The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

11ปก2-ผสาน-ผสาน (pdf.io)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

11ปก2-ผสาน-ผสาน (pdf.io)

11ปก2-ผสาน-ผสาน (pdf.io)

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC)

การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าชวี วิทยา เรือ่ ง ระบบภมู คิ มุ้ กัน ของนักเรยี นช้ัน

มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้เทคนิคจกิ๊ ซอว์ (jigsaw) กับการสอนปกติ

นางสาวปาณสิ รา อดุ อา้ ย กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

ท่มี าและความสาคญั ข้นั ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือนับว่าเป็นการจัดการเรียนการสอน 5. วิเคราะหผ์ ล
ท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ในเรื่องที่เรียน 4. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
มากท่ีสุด โดยอาศัยความร่วมมือ ช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยน
ความรู้ระหว่างกลุ่มผู้เรียนด้วยกัน เพื่อนาไปพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ 2. ดาเนนิ การทดลองกลมุ่ ตวั อย่าง
ทางการเรยี นวชิ าชวี วิทยา เรอ่ื ง ระบบภมู ิคมุ้ กนั ตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงค์ 1. ปฐมนิเทศเพอื่ แจง้ บทบาท จุดประสงค์และ
วธิ ีการประเมิน

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาชีววิทยา ของนักเรียน ผลการดาเนินงาน
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค
จกิ๊ ซอว์ (jigsaw) กบั นกั เรยี นทไ่ี ดร้ บั การสอนตามปกติ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคจิ๊กซอว์ (jigsaw) ช่วยให้ผู้เรียนแสดงความ
2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา ของนักเรียน คิ ด เ ห็ น ร่ ว ม กั น ใ น ก า ร เ รี ย น แ ล ะ มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ต น เ อ ง แ ล ะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค ความสาเ ร็จ ขอ ง กลุ่ม ให้ความร่ วมมือในการป ฏิบัติกิจ กร ร ม ต่าง ๆ
จิ๊กซอว์ (jigsaw) เรื่อง ระบบภมู ิคุม้ กัน เทียบกบั เกณฑ์รอ้ ยละ 60 เพือ่ นาไปสเู่ ป้าหมายของกลุ่มและความสาเร็จของกลุ่ม ทาให้ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่มดี
ขน้ึ
กระบวนการแกป้ ญั หา

ลั ก ษ ณ ะ ส า คั ญ ข อ ง ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ร่ ว ม มื อ โ ด ย ใ ช้ เ ท ค นิ ค สรปุ ผล
จ๊กิ ซอว์ มอี ยู่ 6 ขนั้ ตอน ดังต่อไปน้ี

ขั้นเตรียม ผ้สู อนช้ีแจงเนอ้ื หาสาระหรอื หวั ข้อท่จี ะเรียนเป็นหวั ขอ้ ยอ่ ยเทา่ กบั จานวน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา เร่ือง ระบบภูมิคุ้มกัน ของนักเรียนช้ัน
เนอ้ื หา สมาชิกของแตล่ ะกลุ่ม มัธยมศึกษาปที ่ี 4 หลงั การจดั การเรยี นการสอนโดยใช้เทคนิคจิ๊กซอว์ (jigsaw) พบว่า
นั ก เ รี ย น จั ด ก ลุ่ ม ค ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ กั น เ ป็ น ก ลุ่ ม พื้ น ฐ า น มรี ะดบั สูงกวา่ นกั เรียนที่ไดร้ ับการสอนตามปกติ นอกจากนี้นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี
ขัน้ จดั กลุ่ม (home groups) สมาชกิ ในกลุ่มศึกษาคน้ ควา้ คนละ 1 สว่ น 4 ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น โ ด ย ใ ช้ เ ท ค นิ ค จ๊ิ ก ซ อ ว์ (jigsaw)
ผเู้ รยี น มีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 62.33 เม่ือเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60
นักเรียนกลุ่มบา้ นของแตล่ ะกลมุ่ ทร่ี ับผดิ ชอบเรอ่ื งเดียวกันไปรวมกลมุ่ ใหม่ เน่ืองจากการเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนแบบร่วมมือให้เกิดขึ้นในชั้นเรียน
ขั้นกล่มุ ทาความเข้าใจเน้ือหา ศึกษาในเรอ่ื งน้ัน ๆ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความเอาใจใส่ มีความรับผิดชอบต่อตัวเองและกลุ่มร่วมกับ
ผเู้ ชีย่ วชาญ สมาชิกอื่น ส่งเสริมความร่วมมือและให้ผู้เรียนผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้นา รวมท้ังได้ฝึก
ผ้เู ชย่ี วชาญของแตล่ ะกลมุ่ กลบั เขา้ กลุม่ เดมิ ของตนเองแล้วผลัดเปลย่ี น และเรียนรูท้ ักษะทางสังคมโดยตรง
ขัน้ สมาชกิ กลมุ่ หมุนเวียนกันอธบิ ายให้ความรู้เพอื่ นสมาชกิ ในกลมุ่ ทลี ะคนจนครบ
ผ้เู ชี่ยวชาญ
เสนอความรู้ ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนแต่ละคนทาการทดสอบเกย่ี วกบั เนอ้ื หาความรทู้ คี่ รอบคลุม
ทกุ หัวข้อ แล้วนาคะแนนของสมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ มารวมกัน
ขน้ั ทดสอบ
ความรู้ ผูส้ อนมอบรางวัลหรือใหค้ าช่ืนชม ชมเชย กลุ่มทีไ่ ด้คะแนนรวมสงู สุด

ขนั้ มอบ
รางวัล

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (PLC)

การพฒั นาชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น วิชาฟิสกิ ส์ เร่อื ง คลนื่ กล

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ นายธนพงศ์ พลอยลอย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ท่ีมาและความสาคญั ข้นั ตอนการดาเนินกิจกรรม

จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติได้ระบุว่า การจัดการ 5. วเิ คราะหผ์ ล
ศึกษาต้องยึดหลักว่านักเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้ และถือว่านักเรียนมีความสาคัญ ประกอบกับ 4. ทดสอบหลงั เรยี น
เน้ือหาเรื่องคลื่นกล เป็นหน่วยการเรียนรู้ที่เป็นพ้ืนฐานในการ
เรียนเรอื่ งคลน่ื อ่ืน ๆ ตอ่ ไป แต่จากการจัดการเรียนการสอนในปี 3. ดาเนนิ การทดลองกลุ่มตัวอยา่ ง
ทผี่ า่ นมาพบว่า ยังมนี กั เรยี นบางส่วนทีเ่ รยี นเรื่องคลื่นกลไม่เข้าใจ
ส่งผลต่อการเรียนเรื่องคล่ืนอื่น ๆ ในบทต่อไป ท่ีสุดผู้วิจัยได้ 2. ทดสอบก่อนเรยี น
ศกึ ษาหาข้อมูลเพมิ่ เตมิ เพอ่ื นามาจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และพบว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นส่ือ 1. ปฐมนิเทศเพ่อื แจ้งบทบาท จุดประสงค์และวธิ ีการประเมนิ
การเรยี นรอู้ ีกประเภทหนงึ่ ทีส่ ง่ เสรมิ ให้นักเรยี นได้เรียนร้ใู นเน้ือหา
ดว้ ยความสนุกสนาน กระตุ้นความสนใจของนักเรียน ไม่น่าเบ่ือ ผลการดาเนินงาน
สง่ เสริมเจตคตทิ ดี่ ตี ่อวิชาเรยี นของนักเรียนให้นักเรียนได้เกิดการ
เรียนรตู้ ามทห่ี ลักสตู รกาหนด 1. ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ วชิ าฟสิ กิ ส์ เร่อื ง คลน่ื กล
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 มีประสทิ ธภิ าพเทา่ กบั 77.39/76.58 ซ่งึ เปน็ ไปตามเกณฑ์
วตั ถปุ ระสงค์ 2. ดชั นีประสิทธิผลของชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ วิชาฟสิ ิกส์
เรอื่ ง คล่นื กล ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคา่ เทา่ กับ 0.5645 แสดงวา่ นักเรียนมี
1. เพ่อื พฒั นาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น ความก้าวหนา้ ทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 56.45
วชิ าฟิสิกส์ เรือ่ ง คลน่ื กล ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 3. นกั เรยี นที่เรยี นดว้ ยชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั วชิ าฟสิ กิ ส์
2. เพือ่ ศึกษาดชั นปี ระสิทธผิ ลของชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ตามวฏั จกั ร เร่อื ง คล่นื กล มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน อย่างมีนยั สาคญั ทาง
การเรยี นรู้ 7 ข้นั วิชาฟิสกิ ส์ เร่ือง คลนื่ กล ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 สถติ ทิ ีร่ ะดบั .05
3. เพ่อื เปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ระหวา่ งคะแนนก่อน
เรียนกบั คะแนนหลังเรียน ทไี่ ด้รบั การจดั การเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม สรปุ ผล
การเรียนรู้ตามวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน วิชาฟิสิกส์ เรอื่ ง คลื่นกล

กระบวนการแกป้ ัญหา ผูเ้ รยี นมีความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 7 ข้ัน
เรื่องคลนื่ กล นักเรียนจงึ มคี วามตงั้ ใจ และมีความสุขในการเรียนรู้ สง่ ผลต่อผลสัมฤทธ์ิ
1. กอ่ นท่จี ะดาเนินการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเรยี นการสอน ครูช้แี จงทา ของนักเรียน ดังน้ันชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น มปี ระสิทธิภาพ
ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการจดั กจิ กรรมการเรียนรดู้ ้วยชดุ กจิ กรรมการ เหมาะสมทจ่ี ะนาไปใชเ้ สริมสร้างผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงข้ึนและเป็นที่พึงพอใจ
เรยี นร้ตู ามวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น แก่นกั เรยี น ของนกั เรียน จึงเป็นประโยชน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนบรรลุ
2. ทดสอบก่อนเรียนกับกลุ่มตัวอย่าง ด้วยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ ตามจุดมุง่ หมายของหลกั สตู รได้
ทางการเรยี นที่ผู้ศึกษาสร้างขึน้ จานวน 40 ข้อ ใชเ้ วลา 1 ชัว่ โมง
3. ดาเนินการจัดการเรียนร้ดู ้วยชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามวฏั จักร
การเรยี นรู้ 7 ขั้น วชิ าฟสิ กิ ส์ เร่อื ง คลน่ื กล ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5
4. ทดสอบหลังเรียน หลงั จากการจดั การเรยี นรสู้ น้ิ สดุ ลง ด้วย
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
5. นาขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการทดลอง มาวเิ คราะหด์ ว้ ยวิธีทางสถติ ิ
ตามลาดบั ต่อไป

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen
ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)

ผลของการจดั การเรยี นร้แู บบโครงงานที่มตี ่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวิชาวิชาเคมี

และทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

นางสาวพรวมิ ล อุตรตั น์ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ทม่ี าและความสาคัญ ข้นั ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงาน จะสง่ เสรมิ และฝกึ นกั เรียนคิด 1. ปฐมนิเทศเพือ่ แจ้งบทบาท เป้าหมาย จุดประสงคแ์ ละวธิ ีการประเมนิ
ทาการสังเกต ทดลอง หรือสืบค้น เพื่อท่ีจะพิสูจน์หาคาตอบ 2. ทดสอบก่อนเรียน
แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ในประเด็นท่ีนักเรียนสนใจด้วยการ
แกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ ข้ันตอน ได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. ดาเนนิ การทดลองกลุม่ ตัวอย่าง
ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สามารถ 4. ทดสอบหลังเรยี น
พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ 5. นาผลทไ่ี ดม้ าวิเคราะห์

วัตถปุ ระสงค์ ผลการดาเนินงาน

1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วชิ าเคมี ของนักเรียน การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยวธิ ารจัดการเรียนร้แู บบโครงงาน
ชน้ั ม.6 เมื่อได้รับการจดั การเรียนรู้แบบโครงงาน ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหนักเรยี นได้เรยี นรูวทิ ยาศาสตรท์ ่ีเนนกระบวนการไปส่กู าร
สรา้ งองคความรดู้ ว้ ยตนเอง โดยผู้เรยี นมสี วนรว่ มในการคดิ แก้ปัญหา
2. เพอ่ื พฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ของ ทางวทิ ยาศาสตร์ในประเดน็ ทน่ี ักเรียนสนใจ ทาให้นกั เรียนมีทักษะ
นกั เรยี นชนั้ ม.6เมือ่ ได้รับการจดั การเรียนรู้แบบ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่เกิดจากการเรียนรู นาความร้มู าใช้ใน
โครงงาน การเรียน จนได้คะแนนผลสมั ฤทธเ์ิ ฉล่ียสงู เพม่ิ ขน้ึ

กระบวนการแกป้ ญั หา สรุปผล

การจัดการเรยี นรู้ แบบโครงงาน มีอยู่ 5 ข้ันตอน ดังต่อไปนี้ นกั เรียนท่ไี ด้รับการจัดการเรยี นรูโ้ ดยวธิ กี ารจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน ของนักเรียน

1 การคดิ เลือกชอ่ื เรื่องหรือปญั หาทจ่ี ะศึกษา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 มีระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ และทกั ษะ
2 การวางแผนในการทาโครงงาน กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ ลงั เรียนเฉลย่ี ร้อยอยใู่ นระดบั คอ่ นข้างดี เนื่องจาก
การจดั การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการจดั การเรียนทน่ี กั เรียน จะต้องลงมอื ปฏบิ ตั ิ
ผา่ นกระบวนการคิด และสร้างความรู้ด้วยตนเอง ทาให้เกดิ การเรียนรู้จากการลง
มือปฏบิ ตั แิ ละการค้นหาคาตอบอยา่ งเป็นระบบ โดยใช้ทกั ษะกระบวนการ ทาง
วิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์

3 การลงมอื ทาโครงงาน

4 การเขียนรายงาน

5 การแสดงผลงาน

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

การศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/6 ท่ไี ดร้ ับการจัดการเรียนรู้
ด้วยกระบวนการทดลอง เรอื่ ง หนว่ ยพื้นฐานของส่ิงมชี วี ติ

นางสาวพมิ พช์ นก หมอกฤทธ์ิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ท่ีมาและความสาคญั ข้ันตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การจดั การเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการทดลอง จะส่งเสริมและฝึก 1. ปฐมนิเทศเพอื่ แจง้ บทบาท เป้าหมาย จุดประสงค์และวิธีการประเมิน
นกั เรียนคดิ ทาการทดลอง เกิดการสังเกต เป็นการแก้ปัญหา 2. สรา้ งแผนการจดั การเรียนร้แู บบเน้นการทดลอง
ทางวิทยาศาสตร์อยา่ งเปน็ ระบบ ขัน้ ตอน ได้ศึกษาเรียนรู้ด้วย 3. ดาเนินการทดลองกลุ่มตัวอย่าง
ตนเอง ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
สามารถพัฒนาผ ล สัมฤทธ์ิทาง การ เรียนและทักษ ะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

วัตถปุ ระสงค์ 4. ทดสอบหลงั เรียน

1. เพ่อื พัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรยี นระดบั ชนั้ 5. นาผลที่ไดม้ าวิเคราะห์
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ท่ไี ดร้ ับการจัดการเรียนรแู้ บบการทดลอง
2. เพ่อื พัฒนานกั เรยี นโดยการสอนแบบทดลองในวิชา ผลการดาเนินงาน
วทิ ยาศาสตร์ ของนกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1
การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยวธิ ารจัดการเรยี นรดู้ ว้ ย
Experimental method กระบวนการทดลอง ช่วยส่งเสรมิ ใหนกั เรียนไดเ้ รียนรวู ทิ ยาศาสตร์ที่
เนน้ กระบวนการไปส่กู ารสร้างองคความร้ดู ว้ ยตนเอง โดยผูเ้ รยี นมี
วิธีการสอนแบบทดลองมาใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ส่วนรว่ มในการคิดแกป้ ัญหาทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้การทดลอง ทา
ของนกั เรยี น เพื่อให้นกั เรยี นเกดิ การพฒั นาวธิ กี ารคิด ให้นกั เรียนมีทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ทีเ่ กิดจากการเรยี นรู
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ นาความร้มู าใช้ในการเรยี น จนไดค้ ะแนนผลสัมฤทธ์เิ ฉล่ียสูงเพม่ิ ข้นึ

