจกรรมกิจกาสาท าดีด้วยใจ 2.ระดมความคิดเห็นและประกาศเจตนารมณ์ขอขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมและด าเนินกิจกรรมจิต2.ประชุมวิเคราะห์ชุมชนและ ก าหนดเป้าหมายที่อยากแก้ ความดีที่อยากท า 1.ผู้น าชุมชน กรรมการที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วเครือข่ายที่เกี่ยวข้องและประชาชนในที่ประชุมร่แข็งของชุมชน ปัญหาในชุมชนที่ต้องการแก้ไข ต้องการพัฒนาขยายผลต่อไป 2.น าผลการวิเคราะห์ชุมชน มาก าหนดเป้าหมายเช่น การพนนัสุรายาเสพติด ขยะและกา หนดเปรายได้ กลุ่มจิตอาสา กลุ่มสืบทอดศิลปะวัฒนธร3.ประชุมก าหนดกิจกรรม แนวทางการแก้ปัฐหาความยงั่ยนืต่อไป


Click to View FlipBook Version