ดา้ นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สรปุ ผล

ระบุปญั หา นกั เรยี นที่ไดร้ บั การจดั การเรยี นร้โู ดยกระบวนการทดลองมคี า่ เฉลย่ี
ต้งั สมมตฐิ าน คะแนนผลสัมฤทธิ์ผา่ นเกณฑ์ทีก่ าหนดไว้เปน็ เพราะว่านักเรียนทีไ่ ดร้ บั การ
ดาเนนิ การทดลอง จัดการเรียนรู้โดยกระบวนการทดลองทาให้ผเู้ รยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ัติ ศึกษา
สงั เกตขณะทดลอง คน้ ควา้ วธิ กี ารทดลองเพื่อพสิ ูจนห์ ลักการ ทฤษฎี ทีผ่ อู้ ่นื ไดค้ น้ พบไว้ และ
รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมลู จากการทนี่ กั เรยี นไดล้ งมอื ปฏิบัติไดด้ ้วยตนเองจะทาใหน้ ักเรยี นสามารถ
จดจาสิง่ ทน่ี ักเรยี นสรุปได้
สรุปผลการทดลอง

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC)

รายงานการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนโดยใชก้ ระบวนการแบบวัฏจรั การ
เรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

นางสาววาสนา ยะหตั ตะ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

ที่มาและความสาคญั ขนั้ ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

วทิ ยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิด 1. ปฐมนิเทศเพ่อื แจ้งบทบาท เป้าหมาย จดุ ประสงค์และวธิ ีการประเมิน
ของมนษุ ย์ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมี 2. ทดสอบกอ่ นเรยี น
เหตุผลเป็นระบบมีแบบแผนสามารถวิเคราะห์ปัญหา
ห รื อ ส ถ า น ก า ร ณ์ ไ ด้ อ ย่ า ง ถ่ี ถ้ ว น ร อ บ ค อ บ ช่ ว ย ใ ห้ 3. ดาเนนิ การทดลองกลมุ่ ตวั อย่าง
คาดการณ์วางแผนตัดสินใจแก้ปัญหาและนาไปใช้ใน 4. ทดสอบหลังเรียน
ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จึงใช้
กระบวนการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) มาช่วยในกระบวนการ 5. นาผลท่ีไดม้ าวเิ คราะห์
เรยี นการสอนทาให้ผ้เู รยี นมคี วามรมู้ ากยง่ิ ขน้ึ
ผลการดาเนนิ งาน
วัตถปุ ระสงค์
ตารางเปรียบเทยี บคะแนนผลสมั ฤทธ์ิการเขยี นคาศัพท์ภาษาอังกฤษก่อนและ
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการ หลังเรียนของนกั เรยี นทีไ่ ดร้ บั การสอนโดยใช้เกม โดยใชส้ ถติ ิ t-test
เรียนร้วู ทิ ยาศาสตรข์ องนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ของ
นกั เรยี นโรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

กระบวนการแกป้ ัญหา สรุปผล

ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง ชุดกิจกรรมการเรียนรเู้ รอ่ื ง โลกและการเปล่ยี นแปลง พบว่าผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
โลกและการเปลยี่ นแปลง ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ หลงั
เรียนมคี ะแนนสงู กวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ัยสาคัญ 0.05 ผลการประเมินความพงึ พอใจ
P (Plan) ของนักเรียนทมี่ ีต่อชุดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น โดยใช้
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) เรอ่ื งโลกและการ
P • พัฒนาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เร่ืองโรคและการ เปลยี่ นแปลง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรน์ กั เรียนมีความพึงพอใจเฉลี่ย 4.27
เปลี่ยนแปลง อยู่ในระดบั พอใจมาก
D D (Do)
• นาชดุ กิจกรรมไปใชก้ ับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง

C C (Check)
• ทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น

A A (Act)
• ปรับปรงุ และพัฒนาชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรพู า่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC)

การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น และ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลเชิง

วิทยาศาสตร์ โดยใชช้ ดุ ฝึ กทกั ษะการเขียนตอบอตั นยั ประยกุ ต์

นางสาววิภาพรรณ มกั ขนุ ทด กลม่ ุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ท่ีมาและความสาคญั ขนั้ ตอนการดาเนิน
กจิ กรรม

แบบสอบอตั นยั ประยกุ ต์ เป็ นแบบสอบความเรียงรปู แบบ ปฐมนเิ ทศเพือ่ แจง้ บทบาท เป้ าหมาย
หนึ่ง ที่ช่วยส่งเสริมความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลเชิง
วิทยาศาสตร์ ท่ีเหมาะกับการใชร้ ่วมกับชดุ ฝึ กทักษะยัง 1
เป็ นอีกหนึ่งเคร่ืองมือที่ช่วยให้ผูเ้ รียนได้ฝึ กทักษะใน
เน้ือหาเรื่องที่เรียนไดต้ ามศักยภาพ และความสามารถที่ จดุ ประสงคแ์ ละวิธกี ารประเมนิ
แตกตา่ งกนั ของผเู้ รียนแตล่ ะคน
2 ทดสอบก่อนเรียนกบั กลมุ่ ตวั อย่าง
3 ดาเนนิ การทดลองกบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง

4 ทดสอบหลงั เรียนกบั กลมุ่ ตวั อย่าง

วตั ถปุ ระสงค์ วิเคราะหข์ อ้ มลู ดา้ นผลสมั ฤทธทิ์ าง

เพ่ือพฒั นาชดุ ฝึ กทกั ษะการเขยี น 5 การเรียน และความสามารถในการให้

1 เหตผุ ลเชงิ วทิ ยาศาสตร์

ตอบอตั นยั ประยกุ ต์

เพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ าง ผลการดาเนินงาน

2

การเรียนรายวิชาชวี วิทยา 5

เพื่อพฒั นาความสามารถในการให้

3 เหตผุ ลเชงิ วทิ ยาศาสตร์

กระบวนการแกป้ ัญหา

สรปุ ผล

ชดุ ฝึ กทกั ษะการเขยี นตอบอตั นยั ประยกุ ต์ มปี ระสทิ ธิภาพ และ
ทาใหค้ ะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนl และ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล
เชงิ วิทยาศาสตรห์ ลงั เรียนสงู กว่ากอ่ นเรียนอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ี
ระดบั 0.05

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ saipanya.co.th

๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้ อมปราบ เขตป้ อมปราบศตั รพู ่าย ๑๐๑๐๐ ๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2
ที่ได้รับการสอนโดยใชเ้ อกสารประกอบการเรียนเร่อื ง ทรพั ยากรธรณี

นางสาวศวิ ิไลซ์ ธาราเพ็ชรัตน์ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

ทม่ี าและความสาคญั ขนั้ ตอนการดาเนินกจิ กรรม

เอกสารประกอบการเรียน เปน็ ส่อื ที่ผู้สอนเรียบเรียงข้ึน 1. การกาหนดและการเลอื กกล่มุ เปา้ หมาย
เพ่ือใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยมีหัวข้อ
ค ร บ ถ้ ว น ต า ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง วิ ช า ท่ี ก า ห น ด ไ ว้ ใ น 2. เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวิจยั
หลกั สูตร มีความหมายครอบคลุมในด้านต่างๆ การใช้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนนับเป็นนวัตกรรมที่ 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
มีประสิทธิภาพใช้ได้กับนักเรียนทุกระดับ ช่วยแบ่งเบา
ภาระของครู ช่วยประหยัดเวลาในการสอน ทาให้ 4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
นักเรียนสามารถสรุปองค์ความรู้และสามารถพัฒนา
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นได้ ผลการดาเนนิ งาน

วัตถปุ ระสงค์ หลังจากนกั เรียนได้เรยี นดว้ ยเอกสารประกอบการเรยี นเรื่องทรพั ยากรธรณแี ลว้ ใหท้ าการ
ทดสอบหลงั เรยี น โดยเก็บคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เร่อื ง
ทรัพยากรธรณี ซ่งึ ปรากฏ ผลการวเิ คราะห์ดงั ตาราง

เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ท า ง ก า ร เ รี ย น ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น สรุปผล
มธั ยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรยี นด้วยเอกสารประกอบ
การเรยี น เร่อื ง ทรพั ยากรธรณี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 หลังเรียนด้วยเอกสาร
ประกอบการเรยี น เร่อื ง ทรพั ยากรธรณี พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 61.87
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ซ่ึงต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ซ่ึงไม่เป็นไปตามสมมติฐาน
เนอื่ งมาจาก
ตัวแปรอสิ ระ ตัวแปรตาม
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ประการแรก เมื่อมีกิจกรรมการทดลอง นักเรียนบางคนใน
การเรยี นโดยใชเ้ อกสาร กล่มุ ไมค่ ่อยมสี ว่ นรว่ มในการทดลอง ทาใหไ้ มเ่ กิดการเรียนรู้ ไม่สามารถแลกเปลี่ยน
ประกอบการเรียน ความรูใ้ นเนื้อหาน้นั ๆกบั เพือ่ นรว่ มกลุ่มได้ ส่งผลตอ่ ความรแู้ ละความเข้าใจในเน้ือหา
ทรพั ยากรธรณี ส่วนทีเ่ รียน ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของ ภาณุวัฒน์ เปรมปรี (2556: 45) ได้ศึกษา
ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องระบบนิเวศน้าจืด ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ พบว่า การจัดการ
เรียนรู้ท่ีนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม เน้นกระบวนการกลุ่ม แลกเปลี่ยนการ
เรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่ม ทาให้นักเรียนทุกคนมีบทบาทสาคัญในการทากิจกรรม
ทาให้นกั เรียนเกดิ การเรียนร้ไู ด้ดกี วา่ สง่ ผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดี
ข้นึ

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รพู ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen
ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC)

การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจดั การเรียนรู้แบบทานาย สงั เกต อธบิ าย (POE)

เสรมิ ดว้ ยเทคนิค KWDL เรือ่ งงานและพลงั งาน ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4

นางสาวสุนารี ชินรตั น์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ที่มาและความสาคญั ขนั้ ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

การจัดการเรียนรู้แบบทานาย สังเกต อธิบาย (POE) 5. วิเคราะห์ผล
จะส่งเสริมและฝึกนักเรียนคิด ทาการสังเกต ทดลอง 4. ทดสอบหลังเรียน
หรือสืบค้น เพ่ือท่ีจะพิสูจน์หาคาตอบจากการทานาย 3. ดาเนนิ การทดลองกลุ่มตัวอย่าง
เทคนิค KWDL สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทดสอบก่อนเรียน
โจทย์ปัญหาได้อย่างมีระบบและเป็นขั้นตอน เพ่ือ 1. ปฐมนเิ ทศเพื่อแจง้ บทบาท จุดประสงคแ์ ละวธิ ีการประเมิน
พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เร่ือง
งานและพลังงาน

วัตถปุ ระสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เร่ือง งาน การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยวิธีสอนแบบทานาย สงั เกต อธบิ ายจะ
และพลังงาน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่ได้รับ ชว่ ยสง่ เสริมใหนักเรียนได้เรยี นรูวิทยาศาสตร์ทเี่ นนกระบวนการไปสู่การ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยวิธีการ สร้างองคความรูโดยผ้เู รยี นมสี วนร่วมทุกขัน้ ตอน ทาใหเกดิ มโนมตทิ าง
จัดการเรยี นรูแ้ บบทานาย สงั เกต อธบิ าย (POE) เสรมิ ด้วย วิทยาศาสตร์ที่เกดิ จากการเรียนรูมาใชอธิบายคาตอบในคาถามของแบบวัด
เทคนคิ KWDL มโนมตทิ างวทิ ยาศาสตร์จนได้คะแนนเฉล่ียสงู เพ่ิมขึน้

กระบวนการแก้ปญั หา สรุปผล

ลกั ษณะสาคัญของการเรยี นรู้แบบทานาย สงั เกต อธบิ าย ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนทไ่ี ดร้ บั การจดั การเรียนรู้โดยวธิ ีการจัดการเรียนรู้
(POE) มีอยู่ 3 ขั้นตอน ดังตอ่ ไปนี้ แบบทานาย สังเกต อธบิ าย (POE) เสริมด้วยเทคนิค KWDL เรือ่ งงานและพลังงาน
ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 หลงั เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ

ขนั้ ทานาย • นกั เรียนทานายเกยี่ วกับปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ หรือทานายผล ทีร่ ะดับ .01 วิธกี ารจดั การเรียนรู้ทเี่ น้นให้ผเู้ รยี นสรา้ งองคค์ วามร้ดู ้วยตนเอง โดย
(Predict) การทดลองทีค่ าดว่าจะเกิดข้นึ โดยทีน่ ักเรียนต้องให้เหตุผล อาศยั ความร้พู ื้นฐานจากประสบการณ์เดิมของตนเอง ผลจากการจัดการเรียนรู้ท่ีให้
เกีย่ วกบั คาทานายของนกั เรยี นดว้ ย คน้ พบความร้ดู ว้ ยตวั เองจากกระบวนการกลุ่มควบคู่กับการเกดิ ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ ง
ขน้ั สงั เกต ผู้เรยี นดว้ ยกัน และผสู้ อนกบั ผู้เรียน ทาใหผ้ ู้เรียนมีความสนใจ มคี วามกระตอื รือร้น
(Observing) • นักเรียนต้องลงมือทาการทดลอง หรือพิสูจน์ หาคาตอบเก่ียวกับสิ่งที่ และความตัง้ ใจ และเกิดความเขา้ ใจจากการแลกเปล่ยี นความรู้สง่ ผลใหผ้ เู้ รียนเกดิ องค์
ทานายไว้ โดยการทดลอง หรือพิสูจน์ นักเรียนเป็นผู้ออกแบบการ ความรู้ดว้ ยตนเอง
ทดลองหรอื วางแนวทางการพสิ จู น์ตามความตอ้ งการของนักเรยี น

ขั้นอธบิ าย • นักเรยี นต้องลงมอื ทาการทดลอง หรอื พิสูจน์ สิ่งท่ีนักเรียนทานายไว้ว่า
(Explain) เปน็ จริงหรอื ไม่ ซึง่ อาจจะมกี ารขดั แยง้ กบั ส่ิงท่ีนักเรียนทานายไว้ จึงทา
ให้นกั เรยี นต้องพยายามหาเหตุผลมาอธิบายถึงสาเหตุของเหตุการณ์ที่
เกิดข้นึ ถา้ ไมส่ ามารถหาได้ ก็อาจจะมีการแลกเปลี่ยนความรูก้ ับกลุ่มอื่น
แ ล้ ว ค้ น ค ว้ า ห า ท ฤ ษ ฎี ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ม า อ ธิ บ า ย จ น ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย
ปรากฏการณท์ ีเ่ กดิ ขน้ึ ไดแ้ ละมคี วามน่าเช่อื ถือมากทสี่ ุด

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC)

การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนโดยการจดั การเรียนรแู้ บบทานาย สังเกต อธบิ าย (POE)
เสรมิ ดว้ ยเทคนคิ KWDL เร่ืองงานและพลงั งาน ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4

นางสาวสุนารี ชนิ รัตน์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ทีม่ าและความสาคัญ ขั้นตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การจัดการเรียนรู้แบบทานาย สังเกต อธิบาย (POE) 1. ปฐมนเิ ทศเพอ่ื แจง้ บทบาท เปา้ หมาย จดุ ประสงค์และวธิ ีการประเมิน
จะส่งเสริมและฝึกนักเรียนคิด ทาการสังเกต ทดลอง 2. ทดสอบก่อนเรยี น
หรือสืบค้น เพื่อที่จะพิสูจน์หาคาตอบจากการทานาย
เทคนิค KWDL สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ดาเนนิ การทดลองกลมุ่ ตวั อย่าง
โจทย์ปัญหาได้อย่างมีระบบและเป็นข้ันตอน เพื่อ 4. ทดสอบหลังเรยี น
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง
งานและพลังงาน 5. นาผลทไี่ ด้มาวิเคราะห์

วตั ถปุ ระสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เร่ือง งาน ตารางเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการ
และพลังงาน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีได้รับ ใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยวธิ ีการจัดการเรียนรแู้ บบทานาย สังเกต อธบิ าย (POE) เสริม
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยวิธีการ ด้วยเทคนิค KWDL เร่ืองงานและพลงั งานโดยใช้สถติ ิ t-test
จดั การเรยี นรแู้ บบทานาย สังเกต อธบิ าย (POE) เสรมิ ด้วย
เทคนคิ KWDL

กระบวนการแก้ปัญหา สรปุ ผล

การแก้โจทย์ปัญหาฟิสกิ ส์ดว้ ยเทคนิค KWDL ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการ
มขี ้ันตอนการทางาน 4 ขั้นตอน ซึ่ง KWDL ย่อมาจาก จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ
ทานาย สังเกต อธิบาย (POE) เสริมด้วยเทคนิค
K K (What we Know) KWDL เรื่องงานและพลังงาน ของนักเรียนช้ัน
• เรารู้อะไร มัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
W W (What we want to Know) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วิธีการ
• เราตอ้ งการรูอ้ ะไร ต้องการทราบอะไร จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้
D D (What we Do) ด้วยตนเอง โดยอาศัยความรู้พ้ืนฐานจาก
• เราทาอะไร อยา่ งไร ประสบการณเ์ ดิมของตนเอง ผลจากการจัดการ
เรียนรู้ท่ีใ ห้ค้นพ บ ความรู้ด้วยตัวเองจาก
L L (What we Learned) กระบวนการกลุ่มควบคู่กับการเกิดปฏิสัมพันธ์
• เราเรียนรู้อะไร ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และผู้สอนกับผู้เรียน ทา
ใหผ้ ู้เรยี นมีความสนใจ มีความกระตือรือร้นและ
ความต้ังใจ และเกิดความเข้าใจจากการ
แลกเปลี่ยนความรู้สง่ ผลให้ผ้เู รียนเกดิ องค์ความรู้
ดว้ ยตนเอง

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรพู า่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC)

การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นโดยการจัดการเรียนรแู้ บบทานาย สังเกต อธิบาย (POE)

เสริมดว้ ยเทคนิค KWDL เรือ่ งงานและพลังงาน ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

นางสาวสุนารี ชินรัตน์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ทม่ี าและความสาคญั ขัน้ ตอนการดาเนินกจิ กรรม

การจัดการเรียนรู้แบบทานาย สังเกต อธิบาย (POE) ผลการดาเนินงาน
จะส่งเสริมและฝึกนักเรียนคิด ทาการสังเกต ทดลอง
หรือสืบค้น เพ่ือที่จะพิสูจน์หาคาตอบจากการทานาย
เทคนิค KWDL สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
โจทย์ปัญหาได้อย่างมีระบบและเป็นขั้นตอน เพ่ือ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง
งานและพลังงาน

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง งาน ตารางเปรยี บเทยี บคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ก่อนและหลงั การ
และพลังงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีได้รับ ใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบทานาย สงั เกต อธิบาย (POE) เสรมิ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยวิธีการ ดว้ ยเทคนคิ KWDL เรอ่ื งงานและพลังงานโดยใช้สถติ ิ t-test
จดั การเรียนรู้แบบทานาย สงั เกต อธิบาย (POE) เสริมด้วย
เทคนิค KWDL

กระบวนการแก้ปัญหา สรปุ ผล

ลักษณะสาคัญของการเรยี นรแู้ บบทานาย สงั เกต อธบิ าย ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียนที่ได้รบั การจดั การเรียนรโู้ ดยวิธีการจัดการเรียนรู้
(POE) มีอยู่ 3 ขนั้ ตอน ดงั ต่อไปนี้ แบบทานาย สังเกต อธิบาย (POE) เสริมด้วยเทคนิค KWDL เร่ืองงานและพลังงาน
ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 หลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรยี นอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติ
ขนั้ ทานาย • นกั เรียนทานายเกีย่ วกบั ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ หรือทานาย ท่ีระดับ .01 วิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดย
(Predict) ผลการทดลองท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึน โดยที่นักเรียนต้องให้ อาศัยความรพู้ นื้ ฐานจากประสบการณ์เดิมของตนเอง ผลจากการจัดการเรียนรู้ที่ให้
เหตุผลเกีย่ วกบั คาทานายของนักเรียนดว้ ย คน้ พบความรู้ด้วยตัวเองจากกระบวนการกลุ่มควบคู่กับการเกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ขน้ั สงั เกต ผเู้ รยี นด้วยกัน และผู้สอนกับผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีความสนใจ มีความกระตือรือร้น
(Observing) • นกั เรียนตอ้ งลงมือทาการทดลอง หรอื พิสจู น์ หาคาตอบเก่ียวกับสิ่ง และความตงั้ ใจ และเกิดความเขา้ ใจจากการแลกเปลีย่ นความรู้ส่งผลใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ องค์
ที่ทานายไว้ โดยการทดลอง หรือพิสูจน์ นักเรียนเป็นผู้ออกแบบ ความรู้ด้วยตนเอง
ขนั้ อธบิ าย การทดลองหรือวางแนวทางการพิสูจน์ตามความต้องการของ
(Explain) นกั เรียน
• นักเรยี นต้องลงมือทาการทดลอง หรือพิสูจน์ สิ่งที่นักเรียนทานายไว้
วา่ เป็นจริงหรือไม่ ซึ่งอาจจะมีการขัดแย้งกับส่ิงท่ีนักเรียนทานายไว้
จึงทาให้นักเรียนต้องพยายามหาเหตุผลมาอธิบายถึงสาเหตุของ
เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน ถ้าไม่สามารถหาได้ ก็อาจจะมีการแลกเปลี่ยน
ความรู้กับกลุ่มอ่ืน แล้วค้นคว้าหาทฤษฎีที่เก่ียวข้องมาอธิบายจน
สามารถอธิบายปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นได้และมีความน่าเช่ือถือมาก
ทีส่ ุด

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)

การสรา้ งชุดฝึกทกั ษะเพ่ือซ่อมเสริม เรื่อง แรงและการเคล่ือนท่ีของ นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

นางอรณุ ศรี ทวโี ภคา กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ทมี่ าและความสาคญั ขัน้ ตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การสอนซ่อมเสรมิ ทมี่ กี ารวนิ จิ ฉยั เพื่อหาขอ้ บกพรอ่ งใน 5. วิเคราะห์ผล
การเรยี นและซอ่ มเสริมโดยใช้ชุดฝกึ ทักษะ จะชว่ ยให้ 4. ทดสอบหลงั เรยี น
นกั เรียน ช่วยให้นักเรยี นทม่ี ผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นต่า 3. ดาเนินการทดลองกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ได้มีโอกาสบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของการเรยี นวชิ าการ 2. ทดสอบกอ่ นเรยี น
เคลอื่ นที่และพลังงาน(วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) เรื่อง แรง 1. ปฐมนิเทศเพื่อแจ้งบทบาท จดุ ประสงค์และวิธกี ารประเมิน
และการเคลอ่ื นที่ ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

วัตถปุ ระสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

1.เพื่อสรา้ งชดุ ฝึกทักษะ สาหรับสอนซ่อมเสริมวิชาวิทยาศาสตร์ จดั การสอนตามปกตติ ามเนือ้ หาแรงและการเคลอ่ื นท่ี และท่าการทดสอบ
เรอ่ื ง แรงและการเคลือ่ นที่ ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 นักเรียนทม่ี ี
2. เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนที่ได้รับการ
สอนซ่อมเสริม โดยใช้ชุดฝึกทักษะ เรื่อง แรงและการเคล่ือนที่ สรุปผล
ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4

กระบวนการแก้ปญั หา

จดั การสอนตามปกติตามเนื้อหาแรงและการเคลอ่ื นท่ี และท่าการ ความสามารถในการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีได้รับการสอนโดย
ทดสอบ นกั เรยี นที่มผี ลการทดสอบไม่ผา่ น จดั การซ่อมเสริมโดยใช้ ใช้ชุดฝีกทกั ษะเพ่ือซอ่ มเสรมิ เรอื่ ง แรงและการเคลื่อนท่ี หลังการทดลองสอนโดย
แบบฝกึ ทกั ษะ ใช้ชุดฝีกทักษะสูงกว่า ก่อนการทดลองโดยใช้ชุดฝึกทักษะอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิตทีร่ ะดบั 0.05

ข้นั ทานาย • นกั เรียนที่มผี ลทดสอบไม่ผ่านหากซ่อมเสริมโดยใช้แบบฝึก
(Predict) ทักษะจะมีผลทดสอบผ่าน

• นกั เรียนที่ผา่ นการซ่อมเสริมด้วยแบบฝึกทกั ษะจะสามารถทา
ขน้ั สังเกต โจทยป์ ัญหาได้

(Observing)

ขน้ั อธิบาย • นกั เรียนทีต่ อ้ งเรยี นซอ่ มเสริมเหมือนได้เรียนอีกคร้ังพร้อมใช้
แบบฝกึ ทักษะทาให้สามารถ แก้โจทยป์ ญั หาได้
(Explain)

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรพู า่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC)

ผลของการใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ 5 ขนั้ ตอน (5 STEPs) ทมี ีต่อความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ

การสืบคน้ ขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์เพอื จดั ทาหนังสอื สารานกุ รมพรรณไม้ในโรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

นาย ปรมนิ ทร์ แกว้ กลาศรี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ทมี าและความสาคญั ผลการดาเนินงาน

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ดาเนินรอยตามพระราชดาริ • ผลการหาระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยผู้เช่ียวชาญ
เกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ในปจั จบุ นั พบว่าพรรณไมห้ ลายชนดิ ใน ผูเ้ ชี่ยวชาญประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.6 คิด
โรงเรียนได้เล่ียนแปลงไป จากการจัดสภาพแวดล้อมของทางโรงเรียนให้ เปน็ ระดบั มากท่สี ุด
เหมาะสม ทาใหข้ อ้ มูลพรรณไมเ้ ดิมเปล่ียนแปลงและไม่เป็นปัจจุบัน ประกอบ
กบั ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 นี้ นักเรียนได้เรียนรายวิชา ว 30243 • การประเมินผลการทาหนังสือสารานุกรมพรรณไม้ โรงเรียนสาย
ชีววทิ ยา 3 ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกับพชื ในมุมมองต่าง ๆ จงึ เปน็ โอกาสดที ใ่ี หน้ ักเรียนได้ ปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ นักเรียนจัดทาหนังสือสารานุกรม
รจู้ กั พรรณไมใ้ นโรงเรียนมากขึ้น ร้จู กั การหาข้อมลู ของพืช และรวบรวมรายชื่อ พรรณไม้ในโรงเรียน โดยมีคะแนนในการประเมินเฉล่ียรวมเท่ากับ
พรรณไม้ในโรงเรียน การจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active 3.83 คิดเปน็ ระดบั ดีมาก
Learning) กระบวนการเรียนรู้ท่ีจะใช้แก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น คือการใช้
กระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5 ขั้นตอน ร่วมกับการใช้เทคโนโลยี สรุปผล
สารสนเทศและการสืบค้นขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็ และแหล่งข้อมลู ต่างๆ
1.นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
วตั ถุประสงค์ และการสืบค้นทางวิทยาศาสตร์ โดยประเมินจากแบบ
ประเมินผลงาน หนังสือสารานุกรมพรรณไม้ของนักเรียน
1. เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบค้นข้อมูลทาง รอ้ ยละ 90
วทิ ยาศาสตร์ของนกั เรยี นระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 2.นกั เรียนทไ่ี ดร้ บั การสอนโดยกระบวนการจัดการเรียนรู้ 5
5 ข้ันตอน STEPs สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสืบค้นทาง
วิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างผลงาน หนงั สอื สารานุกรมพรรณไม้
2. .เพ่ือจัดทาหนังสือสารานุกรมพรรณไม้ ในโรงเรียนสายปัญญาในพระบรม ที่เป็นปัจจบุ ันได้ รอ้ ยละ 100
ราชินูปถัมภท์ ่เี ป็นปัจจุบนั -นักเรียนได้รับความรู้ในการสืบค้นข้อมูลพรรณไม้ โดยใช้
เทคโนโลยีใหม่ๆมาช่วยในการหาข้อมูล และสร้างความ
วิธกี ารดาเนนิ การวิจัย สนใจให้กบั ผ้เู รยี นเปน็ อย่างดี

เลอื ก นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/2และ 5/3 ภาคเรียนที่ 2 ประจาปีการศึกษา 2561
กลุ่ม โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ จานวน 60 คน

เป้า

หมาย เนอ้ื หาท่ีใช้ รายวชิ า ว 30243 ชีววทิ ยา 3 โครงสรา้ งและหน้าทีข่ องพืช

ดอก ซึง่ ประกอบดว้ ยเน้ือหาดังตอ่ ไปนี้

-ลักษณะของพชื ใบเล้ยี งเด่ียว และใบเล้ยี งคู่

-ปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อการรกั ษาดลุ ยภาพในพชื

ดา ดาเนินการในช่วงระหว่างวันท่ี 7-25มกราคม 2562 รวมระยะเวลา
เนิน ทั้งสิน้ 3 สัปดาห์
การ เครอื่ งมือทใ่ี ช้
แผนการจดั การเรียนรู้แบบ 5 ขัน้ ตอน (5 STEPs)

แบบประเมินผลงงานการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบค้ น

ข้อมลู จากหนงั สอื สารานกุ รมพรรณไม้

สรุป นาผลการหาระดบั คณุ ภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ แบบประเมินผลง
ผล งานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบค้นข้อมูล จากหนังสือ
สารานุกรมพรรณไม้ โดยวิธกี ารทางสถติ และสรปุ ผลการวิจยั

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรพู ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ (PLC)

นวตั กรรมการจดั การเรียนรเู้ พือ่ สง่ เสริมทกั ษะผ้เู รยี นในยุค Thailand 4.0 “การใช้ QR CODE เพอ่ื การศกึ ษา

อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี และแนวคิดการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีของนักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5”
นายอนุศาสตร์ เขียวขจี กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ที่มาและความสาคญั ข้ันตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การใหเ้ กิดการเรียนรู้ท่ีคงทนแก่ผู้เรียน สามารถนาความรู้ไปใช้
ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ได้เรียนรูใ้ นสิง่ ที่ต้องรู้ เรียนส่ิงที่ควรรู้ และ
สิง่ ท่รี ไู้ ดก้ ็ดี เนอ้ื หาสาระแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาเคมีมีลักษณะ
เป็นนามธรรม มีความซบั ซ้อน นกั เรยี นไม่สามารถตีความทฤษฎี
ท่ีใช้ในการอธิบายได้ จึงได้รวบรวมแหล่งเรียนรู้ท่ีอยู่ในรูปแบบ
ส่ือสารเรียนรู้ออนไลน์ในเรื่องดังกล่าวมาจัดทาเป็น QR CODE
ใช้ในการเช่อื มต่อในการจัดการเรียนรู้

วตั ถุประสงค์ ผลการดาเนินงาน

1. เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนวิชาเคมีเรอ่ื งการอธบิ ายแนวคิด พบวา่ นกั เรียนทเ่ี รียนโดยใช้กิจกรรมควิ อารโ์ ค้ดผลสัมฤทธท์ิ างการ
การเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีและปัจจยั ที่มผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ า เรียนสงู ข้นึ และมพี ัฒนาการเฉลยี่ ร้อยละ 66.23 การประเมนิ ความพงึ
2. เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรยี นที่มตี อ่ การจดั การเรยี นรู้โดย พอของนักเรยี นใจโดยรวมตอ่ การใช้ควิ อารโ์ คด้ ในการ
การใช้ QR CODE
เช่อื มตอ่ การเรียนเรอ่ื งปฏกิ ิรยิ าเคมีมีคา่ เฉล่ยี อยู่ในระดับมาก

กระบวนการแก้ปัญหา สรปุ ผล

มอี ยู่ 3 ขน้ั ตอน ดังต่อไปนี้ การจัดการเรยี นรวู้ ิชาเคมรี ะดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 หนว่ ยการเรยี นเรอื่ ง
แนวคดิ ปฏิกิริเคมีและปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี โดย
• รวบรวมแหล่งข้อมูลเว็ปไซต์สื่อ รวบรวมแหลง่ เรยี นรูท้ ี่อยูใ่ นรูปแบบสื่อสารเรียนรูอ้ อนไลนก์ ลา่ วมาจดั ทา
ขนั้ เตรยี มการ การเรียนรูอ้ อนไลน์ เปน็ QR CODE ใชใ้ นการเช่อื มต่อในการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการ
กลมุ่ ช่วยเพมิ่ ผลสัมฤทธทิ์ างเรียนและผลการประเมินความพึงพอใจพบวา่
ผู้เรียนมีความพงึ พอใจในระดับมาก

. ขนั้ • นาแหล่งข้อมูลเว็ปไซต์ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์มา
ดาเนนิ การ จดั ทาเป็น QR Cod

• นาขอ้ มูลท่ีได้มาทาการวิเคราะห์ ดว้ ยค่าสถติ ิ
คา่ เฉล่ยี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการพฒั นา

ขั้นประเมนิ ผล ความแตกต่างดว้ ยสถิตริ อ้ ยละ

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตป้อมปราบศัตรพู ่าย ๑๐๑๐๐

กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี (PLC)

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาสงั คมศึกษา สาระหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง เรอื่ งกฎหมายในชวี ิตประจาวัน

โดยใชว้ ธิ ีการจดั การเรยี นรู้แบบกรณีตัวอยา่ งของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ นางสาวจุฑาภรณ์ วาสเุ ทพ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษาฯ

ท่ีมาและความสาคัญ ขน้ั ตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การจัดการเรียนการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นการนา 5. วเิ คราะห์ผล
เหตกุ ารณ์หรอื เรื่องราวตา่ งๆทีเ่ น้นสภาพปญั หาในชวี ิตจริง 4. ทดสอบหลงั เรียน
ที่เกิดขึ้นในสังคมและนามาผูกเรื่องราวเป็นตัวอย่างให้ 3. ดาเนินการทดลองกล่มุ ตวั อย่าง
ผู้เรียนศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ผู้เรียนมองเห็น 2. ทดสอบก่อนเรียน
ความถูกต้อง หรือไม่ถูกต้องในส่ิงนั้น โดยให้ผู้เรียนมี 1. ปฐมนิเทศเพ่ือแจง้ บทบาท จุดประสงคแ์ ละวธิ ีการประเมิน
ความรู้สึกเห็นจริงกับเรื่องน้ันๆ มีการอภิปราย ร่วมกัน
แก้ปัญหา ยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ืน ได้อย่างมี ผลการดาเนนิ งาน
หลักการและเหตผุ ล
ตารางเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าสังคมศกึ ษา สาระหน้าท่ี
วัตถุประสงค์ พลเมอื ง เร่อื งกฎหมายในชวี ิตประจาวนั ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
กอ่ นและหลงั การจัดการเรียนรู้แบบกรณีตัวอย่าง โดยใช้สถิติ Dependent
เพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา Sample t-test
สาระหนา้ ทพี่ ลเมือง เรื่องกฎหมายในชีวิตประจาวัน ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ก่อนและหลังการจัดการ
เรียนร้แู บบกรณตี ัวอยา่ ง

กระบวนการแก้ปัญหา

วธิ ีการจัดการเรียนสอนโดยใชก้ รณีตวั อย่าง มี 4 ขัน้ ตอน สรปุ ผล
ดังต่อไปน้ี
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวชิ าสงั คมศกึ ษา สาระหนา้ ที่พลเมือง เรื่องกฎหมาย
เตรยี มกรณีตวั อย่างที่สอดคลอ้ งกบั จุดมุ่งหมายทต่ี อ้ งการ ในชีวิตประจาวัน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีได้รับการจัดการ
เรียนรแู้ บบกรณีตัวอยา่ งคะแนนหลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น แตกต่างกันอย่าง
ขั้นนา ให้เกดิ กบั ผู้เรียน แลว้ ใช้คาถามกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนคิดและ มนี ัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยค่าเฉล่ียคะแนนหลังเรียน (16.45) สูง
กว่าค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียน (6.27) ซ่ึงสอดคล้องกับทิศนา แขมมณี
ตอบคาถาม (2545: 75) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้แบบกรณีตัวอย่างช่วยพัฒนาผู้เรียน
ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดแก้ปัญหา
ขน้ั นาเสนอ ผสู้ อนนาเสนอประเด็นหลังกรณีตวั อยา่ ง ถา้ เปน็ ผเู้ รยี นมมี มุ มองท่ีกวา่ ขนึ้
ผู้เรียนนาเสนอผสู้ อนก็ควรตอ้ งมกี ารส่งั ไวล้ ว่ งหน้า

ข้นั อภปิ ราย ผสู้ อนและผเู้ รยี นช่วยกนั อภิปราย วเิ คราะห์ กรณี
ตวั อย่าง

ข้นั สรุป ผ้เู รียนช่วยกันสรปุ แนวคดิ หรอื ประเดน็ ที่ได้ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)

การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเรอ่ื ง กลไกราคา ของนกั เรยี นระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3/3
โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ โดยใช้การ์ตูนเป็นสอ่ื การเรียนการสอน

นางสาวณิศวัลย์ แจง้ กิจ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษาฯ

ท่มี าและความสาคญั ขนั้ ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

สือ่ การสอนที่เป็นหนังสอื การต์ นู ถือว่าเปน็ สือ่ อย่างหนึ่งท่ีมี 1. ปฐมนเิ ทศเพ่อื แจ้งบทบาท เป้าหมาย จดุ ประสงค์และวิธีการประเมิน
ความสาคัญในการจัดการเรียนการสอน เป็นสื่อกลางใน 2. ทดสอบก่อนเรียน
การถ่ายทอดความรู้จากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่านได้เป็นอย่างดี
โดยเฉพาะการ์ตูนท่ีมีเน้ือหาตรงกับจุดประสงค์การเรียน 3. ดาเนินการทดลองกลุ่มตวั อยา่ ง
รูปแบบของหนังสือการ์ตูนเป็นจุดเด่นที่ทาให้เด็กสนใจ 4. ทดสอบหลังเรียน
เป็นการส่ือความหมายด้วยภาพ แม้เด็กที่ยังอ่านหนังสือ
ไม่ออกก็สามารถลาดับเร่ืองราวต่างๆ ได้ด้วยภาพ 5. นาผลท่ไี ดม้ าวิเคราะห์
เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง
กลไกราคา ผลการดาเนนิ งาน

วัตถปุ ระสงค์ ตารางเปรียบเทยี บคะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเรอื่ ง กลไกราคา
ของนักเรียนระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3/3 โรงเรียนสายปัญญา ใน
เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน พระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ โดยใช้การ์ตูนเป็นสือ่ การเรยี นการสอน โดย
และหลังเรียน เร่ือง กลไกราคา ของนักเรียนระดับ ใชส้ ถิติ t-test
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/3 โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรม
ราชนิ ปู ถมั ภ์

กระบวนการแก้ปัญหา

หนงั สือการต์ นู เรอื่ ง เปน็ หนงั สอื ทม่ี ีภาพการ์ตูน มีข้อความ สรปุ ผล
บรรยาย คาพดู การ์ตนู บรรจอุ ยูใ่ นกรอบภาพที่สมั พนั ธต์ ่อ
เนอื่ งกนั เปน็ เร่อื งตง้ั แตต่ ้นจนจบ ถือเปน็ สอื่ บนั เทงิ อีก ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเร่ือง กลไกราคา โดยใช้การ์ตูนเป็นสื่อ
ประเภหนง่ึ หลักการเลือกการ์ตูนในการนาไปประกอบ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 3/3
การสอน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05
โดยมีลกั ษณะเป็นหนังสือที่มีภาพการ์ตูน มีข้อความบรรยาย คาพูดการ์ตูน
Appropriatcness to Experience Level บ ร ร จุ อ ยู่ ใ น ก ร อ บ ภ า พ นั้ น มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ต่ อ เ นื่ อ ง กั น
เลือกการ์ตูนท่เี หมาะสมกบั ประสบการณ์ของผเู้ รยี น เ ป็ น วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ เ น้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ส ร้ า ง อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง
โดยอาศัยความรู้พื้นฐานจากประสบการณ์เดิมของตนเอง ผล จาก
Simplicity การจัดการเรียนรู้ที่ให้ค้นพบว่า เป็นปลูกฝันความสนใจในการอ่านมากขึ้น
เลอื กการ์ตูนทอี่ อกแบบง่ายๆ มีความกระตือรือร้น ความคิดสร้างสรรค์และเกิดความเข้าใจจาก
การแลกเปล่ียนความร้สู ่งผลให้ผเู้ รยี นเกิดองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง
Clear Symbols
การต์ นู ทีม่ ีสญั ลกั ษณใ์ หค้ วามหมายชัดเจน

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC)

การพัฒนาศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาสงั คมศกึ ษาของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

ทีไ่ ดร้ บั การจดั การเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใชเ้ ทคนคิ TGT (Team Games Tournament)

นางสาวสุทิศา รจุ วิ งศ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาฯ

ท่ีมาและความสาคญั ขน้ั ตอนการดาเนินกจิ กรรม

การจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมอื (TGT) จะส่งเสรมิ และฝึก 4. ความสาเรจ็
นกั เรยี นให้ได้พัฒนาทักษะทางสังคม การช่วยเหลือซึ่ง
กันและกัน การมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตน 3. การแข่งขันเกมทาง
เพือ่ ให้ผ้เู รยี นที่มคี วามแตกตา่ งทางด้านทักษะไดร้ ่วมกัน วชิ าการ
ทางาน และใช้ประสบการณ์ท่ีมีอยู่ในการแก้ไขปัญหา
อย่างมีระบบและเป็นขั้นตอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ 2. การเรยี นกลุ่มยอ่ ย โดยการแบง่ นักเรยี น
ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เปน็ กล่มุ

1. นาเสนอบทเรยี นต่อนักเรียน

วัตถปุ ระสงค์ ผลการดาเนินงาน

เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยวิธีสอนแบบทานาย สงั เกต อธิบายจะ
ความมีวินัยในตนเองของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ช่วยสง่ เสริมใหนักเรียนได้เรียนรูวิทยาศาสตรท์ ีเ่ นนกระบวนการไปส่กู าร
ทไี่ ดร้ บั การจัดการเรียนร้ดู ว้ ยชุดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยวิธี สรา้ งองคความรูโดยผู้เรียนมีสวนรว่ มทุกขั้นตอน ทาใหเกดิ มโนมตทิ าง
การจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ (TGT) วทิ ยาศาสตร์ที่เกดิ จากการเรียนรูมาใชอธบิ ายคาตอบในคาถามของแบบวัด
มโนมตทิ างวทิ ยาศาสตรจ์ นไดค้ ะแนนเฉล่ียสูงเพิ่มขึ้น

กระบวนการแก้ปญั หา สรุปผล

ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้แบบรว่ มมือโทนาเมน้ (TGT) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความมีวินัยในตนเองของ
มีขัน้ ตอน ๔ ขัน้ ดงั น้ี นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนรูโ้ ดยวธิ ี การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (TGT) หลังเรียนสูงกว่า
การสอน (Teaching) ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .๐๕ วิธีการจัดการเรียนรู้
• นาเสนอบทเรียนใหม่ในรปู แบบของการอภิปราย แบบTGT มีแนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการกลุ่ม การทา
กิจกรรมแบบเกมแข่งขัน มีกติกาที่ทุกคนต้องเคารพและปฏิบัติตาม
การจดั ทีม (Team) ซงึ่ เป็นการส่งเสรมิ การเกดิ ความมวี ินัยในตนเอง
• แบง่ นกั เรยี นเปน็ กลมุ่ คละความสามารถ

การแข่งขัน (Tournament)
• มกั จัดในชว่ งทา้ ยบทเรียน

การยอมรับความสาเรจ็ (Acceptance of Team)
• ทมี ทีไ่ ดค้ ะแนนเฉลยี่ สูงสดุ จะเปน็ ผ้ชู นะ

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตป้อมปราบศตั รพู า่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC)

การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนโดยการจดั การเรียนรแู้ บบทานาย สังเกต อธบิ าย (POE)
เสรมิ ดว้ ยเทคนคิ KWDL เร่ืองงานและพลงั งาน ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4

นางสาวสุนารี ชนิ รัตน์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ทีม่ าและความสาคัญ ขั้นตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การจัดการเรียนรู้แบบทานาย สังเกต อธิบาย (POE) 1. ปฐมนเิ ทศเพอ่ื แจง้ บทบาท เปา้ หมาย จดุ ประสงค์และวธิ ีการประเมิน
จะส่งเสริมและฝึกนักเรียนคิด ทาการสังเกต ทดลอง 2. ทดสอบก่อนเรยี น
หรือสืบค้น เพื่อที่จะพิสูจน์หาคาตอบจากการทานาย
เทคนิค KWDL สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ดาเนนิ การทดลองกลมุ่ ตวั อย่าง
โจทย์ปัญหาได้อย่างมีระบบและเป็นข้ันตอน เพื่อ 4. ทดสอบหลังเรยี น
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง
งานและพลังงาน 5. นาผลทไี่ ด้มาวิเคราะห์

วตั ถปุ ระสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เร่ือง งาน ตารางเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการ
และพลังงาน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีได้รับ ใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยวธิ ีการจัดการเรียนรแู้ บบทานาย สังเกต อธบิ าย (POE) เสริม
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยวิธีการ ด้วยเทคนิค KWDL เร่ืองงานและพลงั งานโดยใช้สถติ ิ t-test
จดั การเรยี นรแู้ บบทานาย สังเกต อธบิ าย (POE) เสรมิ ด้วย
เทคนคิ KWDL

กระบวนการแก้ปัญหา สรปุ ผล

การแก้โจทย์ปัญหาฟิสกิ ส์ดว้ ยเทคนิค KWDL ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการ
มขี ้ันตอนการทางาน 4 ขั้นตอน ซึ่ง KWDL ย่อมาจาก จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ
ทานาย สังเกต อธิบาย (POE) เสริมด้วยเทคนิค
K K (What we Know) KWDL เรื่องงานและพลังงาน ของนักเรียนช้ัน
• เรารู้อะไร มัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
W W (What we want to Know) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วิธีการ
• เราตอ้ งการรูอ้ ะไร ต้องการทราบอะไร จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้
D D (What we Do) ด้วยตนเอง โดยอาศัยความรู้พ้ืนฐานจาก
• เราทาอะไร อยา่ งไร ประสบการณเ์ ดิมของตนเอง ผลจากการจัดการ
เรียนรู้ท่ีใ ห้ค้นพ บ ความรู้ด้วยตัวเองจาก
L L (What we Learned) กระบวนการกลุ่มควบคู่กับการเกิดปฏิสัมพันธ์
• เราเรียนรู้อะไร ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และผู้สอนกับผู้เรียน ทา
ใหผ้ ู้เรยี นมีความสนใจ มีความกระตือรือร้นและ
ความต้ังใจ และเกิดความเข้าใจจากการ
แลกเปลี่ยนความรู้สง่ ผลให้ผ้เู รียนเกดิ องค์ความรู้
ดว้ ยตนเอง

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรพู า่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC)

การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นโดยการจัดการเรียนรแู้ บบทานาย สังเกต อธิบาย (POE)

เสริมดว้ ยเทคนิค KWDL เรือ่ งงานและพลังงาน ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

นางสาวสุนารี ชินรัตน์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ทม่ี าและความสาคญั ขัน้ ตอนการดาเนินกจิ กรรม

การจัดการเรียนรู้แบบทานาย สังเกต อธิบาย (POE) ผลการดาเนินงาน
จะส่งเสริมและฝึกนักเรียนคิด ทาการสังเกต ทดลอง
หรือสืบค้น เพ่ือที่จะพิสูจน์หาคาตอบจากการทานาย
เทคนิค KWDL สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
โจทย์ปัญหาได้อย่างมีระบบและเป็นขั้นตอน เพ่ือ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง
งานและพลังงาน

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง งาน ตารางเปรยี บเทยี บคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ก่อนและหลงั การ
และพลังงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีได้รับ ใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบทานาย สงั เกต อธิบาย (POE) เสรมิ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยวิธีการ ดว้ ยเทคนคิ KWDL เรอ่ื งงานและพลังงานโดยใช้สถติ ิ t-test
จดั การเรียนรู้แบบทานาย สงั เกต อธิบาย (POE) เสริมด้วย
เทคนิค KWDL

กระบวนการแก้ปัญหา สรปุ ผล

ลักษณะสาคัญของการเรยี นรแู้ บบทานาย สงั เกต อธบิ าย ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียนที่ได้รบั การจดั การเรียนรโู้ ดยวิธีการจัดการเรียนรู้
(POE) มีอยู่ 3 ขนั้ ตอน ดงั ต่อไปนี้ แบบทานาย สังเกต อธิบาย (POE) เสริมด้วยเทคนิค KWDL เร่ืองงานและพลังงาน
ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 หลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรยี นอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติ
ขนั้ ทานาย • นกั เรียนทานายเกีย่ วกบั ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ หรือทานาย ท่ีระดับ .01 วิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดย
(Predict) ผลการทดลองท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึน โดยที่นักเรียนต้องให้ อาศัยความรพู้ นื้ ฐานจากประสบการณ์เดิมของตนเอง ผลจากการจัดการเรียนรู้ที่ให้
เหตุผลเกีย่ วกบั คาทานายของนักเรียนดว้ ย คน้ พบความรู้ด้วยตัวเองจากกระบวนการกลุ่มควบคู่กับการเกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ขน้ั สงั เกต ผเู้ รยี นด้วยกัน และผู้สอนกับผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีความสนใจ มีความกระตือรือร้น
(Observing) • นกั เรียนตอ้ งลงมือทาการทดลอง หรอื พิสจู น์ หาคาตอบเก่ียวกับสิ่ง และความตงั้ ใจ และเกิดความเขา้ ใจจากการแลกเปลีย่ นความรู้ส่งผลใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ องค์
ที่ทานายไว้ โดยการทดลอง หรือพิสูจน์ นักเรียนเป็นผู้ออกแบบ ความรู้ด้วยตนเอง
ขนั้ อธบิ าย การทดลองหรือวางแนวทางการพิสูจน์ตามความต้องการของ
(Explain) นกั เรียน
• นักเรยี นต้องลงมือทาการทดลอง หรือพิสูจน์ สิ่งที่นักเรียนทานายไว้
วา่ เป็นจริงหรือไม่ ซึ่งอาจจะมีการขัดแย้งกับส่ิงท่ีนักเรียนทานายไว้
จึงทาให้นักเรียนต้องพยายามหาเหตุผลมาอธิบายถึงสาเหตุของ
เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน ถ้าไม่สามารถหาได้ ก็อาจจะมีการแลกเปลี่ยน
ความรู้กับกลุ่มอ่ืน แล้วค้นคว้าหาทฤษฎีที่เก่ียวข้องมาอธิบายจน
สามารถอธิบายปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นได้และมีความน่าเช่ือถือมาก
ทีส่ ุด

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (PLC)

ผลการใชก้ ารปรบั สนิ ไหมเพือ่ ปรับพฤติกรรมความรบั ผิดชอบของนักเรียน โดยใช้วธิ กี าร
ปรับสินไหมทีม่ ตี ่อพฤตกิ รรมความรบั ผิดชอบของนักเรยี น ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

นายรชต เปรมฤทัยสกุล กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ทมี่ าและความสาคัญ ขนั้ ตอนการดาเนนิ กิจกรรม

เพ่ือศึกษาผลการใช้การปรับสินไหมท่ีมีต่อพฤติกรรม 1. ปฐมนิเทศเพื่อแจง้ บทบาท เป้าหมาย จุดประสงคแ์ ละวธิ กี ารประเมิน
ความรับผิดชอบของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี
3/3 ในรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ 6 โรงเรียนสายปัญญาใน 2. สรา้ งเครอื่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย
พระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ ประจาปีการศึกษา 2561
3. ดาเนนิ การทดลองกลมุ่ ตวั อย่าง
วัตถุประสงค์
4. ทดสอบ 2 ระยะ (กอ่ น/หลงั ใช้เคร่ืองมือทส่ี รา้ งขน้ึ )
นั ก เ รี ย น ท่ี ไ ด้ รั บ ก า ร ใ ช้ ก า ร ป รั บ สิ น ไ ห ม ป รั บ ค ว า ม
รบั ผดิ ชอบ มพี ฤตกิ รรมความรับผิดชอบผ่านเกณฑ์ ท่ีร้อย 5. นาผลที่ได้มาวเิ คราะห์
ละ 80
ผลการดาเนินงาน
กระบวนการแก้ปญั หา
ผู้วิจยั ดาเนินการทดลองแบบกลมุ่ เดยี ววดั ก่อนและหลงั การทดลอง ( One
Group Pretest - Posttest Design) โดยแบ่งการทดลองเป็น 2 ระยะ
จากตาราง แสดงว่านักเรยี นทไ่ี ด้รับการใช้การปรบั สนิ ไหมเพือ่ ปรับพฤติกรรม
ความรับผิดชอบ มีพฤติกรรมความรับผิดชอบผ่านเกณฑ์ ท่รี ้อยละ 80 ซง่ึ
เป็นไปตามสมมตฐิ าน

1. แบบบนั ทกึ พฤติกรรมความรบั ผิดชอบของนกั เรียน
2. โปรแกรมการปรับสนิ ไหม

ขั้นสงั เกต • สังเกตพฤติกรรม ด้านวินัยในการเรียนของนักเรียนระดับชั้น สรุปผล
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3/3 (กลมุ่ ตัวอยา่ ง)
นักเรียนที่ได้รับการใช้การปรับสินไหมเพื่อปรับพฤติกรรมความ
• สรา้ งแบบบนั ทึกพฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบของนกั เรียน รบั ผดิ ชอบ มพี ฤตกิ รรมความรบั ผิดชอบผ่านเกณฑ์ ท่ีร้อยละ 80 ซึ่ง
เป็นไปตามสมมติฐานทีต่ ัง้ ไว้
• สร้างโปรแกรมการปรบั สินไหม

ขนั้ ดาเนินการ • นาเครอ่ื งมือที่สร้างข้ึน ไปใช้กบั นักเรียนกล่มุ ตัวอย่าง

ขัน้ สรุป • การทดลองคร้งั น้ี ผ้วู จิ ัยดาเนินการทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อน
และหลังการทดลอง ( One Group Pretest - Posttest Design)
โดยแบ่งการทดลองเปน็ 2 ระยะ

• ศึกษาพฤติกรรมของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3/3 หลังการใช้
การปรบั สนิ ไหมเพ่ือปรบั ความรบั ผิดชอบของนกั เรียน โดยใช้
ค่าเฉลี่ย และค่ารอ้ ยละ

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รพู า่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC)

การพัฒนาศกึ ษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าสังคมศึกษาของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๕

ทีไ่ ดร้ บั การจดั การเรียนรู้แบบรว่ มมือโดยใชเ้ ทคนคิ TGT (Team Games Tournament)

นางสาวสุทศิ า รจุ ิวงศ์ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษาฯ

ท่ีมาและความสาคญั ขน้ั ตอนการดาเนินกจิ กรรม

การจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมอื (TGT) จะส่งเสรมิ และฝึก 4. ความสาเร็จ
นกั เรยี นให้ได้พัฒนาทักษะทางสังคม การช่วยเหลือซึ่ง
กันและกัน การมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีของตน 3. การแข่งขันเกมทาง
เพือ่ ให้ผ้เู รยี นที่มคี วามแตกตา่ งทางด้านทักษะไดร้ ่วมกัน วิชาการ
ทางาน และใช้ประสบการณ์ท่ีมีอยู่ในการแก้ไขปัญหา
อย่างมีระบบและเป็นขั้นตอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ 2. การเรยี นกลุ่มย่อย โดยการแบง่ นักเรยี น
ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เป็นกล่มุ

1. นาเสนอบทเรียนตอ่ นักเรียน

วัตถปุ ระสงค์ ผลการดาเนินงาน

เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยวิธีสอนแบบทานาย สังเกต อธิบายจะ
ความมีวินัยในตนเองของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ช่วยส่งเสริมให นักเรียน ได้ เรียนรู้วิชาสังคมศึกษ าที่ เน นกระบวนการ ไป สู่
ทไี่ ดร้ บั การจัดการเรียนร้ดู ว้ ยชุดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยวิธี การสร้างองคความรูโดยผู้เรียนมีสวนร่วมทุกขั้นตอน ทาใหเกิดมโนมติทาง
การจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ (TGT) วิทยาศาสตร์ที่เกดิ จากการเรียนรูมาใชอธิบายคาตอบในคาถามของแบบวัด
มโนมตทิ างวิทยาศาสตร์จนได้คะแนนเฉล่ียสูงเพิ่มขึ้น

กระบวนการแก้ปญั หา สรปุ ผล

ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้แบบรว่ มมือโทนาเม้น (TGT) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความมีวินัยในตนเองของ
มีขัน้ ตอน ๔ ขัน้ ดงั น้ี นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๕ ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนร้โู ดยวิธี การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (TGT) หลังเรียนสูงกว่า
การสอน (Teaching) ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .๐๕ วิธีการจัดการเรียนรู้
• นาเสนอบทเรียนใหม่ในรปู แบบของการอภิปราย แบบTGT มีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการกลุ่ม การทา
กิจกรรมแบบเกมแข่งขัน มีกติกาที่ทุกคนต้องเคารพและปฏิบัติตาม
การจดั ทีม (Team) ซง่ึ เปน็ การส่งเสริมการเกิดความมีวนิ ยั ในตนเอง
• แบง่ นกั เรยี นเปน็ กลมุ่ คละความสามารถ

การแข่งขัน (Tournament)
• มกั จัดในชว่ งทา้ ยบทเรียน

การยอมรับความสาเรจ็ (Acceptance of Team)
• ทมี ทีไ่ ดค้ ะแนนเฉลยี่ สูงสดุ จะเปน็ ผ้ชู นะ

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตป้อมปราบศัตรพู ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC)

การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะทางการเรียนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระภมู ิศาสตร์
ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/1 โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

นางสาวสุภาพร บญุ จันทร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ท่มี าและความสาคญั ข้นั ตอนการดาเนินกจิ กรรม

การพฒั นาแบบฝกึ ทักษะทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา 1. กลมุ่ เปา้ หมาย
ศาสนาและวฒั นธรรม สาระภมู ศิ าสตร์ ของนักเรียนช้ัน 2. เครื่องมอื ที่ใช้ในการศกึ ษา
มัธยมศึกษาปที ี่ 1/1 โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรม
ราชนิ ูปถัมภ์ เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา และนาผลการวิจัยมา 4. การจดั กระทาข้อมลู
ใช้ปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นการสอน 5. นาผลท่ีได้มาวเิ คราะห์

วัตถุประสงค์ ผลการดาเนินงาน

เพื่อสร้างแบบฝึกทักษะทางการเรียนวิชาสังคม แบบฝึกทักษะทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม เรื่อง ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1/1
ข อ ง นั ก เ รี ย น ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1/ 1 ที่ มี ท่ีผวู้ ิจัยสรา้ งข้นึ มปี ระสิทธิภาพ เท่ากับ ร้อยละ 86.98 / 87.00
ประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 หมายความว่า นกั เรียนได้คะแนนเฉล่ียจากการทาแบบฝึกทักษะ
ท้ัง 5 ชุด คิดเป็นร้อยละ 86.98 และนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ย

จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ภาคเรียนที่ 1 คิด

ขอ้ เสนอแนะ เป็นร้อยละ 87.00 แสดงว่าแบบฝกึ ทกั ษะทางการเรยี นวชิ าสงั คม
ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เรื่อง ภมู ศิ าสตร์ ที่ผู้รายงานสร้าง

ข้ึนมีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ซ่ึงเป็นไปตามสม
1. ควรศึกษาหลักสตู ร คมู่ ือครู และเอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง มุตตฐิ านที่ตงั้ ไว้

ใหเ้ ขา้ ใจ สรปุ ผล

2. ควรคานงึ ถงึ ความสอดคลอ้ งระหว่างแบบฝึกทักษะ

และแผนการจัดการเรยี นรูท้ ีต่ อ้ งสอดคล้องสัมพนั ธก์ ัน

3. แบบฝกึ ทกั ษะทีส่ รา้ งขน้ึ ตอ้ งสามารถพฒั นาทักษะ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 มีพัฒนาการ ของผลสัมฤทธ์ิ
ของผู้เรียนไดจ้ ริง ทางการเรียน เรื่อง ภูมิศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 87.14 ตาม
4. แบบฝกึ ทักษะตอ้ งนา่ สนใจ ใส่รูปภาพ สสี นั ท่ี เกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ที่ตง้ั ไว้ แสดงว่านักเรียนที่เรียนด้วยการ

สดใสประกอบ เพื่อใหน้ ักเรยี นอยากสมั ผัส อยากฝึก ใชแ้ บบฝึกทกั ษะ สามารถพฒั นาทกั ษะทางการเร่ือง ภูมิศาสตร์ได้ดี
ทาให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น อาจเป็นเพราะว่า แบบฝึก
5. ผูบ้ ริหารโรงเรียนควรสง่ เสรมิ ให้นาแบบฝึกทักษะ ทักษะและแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ีผู้รายงานสร้างขึ้นได้มีขั้นตอน
การอา่ นและเขียนคาควบกลา้ ไปเผยแพร่ เพ่อื ใช้ การสร้างตามหลักและแนวทางในการจัดทาเป็นอย่างดี ผ่านการ
ประกอบกิจกรรมการเรยี นการสอนในแตร่ ะดบั ช้นั ตรวจและแก้ไขจากผู้เช่ียวชาญทางด้านวิชาสังคมศึกษา ศาสนา
เพอ่ื กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ การเรยี นการสอนภาษาไทย และวัฒนธรรม
มากย่งิ ข้ึน

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (PLC)

การศกึ ษาผลการใชส้ อื่ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เรอ่ื ง รัฐและการปกครอง เพือ่ พฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รียนในรายวชิ าสงั คมศกึ ษา2
ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/10 โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

นางสาวองั คณา หิรญั กจิ รังษี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ท่ีมาและความสาคญั ข้นั ตอนการดาเนินกจิ กรรม

การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง รัฐและการ 5. วิเคราะหผ์ ล
ปกครอง ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองได้ 4. ทดสอบหลังเรยี น
ทุกที่ทุกเวลา ช่วยลดข้อจากัดด้านเวลาเรียน และ 3. ดาเนนิ การทดลองกลุ่มตวั อยา่ ง
สามารถใช้ทบทวนบทเรียน เพื่อให้เข้าใจบทเรียนและ 2. ทดสอบก่อนเรยี น
จดจาเนอ้ื หาไดอ้ ย่างแมน่ ยามากยิ่งขึน้ 1. ปฐมนิเทศเพือ่ แจ้งบทบาท จุดประสงคแ์ ละวิธีการประเมนิ

วตั ถุประสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

เพ่อื ศกึ ษาผลการใช้ส่ือคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เรอื่ ง รัฐและ ตาราง เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นกอ่ นและหลงั เรียนใน
การปกครอง เปน็ สอื่ ประกอบการเรยี นการสอน และสอื่ วชิ าสังคมศึกษา 2 เร่อื ง รัฐและการปกครอง ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี
เสริมนอกเวลาเรียน ในวิชาสังคมศกึ ษา 2 ของนกั เรียน 4/10 โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ จานวน 30 ขอ้
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/10 โรงเรยี นสายปัญญา ใน
พระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา สรุปผล
ศาสนาและวฒั นธรรม

กระบวนการแกป้ ัญหา

การใช้ส่ือคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เรอื่ ง รฐั และการปกครอง สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่อื ง รฐั และการปกครอง เปน็ ส่อื ประกอบการ
มกี ระบวนการ ดงั นี้ เรียนการสอนและสอื่ เสรมิ นอกหอ้ งเรยี น ในรายวิชาสงั คมศึกษา 2 สามารถ
พฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผเู้ รียน ในวชิ าสังคมศึกษา 2 ในระดับที่
สูงขน้ึ นอกจากน้ี นกั เรียนสามารถใชส้ ื่อคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนทง้ั ใน
ห้องเรยี นและนอกห้องเรียน ซึง่ ช่วยให้ผูเ้ รยี นสามารถนาไปใชท้ บทวน
บทเรยี นทกุ ทที่ ุกเวลา ซึ่งช่วยลดข้อจากัดด้านระยะเวลา ผ้เู รยี นสามารถ
เรียนซา้ ได้ตามความสามารถ ซึ่งช่วยให้เขา้ ใจบทเรียนไดม้ ากขึน้

5. Evaluation Phase ประเมนิ ผล saipanya.co.th
4. Implementation Phase ใช้สอ่ื คอมพวิ เตอร์ ๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔

ช่วยสอนทั้งในหอ้ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น

3. Development Phase พัฒนาสอ่ื คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน

2. Design Phase ออกแบบจดุ ประสงค์ เคร่ืองมอื วัดประเมิน เน้ือหา

ประเภทสอื่ การสอน รูปแบบ แบบฝึกหดั ขอ้ สอบกอ่ นเรยี น-หลงั เรียน

1. Analysis Phase วิเคราะห์ผ้เู รียน ข้อจากดั ระยะเวลา บทเรยี น

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC)

การศึกษาวจิ ยั การพฒั นาพฤตกิ รรมการเรียนให้เปน็ ผูม้ ีความรับผิดชอบต่อหนา้ ที่และการเรียนดีขน้ึ ของนกั เรียนชั้น

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ในรายวชิ าสงั คมศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ประจาปกี ารศึกษา 2561

นางสาวอารยา มัน่ ศักด์ิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษาฯ

ที่มาและความสาคัญ ขั้นตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

การวิจัยในคร้ังนี้ทาให้ทราบถึงด้านพฤติกรรมการเรียน เมื่อ 5. วิเคราะห์ผล
นักเรียนมีการพัฒนาพฤติกรรมให้เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบใน 4. ทดสอบหลังเรยี น
ตนเองจะทาให้นักเรียนสนใจเรียนและมีความขยันอดทน มี 3. ดาเนินการทดลองกลมุ่ ตวั อย่าง
แรงจูงใจทาให้มีผลการเรียนดีขึ้น ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อ 2. ทดสอบก่อนเรียน
ครผู ู้สอน และครูทกุ ทา่ นท่ีจะนามาเสริมสร้าง พัฒนานกั เรียนให้ 1. ปฐมนิเทศเพื่อแจง้ บทบาท จุดประสงค์และวธิ ีการประเมิน
มคี ณุ ค่ามีคณุ ประโยชนต์ ่อครอบครวั โรงเรียน และสังคมต่อไป
ผลการดาเนนิ งาน
วัตถปุ ระสงค์

เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้มีความรับผิดชอบของ จากผลการวิเคราะหข์ ้อมูลจากการสังเกต ขอ้ มลู ดา้ นการเรียน และการตอบ
นักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในรายวิชาสังคมศึกษา แบบสอบถามจากนักเรียน รวมท้ังดูแลด้านการเรียนให้มีความรับผิดชอบ
โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ประจาปี สนใจเรยี น และตดิ ตามจากคณุ ครทู ี่เขา้ สอน ซึ่งนักเรียนให้ความร่วมมือเป็น
การศกึ ษา 2561 อย่างดี ทาใหน้ ักเรยี นมคี วามกระตือรือร้นต่อการมาเรียนและการเรียนมาก
ขึ้น มีความเอาใจใส่ต่อการเรียน รบั ผดิ ชอบและสนใจเรียนมากขน้ึ
กระบวนการแก้ปัญหา

ผวู้ ิจยั ได้ดาเนนิ การศกึ ษาและสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นช้นั สรปุ ผล

มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ในรายวิชาสงั คมศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในการทาวิจัยคร้ังนี้ปรากฏว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ในรายวิชา

ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ ประจาปีการศกึ ษา 2561 สังคมศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ประจาปี

• โดยการสังเกตพฤตกิ รรมและการเรียนของนักเรียนในช่ัวโมง ขณะท่ี การศึกษา 2561 มีความเอาใจใส่ต่อการเรียน รับผิดชอบและสนใจเรียน
ทาการสอน และสอบถามจากครูแต่ละวิชาที่ทาการสอน ซึ่งพบว่ามี
ขั้นสงั เกตุ นกั เรียนที่มปี ญั หาดา้ นพฤติกรรมการเรียน ขาดความรบั ผิดชอบ มากข้ึน โดยสังเกตจากบรรยากาศการเรียนภายในห้องเรียนที่มีความ
ตั้งใจเรียนมากข้ึน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ไม่ขาดเรียนหรือ มา

สาย ทางานท่ีได้รบั มอบหมายและสง่ งานตรงกาหนดเวลา รู้จักช่วยเหลือ

• - ให้นกั เรยี นแตล่ ะคนตกลงใหค้ ามัน่ สัญญา ซึ่งกัน โดยดูจากการสังเกต การสัมภาษณ์ ผลการเรียนและสรุปผลการ

• - ขอความร่วมมือจากครทู ่ที าการสอนทกุ ทา่ นให้ขอ้ มูลดา้ น เปรียบเทียบจากการตอบแบบสอบถามเก่ียวกับความรับผิดชอบและ
ขน้ั ดาเนินการ) พฤตกิ รรมของนักเรียนขณะเรียนในแตล่ ะวิชา ความสนใจการเรยี นของนักเรียน

ขั้นสรุป • จากผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากการสงั เกต การสมั ภาษณ์ ขอ้ มลู ดา้ น
การเรยี น การตอบแบบสอบถามจากนักเรยี น รวมท้งั ดแู ลด้านการ
เรียนใหม้ ีความรบั ผดิ ชอบ สนใจเรียนมคี วามเอาใจใสต่ อ่ การเรียน
รับผิดชอบและสนใจเรยี นมากขึ้น

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศตั รพู ่าย ๑๐๑๐๐

กล่มุ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC)

การสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นวชิ าการงานอาชพี 2 ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/2 ปีการศึกษา 2562

นางสาวราตรี สุขขา กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

ท่ีมาและความสาคญั ข้ันตอนการดาเนินกิจกรรม

การสร้างแรงจูงใจในการเรียนทาใหผ้ ู้วจิ ยั หากลวิธเี พือ่ 5. วเิ คราะหผ์ ล
แก้ไขปัญหาให้นักเรยี นมีแรงจงู ใจ สนกุ สนานในการ 4. ทดสอบหลงั เรยี น
เรยี น โดยการจดั การเรียนการสอนใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ 3. ดาเนนิ การทดลองกลุ่มตวั อย่าง
โดยการลงมอื ทา “Learning by doing” เพื่อสรา้ ง 2. ทดสอบก่อนเรียน
แรงจงู ใจและการกระต้นุ ให้นกั เรยี นเกิดการเรียนรจู้ าก 1. ปฐมนิเทศเพอื่ แจง้ บทบาท จุดประสงคแ์ ละวธิ ีการประเมนิ
การลงมือปฏบิ ัติ

วัตถปุ ระสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

1. เพื่อสร้างแรงจงู ใจและการกระต้นุ ในการเรียน กำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนโดยโดยการจดั การเรยี นการสอนใช้ทฤษฎี
วชิ าการงานอาชีพ 2 การเรยี นรู้ โดยการลงมือทา “Learning by doing” ช่วยส่งเสรมิ ใหนักเรยี น
2. เพอ่ื ให้การจดั กิจกรรมการเรียนรู้วชิ าการงาน ไดเ้ รียนรู เพอ่ื สรา้ งแรงจงู ใจและการกระต้นุ ให้นกั เรยี นเกิดการเรยี นร้จู าก
อาชีพ 2 มปี ระสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขนึ ้ การลงมอื ปฏบิ ัติ

กระบวนการแกป้ ัญหา สรปุ ผล

ลักษณะสำคัญของกำรเรยี นรู้แบบ“Learning by doing” จากการสร้างแรงจงู ใจโดยใช้ทฤษฎี “Learning by doing” ในระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี2/2 พบว่านกั เรยี นมคี วามสนใจในการเรยี นรู้รายวิชาการงานอาชพี 2 มีความพงึ

พอใจในชน้ิ งานของตนเอง และสามารถนาความรทู้ ีไ่ ดร้ ับจากวิชานไี้ ปใชใ้ น

• จดั การเรียนรเู้ น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นการปฏิบตั ิ ชีวิตประจาวนั ได้

เรยี นรจู้ ากการกระทา จากกจิ กรรมกลมุ่ โดยนักเรยี นนาประสบการณท์ ี่
ในสถานการณจ์ รงิ ไดร้ บั ไปใช้ในการตัดสินใจ

การแก้ปัญหา • นักเรียนนำประสบกำรณ์ท่ีได้รับ
จ ำ ก ก ำ ร แ ก้ ปั ญ ห ำ ไ ป ใ ช้ ใ น ก ำ ร
ตัดสินใจ

• นักเรียนสืบเสำะหำข้อมูล จัดระเบียบข้อมูลหำ
ข้อสรปุ และหำวิธีกระบวนกำรดว้ ยตนเอง

การเสาะแสวงหา
ความรู้

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC)

การสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นวชิ าการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่นของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3/2
ปีการศกึ ษา 2561 นางสาวจนิ ตนา เล้ารตั นานุรกั ษ์ กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

ที่มาและความสาคัญ ขั้นตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

การสรา้ งแรงจูงใจในการเรียนทาใหผ้ ู้วิจัยหากลวิธีเพ่อื 5. วเิ คราะห์ผล
แก้ไขปัญหาให้นักเรียนมีแรงจูงใจ สนกุ สนานในการ 4. ทดสอบหลังเรยี น
เรียน โดยการจดั การเรียนการสอนใช้ทฤษฎกี ารเรียนรู้ 3. ดาเนนิ การทดลองกลุม่ ตัวอย่าง
โดยการลงมือทา “Learning by doing” เพอ่ื สรา้ ง 2. ทดสอบกอ่ นเรยี น
แรงจูงใจและการกระต้นุ ให้นักเรียนเกดิ การเรียนรู้จาก 1. ปฐมนิเทศเพ่อื แจง้ บทบาท จุดประสงคแ์ ละวิธีการประเมิน
การลงมือปฏบิ ัติ

วตั ถปุ ระสงค์ ผลการดาเนินงาน

1. เพ่อื สร้างแรงจงู ใจและการกระต้นุ ในการเรียน กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนโดยโดยการจัดการเรียนการสอนใช้ทฤษฎี
วชิ าการสร้างการ์ตนู แอนิเมชนั่ การเรียนรู้ โดยการลงมือทา “Learning by doing” ช่วยส่งเสริมใหนกั เรียน
2. เพื่อให้การจดั กิจกรรมการเรียนรู้วชิ าวชิ าการสร้าง ได้เรยี นรู เพือ่ สรา้ งแรงจงู ใจและการกระตุน้ ใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรจู้ าก
การ์ตนู แอนิเมชน่ั มีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ขนึ ้ การลงมือปฏบิ ตั ิ

กระบวนการแก้ปัญหา สรุปผล

ลกั ษณะสำคญั ของกำรเรียนรู้แบบ“Learning by doing” จากการสรา้ งแรงจงู ใจโดยใชท้ ฤษฎี “Learning by doing” ในระดับช้นั มัธยมศึกษา
ปีท่ี3/2พบวา่ นกั เรยี นมีความสนใจในการเรียนร้รู ายวิชาวิชาการสรา้ งการต์ นู แอนิ
• จัดการเรยี นรู้เน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั เน้นการ เมชนั่ มีความพึงพอใจในชนิ้ งานของตนเอง และสามารถนาความรู้ทีไ่ ดร้ ับจากวชิ านีไ้ ป
ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้
ปฏบิ ัติ จากกิจกรรมกล่มุ โดยนักเรียนนา
เรียนรู้จากการกระทา ประสบการณท์ ่ีได้รบั ไปใชใ้ นการตัดสินใจ
ในสถานการณ์จริง

การแก้ปัญหา • นักเรยี นนำประสบกำรณ์ท่ีได้รับ
จำกกำรแก้ปัญหำไปใช้ในกำร
ตดั สนิ ใจ

การเสาะแสวงหา • นักเรียนสืบเสำะหำข้อมูล จัดระเบียบข้อมูลหำ
ความรู้ ขอ้ สรุป และหำวิธีกระบวนกำรดว้ ยตนเอง

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC)

การสร้างแรงจงู ใจในการเรียนวชิ าการงานอาชพี ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3/2 ปีการศกึ ษา 2562

นางสาวทศพร บุญชู กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

ที่มาและความสาคญั ขั้นตอนการดาเนินกจิ กรรม

การสร้างแรงจูงใจในการเรยี นทาให้ผ้วู จิ ัยหากลวิธีเพ่ือ 5. วิเคราะหผ์ ล
แกไ้ ขปัญหาให้นักเรยี นมีแรงจูงใจ สนกุ สนานในการ 4. ทดสอบหลงั เรยี น
เรยี น โดยการจัดการเรยี นการสอนใชท้ ฤษฎีการเรียนรู้ 3. ดาเนินการทดลองกลมุ่ ตวั อยา่ ง
โดยการลงมอื ทา “Learning by doing” เพ่อื สรา้ ง 2. ทดสอบก่อนเรยี น
แรงจงู ใจและการกระตุน้ ใหน้ กั เรยี นเกิดการเรียนรจู้ าก 1. ปฐมนิเทศเพ่อื แจง้ บทบาท จดุ ประสงคแ์ ละวธิ ีการประเมนิ
การลงมอื ปฏบิ ตั ิ

วัตถุประสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

1. เพ่ือสร้างแรงจงู ใจและการกระต้นุ ในการเรียน กำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนโดยโดยการจดั การเรียน
วชิ าการงานอาชีพ 2 การสอนใชท้ ฤษฎีการเรยี นรู้ โดยการลงมอื ทา “Learning
2. เพอื่ ให้การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้วชิ าการงาน by doing” ช่วยส่งเสริมใหนกั เรียนได้เรยี นรู เพ่อื สรา้ ง
อาชีพมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขนึ ้ แรงจงู ใจและการกระตนุ้ ให้นักเรียนเกดิ การเรียนรู้จาก
การลงมอื ปฏบิ ัติ

กระบวนการแก้ปญั หา สรุปผล

ลกั ษณะสำคัญของกำรเรียนรู้แบบ“Learning by doing” จากการสรา้ งแรงจูงใจโดยใช้ทฤษฎี “Learning by
doing” ในระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3/2 พบวา่ นกั เรียนมี
• จัดการเรียนรเู้ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ เนน้ การปฏิบตั ิ ความสนใจในการเรียนร้รู ายวชิ าการงานอาชพี 2 มคี วามพึง
พอใจในชิ้นงานของตนเอง และสามารถนาความรทู้ ีไ่ ด้รับ
จากกจิ กรรมกลุ่ม โดยนักเรียนนาประสบการณท์ ่ี จากวชิ านีไ้ ปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้
ไดร้ บั ไปใช้ในการตัดสนิ ใจ
เรียนร้จู ากการกระทา
ในสถานการณ์จริง

การแก้ปญั หา • นักเรียนนำประสบกำรณ์ท่ีได้รับ
จ ำ ก ก ำ ร แ ก้ ปั ญ ห ำ ไ ป ใ ช้ ใ น ก ำ ร
ตัดสนิ ใจ

• นักเรียนสืบเสำะหำข้อมูล จัดระเบียบข้อมูลหำ
ขอ้ สรปุ และหำวธิ ีกระบวนกำรดว้ ยตนเอง

การเสาะแสวงหา
ความรู้

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen
ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)

การใช้บทเรยี นออนไลนเ์ พอื่ เพมิ่ ผลสมั ฤทธิใ์ นการเรยี นของนักเรยี นระดบั ชั้นม.4/2

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

นายนติ ิ ศุภรานันท์ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

ท่มี าและความสาคญั ข้นั ตอนการดาเนินกจิ กรรม

งานวิจัยเรื่องนี้จึงใช้การสร้างเว็บไซต์ที่ใช้ในการเพ่ิมเนื้อหา 5. วิเคราะห์ผล
รายวิชานั้นๆให้กับนักเรียนโดยนักเรียนสามารถหาความรู้ได้จากเว็บไซต์ท่ี
เรยี กว่า Web E-Learning ซ่ึงจะทาการบันทกึ บทเรียนในรายวิชาต่างๆได้และ 4. ทดสอบหลังเรยี น
ยังมขี ีดความสามารถท่สี ามารถกลับมาเรยี นยอ้ นหลังหรือดูเนื้อหาที่นักเรียนไม่
สามารถที่มาเรียนได้ในช่วงเวลานั้นก็สามารถมาเปิดดูรายละเอียดของ 3. ดาเนนิ การทดลองกล่มุ ตัวอย่าง
เน้ือหาวิชาเรียนได้ตลอดเวลาเพื่อช่วยในการลดภาระเนื้อหาวิชาเรียนของ
นักเรียนได้โดยนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากท่ีบ้านหรือโทรศัพท์มือถือซ่ึง 2. ทดสอบก่อนเรียน
ปจั จุบันก็มีการใช้กันอยา่ งแพร่หลายและมกี ารเชอ่ื มตอ่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
ทุกที่และทุกเวลาและสะดวกในการใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น ของนักเรียนช้ัน 1. แจ้งวัตถปุ ระสงคแ์ ละแนวทางการปฏบิ ตั กิ ารเรียนการสอน
มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ภาคเรียนท่ี
2 ปีการศกึ ษา 2561 จานวน 20 คน ให้ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 50 ผลการดาเนนิ งาน

วตั ถุประสงค์ หลังจากการใชบ้ ทเรียนออนไลน์เพอ่ื เพ่มิ ผลสมั ฤทธใิ์ นการเรียนของนักเรียนระดับชัน้
ม.4/2 ผลการทดสอบออกมาดงั น้ี นักเรยี น 20 คน
1. เพ่อื แกป้ ญั หาการทน่ี ักเรียนต้องท่ใี ชก้ ารจดเนอื้ หาวชิ าที่เรียนมจี านวนมาก 1. ดา้ นความถูกต้องครบถว้ นสมบูรณข์ องเนื้อหาค่าท่ไี ด้ คา่ เฉล่ยี 4.75 อยูร่ ะดบั มากทส่ี ดุ
2. เพอ่ื แก้ปญั หาการทนี่ กั เรยี นไม่สามารถจดและดเู น้ือหาที่เรียนและงานย้อนหลงั
3. เพอื่ แก้ปญั หาภาระงานของครทู ม่ี ีมากข้ึน 2. ด้านความชดั เจนในการอธิบายเน้ือหาค่าทไี่ ด้ คา่ เฉลยี่ 4.60 อย่รู ะดับมากทส่ี ุด
4. ให้นักเรยี นสามารถเรียนรูน้ อกเวลาเรียนได้
5. ใหน้ กั เรยี นสามารถใชง้ านเทคโนโลยไี ด้เตม็ ความสามารถ 3. ด้านการเรยี บเรียงเนอื้ หาท่เี ข้าใจง่ายค่าทไ่ี ด้ ค่าเฉลย่ี 4.30 อยใู่ นระดบั มาก
ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/2 โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ 4. ดา้ นเนื้อหาสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์แบบออนไลน์ ค่าเฉลยี่ 4.40 อยใู่ นระดับมาก
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ให้ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 50 5. ดา้ นเนอ้ื หามสี าระและประโยชนส์ ามารถนาไปใช้ คา่ เฉล่ีย 4.20 อยูใ่ นระดบั มาก
6. ดา้ นการใช้งานง่ายและตรงตามความเหมาะสม ค่าเฉลยี่ 3.50 อยู่ในระดับมาก
กระบวนการแกป้ ญั หา ได้ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 50 ซ่ึงเป็นไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย

กระบวนการแกป้ ัญหา มี 3 ข้นั ตอน ดงั นี้ สรปุ ผล

ขน้ั เลอื ก • นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนสายปัญญา จากการแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการใช้บทเรียนออนไลน์เพ่ือเพ่ิม
กลมุ่ เปา้ หมาย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักเรียนระดับช้ันม.4/2 งานวิจัยเรื่องการพัฒนา
2561 จานวน 20 คน ซง่ึ มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ต่า บทเรียนออนไลน์การออกแบบเทคโนโลยีบนพืน้ ฐานของยุคICTเพ่ือเพ่ิม
กว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 50 โดยการเลือกแบบเจาะจง ผลสมั ฤทธ์ิในการเรียนของนักเรียนระดบั ชนั้ ม.4 สงู ขนึ้ นีส้ รุปได้ว่ามคี วามพึง
พอใจอย่ใู นเกณฑ์ระดบั มาก และ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 50
• ดาเนินการแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้ส่ือ

ข้นั ดาเนินการ ประสม กบั นักเรยี น

ขนั้ สรปุ ผล • หลังจากการใชบ้ ทเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการ
เรียนและผลการทดสอบดีขึ้น

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC)

การสร้างแรงจูงใจในการเรียนวชิ าขนมไทยสายปญั ญา ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4/9 ปีการศกึ ษา 2562

นางสาวเบญจวรรณ ขณะรัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

ท่มี าและความสาคญั ขน้ั ตอนการดาเนินกิจกรรม

การสรา้ งแรงจูงใจในการเรียนทาใหผ้ วู้ ิจยั หากลวิธีเพอ่ื 5. วเิ คราะหผ์ ล
แก้ไขปญั หาให้นกั เรียนมีแรงจงู ใจ สนุกสนานในการ 4. ทดสอบหลงั เรียน
เรียน โดยการจดั การเรยี นการสอนใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ 3. ดาเนินการทดลองกลุ่มตวั อยา่ ง
โดยการลงมือทา “Learning by doing” เพ่อื สรา้ ง 2. ทดสอบกอ่ นเรยี น
แรงจงู ใจและการกระตุ้นใหน้ กั เรยี นเกิดการเรียนรูจ้ าก 1. ปฐมนเิ ทศเพอ่ื แจง้ บทบาท จุดประสงค์และวิธีการประเมิน
การลงมอื ปฏบิ ตั ิ

วัตถุประสงค์ ผลการดาเนินงาน

1. เพอื่ สร้างแรงจงู ใจและการกระต้นุ ในการเรียนวชิ า กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนโดยโดยการจดั การเรียนการสอนใช้ทฤษฎี
ขนมไทยสายปัญญาไทย การเรยี นรู้ โดยการลงมือทา “Learning by doing” ช่วยส่งเสริมใหนกั เรียน
2. เพื่อให้การจดั กิจกรรมการเรียนรู้วชิ าขนมไทยสาย ได้เรยี นรู เพอ่ื สรา้ งแรงจงู ใจและการกระต้นุ ใหน้ ักเรียนเกดิ การเรยี นร้จู าก
ปัญญามีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ ้ การลงมอื ปฏิบตั ิ

กระบวนการแกป้ ญั หา สรปุ ผล

ลกั ษณะสำคัญของกำรเรยี นรู้แบบ“Learning by doing” จากการสรา้ งแรงจงู ใจโดยใช้ทฤษฎี “Learning by doing” ในระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปที ี่ 4/9 พบวา่ นกั เรียนมีความสนใจในการเรียนรู้รายวิชาขนมไทยสายปญั ญา มีความ

พึงพอใจในชน้ิ งานของตนเอง และสามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั จากวชิ านี้ไปใช้ใน

• จดั การเรียนรเู้ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ เน้นการปฏิบตั ิ ชวี ิตประจาวนั ได้

เรยี นรจู้ ากการกระทา จากกิจกรรมกล่มุ โดยนกั เรียนนาประสบการณท์ ่ี
ในสถานการณ์จริง ไดร้ บั ไปใชใ้ นการตดั สินใจ

การแก้ปัญหา • นักเรียนนำประสบกำรณ์ที่ได้รับ
จ ำ ก ก ำ ร แ ก้ ปั ญ ห ำ ไ ป ใ ช้ ใ น ก ำ ร
ตัดสินใจ

• นักเรียนสืบเสำะหำข้อมูล จัดระเบียบข้อมูลหำ
ข้อสรุป และหำวธิ ีกระบวนกำรด้วยตนเอง

การเสาะแสวงหา
ความรู้

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC)

การสร้างแรงจงู ใจในการเรยี นวชิ ามาลยั ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/9 ปกี ารศกึ ษา 2562

นางสาวปนิดา นอ้ ยเกิด กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

ทมี่ าและความสาคัญ ข้ันตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การสร้างแรงจูงใจในการเรยี นทาให้ผวู้ จิ ยั หา 5. วิเคราะห์ผล
กลวิธเี พอ่ื แก้ไขปัญหาให้นักเรยี นมีแรงจูงใจ
สนุกสนานในการเรียน โดยการจัดการเรยี นการ 4. ทดสอบหลังเรียน
สอนใช้ทฤษฎีการเรยี นรู้ โดยการลงมอื ทา
“Learning by doing” เพ่ือสรา้ งแรงจูงใจและ 3. ดาเนินการทดลองกล่มุ ตัวอย่าง
การกระต้นุ ให้นกั เรยี นเกิดการเรียนรจู้ ากการลง
มือปฏบิ ตั ิ 2. ทดสอบกอ่ นเรยี น

วัตถุประสงค์ 1. ปฐมนิเทศเพ่อื แจง้ บทบาท จุดประสงค์และวธิ กี ารประเมนิ

1. เพื่อสรา้ งแรงจงู ใจและการกระตุ้นในการ ผลการดาเนนิ งาน
เรียนวิชามาลยั
2. เพือ่ ใหก้ ารจัดกจิ กรรมการเรียนร้วู ชิ ามาลัย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยโดยการจดั การเรยี นการสอน
มีประสิทธภิ าพมากยิง่ ข้นึ ใชท้ ฤษฎกี ารเรียนรู้ โดยการลงมือทา “Learning by doing” ช่วย
ส่งเสริมใหนักเรียนได้เรียนรู เพ่อื สรา้ งแรงจูงใจและการกระตุ้นให้
นักเรยี นเกดิ การเรียนรจู้ ากการลงมอื ปฏิบตั ิ

กระบวนการแกป้ ัญหา สรุปผล

ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้แบบ“Learning by จากการสร้างแรงจงู ใจโดยใชท้ ฤษฎี “Learning by doing” ในระดบั ชน้ั
doing” มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/9 พบว่านกั เรียนมีความสนใจในการเรียนรรู้ ายวิชา
มาลยั มคี วามพึงพอใจในชน้ิ งานของตนเอง และสามารถนาความรูท้ ่ี

เรยี นรู้จากการ • จดั การเรยี นร้เู นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั เน้นการปฏบิ ัติ ได้รับจากวิชานีไ้ ปใช้ในชวี ิตประจาวันได้
กระทาใน
จากกจิ กรรมกลมุ่ โดยนักเรยี นนาประสบการณท์ ี่
สถานการณจ์ ริง ไดร้ บั ไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจ

การแกป้ ญั หา • นักเรียนนาประสบการณ์ท่ีได้รับ
จ า ก ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร
ตัดสนิ ใจ

• นักเรียนสืบเสาะหาข้อมูล จัดระเบียบข้อมูลหา
ข้อสรุป และหาวิธกี ระบวนการดว้ ยตนเอง

การเสาะแสวงหา
ความรู้

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรพู ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC)

การสร้างแรงจงู ใจในการเรียนวิชางานธุรกิจ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/6 ปกี ารศึกษา 2562

นางสาวภทั รวดี สว่างภพ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

ท่ีมาและความสาคัญ ข้นั ตอนการดาเนินกิจกรรม

การสร้างแรงจงู ใจในการเรียนทาให้ผวู้ จิ ัยหากลวิธเี พ่ือ 5. วิเคราะห์ผล
แก้ไขปัญหาให้นักเรียนมีแรงจงู ใจ สนุกสนานในการ 4. ทดสอบหลังเรียน
เรียน โดยการจัดการเรยี นการสอนใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ 3. ดาเนินการทดลองกล่มุ ตัวอย่าง
โดยการลงมือทา “Learning by doing” เพ่อื สร้าง 2. ทดสอบก่อนเรียน
แรงจงู ใจและการกระตนุ้ ให้นกั เรียนเกิดการเรียนรู้จาก 1. ปฐมนิเทศเพื่อแจง้ บทบาท จุดประสงค์และวธิ กี ารประเมิน
การลงมือปฏิบตั ิ

วัตถุประสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

1. เพื่อสร้างแรงจงู ใจและการกระต้นุ ในการเรียนวชิ า กำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนโดยโดยการจัดการเรยี นการสอนใชท้ ฤษฎี
งานธรุ กิจ การเรียนรู้ โดยการลงมือทา “Learning by doing” ช่วยส่งเสริมใหนักเรยี น
2. เพอ่ื ให้การจดั กิจกรรมการเรียนรู้วชิ างานธุรกจิ มี ไดเ้ รียนรู เพ่อื สร้างแรงจูงใจและการกระตุ้นใหน้ ักเรยี นเกดิ การเรยี นรู้จาก
ประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขนึ ้ การลงมอื ปฏิบัติ

กระบวนการแก้ปัญหา สรปุ ผล

ลักษณะสำคญั ของกำรเรยี นรู้แบบ“Learning by doing” จากการสรา้ งแรงจูงใจโดยใชท้ ฤษฎี “Learning by doing” ในระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี4/6พบวา่ นักเรยี นมคี วามสนใจในการเรยี นรู้รายวชิ างานธรุ กจิ

มีความพึงพอใจในช้นิ งานของตนเอง และสามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ ับจากวชิ าน้ีไปใชใ้ น

• จัดการเรียนรู้เนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคญั เนน้ การปฏบิ ตั ิ ชวี ติ ประจาวนั ได้

เรียนรู้จากการกระทา จากกจิ กรรมกลุ่ม โดยนกั เรยี นนาประสบการณ์ท่ี
ในสถานการณจ์ ริง ได้รบั ไปใช้ในการตดั สินใจ

การแกป้ ญั หา • นักเรียนนำประสบกำรณ์ท่ีได้รับ
จ ำ ก ก ำ ร แ ก้ ปั ญ ห ำ ไ ป ใ ช้ ใ น ก ำ ร
ตัดสินใจ

• นักเรียนสืบเสำะหำข้อมูล จัดระเบียบข้อมูลหำ
ข้อสรุป และหำวธิ กี ระบวนกำรด้วยตนเอง

การเสาะแสวงหา
ความรู้

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC)

การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมการเรียนใหม้ วี นิ ัยและของนกั เรียนความรบั ผดิ ชอบ ของนักเรียน

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/4 นายฤกษ์ชัย ชะตาถนอม กลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

ทีม่ าและความสาคญั ข้ันตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

การศึกษาวิจยั ในครั้งนท้ี าใหท้ ราบถงึ ดา้ นพฤติกรรมการ 1. กาหนดข้นั ตอนการดาเนินการวิจยั
เรยี น เม่อื นกั เรียนมกี ารปรบั เปล่ียนพฤติกรรมให้เป็นผู้ 2. กาหนดประชากร/กลุ่มตวั อยา่ ง
ท่ีมีวินัยในตนเองและความรับผิดชอบ จะทาให้ 3. ดาเนินการทดลองเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการศึกษาค้นควา้
นกั เรียนสนใจเรยี นและมีความขยันอดทน มีแรงจูงใจ
ทาให้มีผลการเรียนดีขึ้น ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อ 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ครูผสู้ อน และครูทุกทา่ นที่จะนามาเสริมสร้าง พัฒนา 5. นาผลท่ไี ด้มาวเิ คราะหก์ ารวเิ คราะหข์ ้อมูล
นั ก เ รี ย น ใ ห้ มี คุ ณ ค่ า มี คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ค ร อ บ ค รั ว
โรงเรียน สงั คมและประเทศชาติ ผลการดาเนนิ งาน

วัตถุประสงค์ ตารางเปรยี บเทียบความมีวนิ ัย ความรบั ผิดชอบและความสนใจการเรียน
ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/4 ปกี ารศึกษา 2561 (คร้งั ที่ 1 และครง้ั ที่ 2)
เพ่อื เป็นการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัย
และความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้นของ
นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 การศึกษา 2561 ของ
โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

กระบวนการแกป้ ญั หา สรุปผล

ผ้วู จิ ัยไดก้ าหนดขั้นตอนในการวิจยั ไว้ดังน้ี จากแบบสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับความมี

1 ศึกษาหลกั การ ทฤษฏีจติ วทิ ยาการศกึ ษา เจตคติ (Attitude) วินัยและรับผิดชอบในห้องเรียน เมื่อนาผลสรุปของการ
ทฤษฎีแรงจูงใจ ทฤษฎกี ารเรยี นร้แู บบวางเงือ่ นไข ตอบแบบสอบถามคร้ังที่ 1 และคร้ังท่ี 2 พบว่า
2 กาหนดกรอบความคดิ ในการวิจัยเพอ่ื ทาการศกึ ษาความมวี นิ ยั ใน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 มีความกระตือร้ือร้น
ตนเอง ความรบั ผดิ ชอบของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/4 เอาใจใส่ตอ่ การเรยี น และมีวินัยและความรับผิดชอบมาก
3 กาหนดวตั ถุประสงค์ กาหนดกลมุ่ ประชากร ขึ้น จากตารางพบว่า ในการตอบแบบสอบถามคร้ังท่ี 2
4 สร้างเคร่ืองมอื การวิจัย โดยผูว้ ิจยั ศึกษาจากหลักการ ทฤษฎี นักเรียนมีพฤติกรรมดังกล่าวมากกว่าคร้ังท่ี 1 หาก
แนวคิด วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื จาแนกว่า ควรสรา้ งเครื่องมือวัด พจิ ารณาในภาพรวมจะเห็นได้ว่าดีข้ึนอย่างเห็นได้ชัด คือ
ดา้ นใดบา้ งให้เหมาะสมกับสภาพของนกั เรียน นกั เรียนไมน่ างานวชิ าอ่ืนมาทาขณะที่กาลังเรียนวิชาหนึ่ง
ไมค่ ยุ และเล่นเพ่ือนในขณะท่ีครูสอน ส่งงานและการบ้าน
5 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การสรุปผลการวจิ ัยและนาเสนอผลการวจิ ัย ตรงเวลาที่ครูกาหนด ไม่นอนหลับในห้องเรียนขณะ
ช่ัวโมงเรยี น ทาการบ้านและไม่ลอกการบ้านเพื่อน ทา
ผดิ จะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ มีความรับผิดชอบต่อ
งานท่ีได้รับมอบหมาย มาเรียนตรงเวลาและตั้งใจเรียน
รู้จักว า ง แ ผ นแ ละ เต รีย มพร้อ มท่ีจะ ศึกษ า ต่อใ น
มหาวิทยาลัย และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการ
อ่านหนังสอื ทาให้นกั เรยี นสามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรม
การเรยี นใหเ้ ปน็ ผู้มวี ินัยและความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่และ
การเรียน ส่งผลให้การเรียนดีข้ึน และเป็นผู้ท่ีมี
ความสาเร็จในชวี ิตตามจุดหมายท่ตี ัง้ ไว้

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศตั รพู ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)

การพฒั นาการแนวความคดิ และสรา้ งทักษะพิเศษทางคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/5

นายสวุ ิจักขณ์ บงึ ประเสรฐิ สขุ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

ทม่ี าและความสาคัญ ขน้ั ตอนการดาเนนิ กิจกรรม

นัก เ รี ย น มี ทัก ษ ะ ก า ร ค้ น ห า ข้ อ มู ล ใ น ร ะ บ บ 1. ปฐมนิเทศเพ่อื แจง้ บทบาท เปา้ หมาย จดุ ประสงคแ์ ละวิธีการประเมิน
คอมพวิ เตอร์ หรือสืบคน้ เพอื่ ท่จี ะพิสูจน์หาคาตอบจาก 2. ทดสอบก่อนเรียน
ได้ไมถ่ ูกจดุ ประสงค์ทาใหเ้ สียเวลาในการสร้างชิ้นงานจึง
สร้างแบบฝึกเพ่ือช่วยพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์คา 3. ดาเนนิ การทดลองกลมุ่ ตวั อย่าง
เพ่ือใช้ในการค้นหาได้อย่างมีระบบและเป็นข้ันตอน 4. ทดสอบหลงั เรียน
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ เรื่อง การสบื คนและใชข้ อ้ มลู 5. นาผลท่ีได้มาวิเคราะห์

วตั ถปุ ระสงค์ ผลการดาเนินงาน

เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาเทคโนโลยี การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยวิธสี อนแบบทานาย สงั เกต อธบิ ายจะ
สารสนเทศ เรื่อง การสืบคนและใช้ข้อมูลของนักเรียนชั้น ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหนกั เรยี นไดเ้ รียนรู้การคน้ คว้าทเ่ี นนกระบวนการไปสกู่ ารสรา้ ง
มัธยมศึกษาปที ี่ ท่ีไดร้ ับการจัดการเรียนรดู้ ว้ ย ทีไ่ ด้รับการ องคความรูโดยผเู้ รยี นมสี วนรว่ มทกุ ข้นั ตอน จนไดค้ ะแนนเฉลี่ยสงู เพิม่ ขน้ึ
จดั การเรียนร้ดู ้วยชุดแบบฝกึ การใชค้ าคน้ หาขอ้ มูล

กระบวนการแกป้ ัญหา สรปุ ผล

ในการวจิ ยั คร้ังน้ีผวู้ ิจยั ดาเนินการเก็บข้อมลู ตั้งแต่วนั ที่ 7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการ
สงิ หาคม – 7 กันยายน พ.ศ. 2562 ดังนี้ จดั การเรียนรู้โดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ ด้วย
1.ผู้วจิ ยั ทาการทดสอบก่อนเรียน ( Pre test ) ใช้ ชุดแบบฝึก การใช้คาค้นหาข้อมูล เสริมการ
แบบทดสอบเรอ่ื งการค้นหาขอ้ มูลแลว้ บนั ทกึ ลงแบบการให้ สืบค้นข้อมูล ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2
คะแนน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญโดย
2.ผู้วิจัยดาเนนิ การทดลองโดยใหน้ ักเรยี นใชช้ ดุ แบบฝึก อาศัยความรู้พ้ืนฐานจากประสบการณ์เดิมของ
ทักษะการค้นหาข้อมูล ตนเอง ผลจากการจัดการเรียนรู้ท่ีให้ค้นพบ
3.ทาการทดสอบหลังเรียน ( Post test ) โดยใช้ ความรู้ดว้ ยตัวเองจากกระบวนการกลมุ่ ควบคู่กับ
แบบทดสอบเรอื่ งการค้นหาข้อมูล การเกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และ
ชดุ เดียวกับแบบทดสอบก่อนเรยี น ผู้สอนกับผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีความสนใจ มี
ความกระตือรอื รน้ และความต้งั ใจ และเกิดความ
เขา้ ใจจากการแลกเปลี่ยนความรู้ส่งผลให้ผู้เรียน
เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรพู ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)

การศกึ ษาการใชง้ านอินเตอร์เนต็ ผ่านทาง Application ของนกั เรียนโรงเรยี นสายปัญญา

ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ นายอรรถพล พรมสุวรรณ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

ทีม่ าและความสาคญั ขน้ั ตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การศกึ ษามงุ่ เน้นให้นักเรยี นสามารถใชอ้ นิ เทอร์เน็ตเพ่ือ 1. กาหนดขั้นตอนการดาเนินการวจิ ยั
การค้นคว้าหาข้อมูลความรู้และการติดต่อสื่อสารได้ 2. กาหนดประชากร/กลมุ่ ตวั อย่าง
เพราะอินเตอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสาคัญท่ีจะนาไป 3. ดาเนนิ การทดลองเครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการศึกษาค้นควา้
ประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในและนอกจากน้ัน
นาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ดังน้ันผู้วิจัยจึงมี 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ความสนใจทจ่ี ะศกึ ษาพฤติกรรมการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตของ 5. นาผลทไ่ี ด้มาวิเคราะหก์ ารวิเคราะห์ข้อมูล
นกั เรยี น ในการวางแผนและจัดการเรียนการสอนเรื่อง
การใช้อินเทอร์เน็ตได้เหมาะสมกับความต้องการของ ผลการดาเนนิ งาน
นักเรียน
ตารางการใชง้ าน Application ทนี่ กั เรยี นใช้งานประจาปกี ารศกึ ษา 2/2562
วัตถุประสงค์

1. เพื่อแกป้ ญั หาการจดั การความเร็วของอนิ เตอร์เนต็ ความเปนองค์การแหง่ การเรยี นรู้ คา่ เ ลีย่ ลาดับ

2. เพอ่ื จัดการระบบอินเตอรเ์ นต็ ให้มคี วามเสถยี รมากข้นึ 1. Application google 14.0 1

3. เพอ่ื จดั ลาดบั ความสาคญั ของการใช้อินเตอร์เนต็ 2. Application Youtube 10.7 2
3. Application Facebook 10.0 3

4. Application quid 9.75 4

5. Application ssl 7.50 5

รวม 9.19

กระบวนการแกป้ ัญหา สรปุ ผล

ผวู้ จิ ัยได้กาหนดขั้นตอนในการวจิ ยั ไวด้ ังน้ี จากตารางจะเห็นได้ว่าพฤติกรรมการใช้
อินเทอร์เน็ตของนักเรียนสายปัญญา ในพระบรม
1 ศกึ ษาหลักการ ทฤษฏจี ิตวทิ ยาการศกึ ษา เจตคติ (Attitude) ราชินูปถัมภ์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 พบว่า
ทฤษฎีแรงจงู ใจ ทฤษฎีการเรยี นร้แู บบวางเง่อื นไข นกั เรยี นมีพฤตกิ รรมการใช้บรกิ าร Application google
2 กาหนดกรอบความคดิ ในการวิจัยเพือ่ ทาการศกึ ษาความมวี นิ ยั ใน มากที่สดุ มีค่าเฉลีย่ เทา่ กับ 14.0 คือเรียกบริการอินเตอร์
ตนเองในการใช้อนิ เตอร์เน็ต ผา่ นทาง Google ในการเขา้ ใชง้ านอนิ เตอรเ์ นต็ อยู่ลาดับ
3 กาหนดวตั ถุประสงค์ กาหนดกลมุ่ ประชากร ท่ี 1 จากขอ้ มลู บน firewall
4 สร้างเครอ่ื งมือการวิจัย โดยผ้วู ิจัยศกึ ษาจากหลกั การ ทฤษฎี
แนวคิด วัตถุประสงค์ เพ่อื จาแนกวา่ ควรสรา้ งเครื่องมอื วดั ในสว่ นของการใช้อินเทอร์เน็ตที่นักเรียนใช้
ด้านใดบ้างให้เหมาะสมกบั สภาพของนกั เรยี น รองลงมาคือ Application Youtube มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
10.0 G และในส่วนทน่ี ักเรียนใช้งานอินเตอร์น้อยท่ีสุดคือ
5 เก็บรวบรวมขอ้ มูล การสรุปผลการวจิ ยั และนาเสนอผลการวจิ ัย Application ssl มีค่าเฉลย่ี เทา่ กบั 7.50

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รพู ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

การศึกษาพฤตกิ รรมในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นการสอน

ของนกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1

นายเอกรนิ ทร์ ปิน่ เกตุ กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

ทม่ี าและความสาคัญ ข้นั ตอนการดาเนนิ กิจกรรม

การจัดการเรียนการสอนวชิ าวิทยาการคานวณ สาหรับ 1. ปฐมนิเทศเพื่อแจ้งบทบาท เปา้ หมาย จุดประสงคแ์ ละวิธีการประเมิน
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มุ่งเน้นให้นักเรียน 2. ทดสอบก่อนเรยี น
สามารถใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ เพ่อื การค้นคว้าหาข้อมูลความรู้
และกระบวนการคดิ อย่างเปน็ ระบบ เพราะอินเตอร์เน็ต 3. ดาเนนิ การทดลองกลมุ่ ตวั อย่าง
เป็นเครื่องมือสาคัญท่ีจะนาไปประยุกต์ใช้เพ่ือให้เกิด 4. ทดสอบหลังเรยี น
ประโยชน์ในการเรียนวิชาอ่ืนๆ ของนักเรียน และ
นอกจากนั้นนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อีก 5. นาผลที่ได้มาวิเคราะห์
ดว้ ย เชน่ ใชส้ าหรบั คน้ ข้อมลู ทารายงาน ใช้ส่งจดหมาย
อิเล็กทรอนกิ สถ์ งึ เพ่อื นๆ หรอื สอ่ื สารกบั ครูผสู้ อน ผลการดาเนินงาน

วตั ถปุ ระสงค์ ตาราง ผลการประเมินพฤตกิ รรมการใชอ้ ินเทอร์เนต็ ของนกั เรียนระดับ
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561
เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ของนักเรียน
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสายปัญญา ในพระ
บรมราชนิ ปู ถัมภ์ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561

กระบวนการแกป้ ัญหา สรุปผล

กระบวนการแกป้ ญั หา โดยใช้ข้นั ตอน PDCA พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ของ
นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี
P P – Plan การวางแผนแก้ไขปัญหาหรือความผิดปกติ 2 ปีการศึกษา 2561 ในส่วนของสถานท่ีที่
D D – Do การนาแผนไปปฏบิ ัติการแก้ไข นกั เรยี นใช้บริการอินเทอร์เน็ตพบว่า นักเรียนใช้
C C – Check การตรวจสอบผลงานตามแผน บริการอินเทอร์เน็ตท่ีโรงเรียนมากท่ีสุด มี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
A A – Action แก้ไขมาตรฐานการการปฏบิ ตั งิ าน เทา่ กบั 0.89 แสดงวา่ นกั เรียนมีพฤตกิ รรมการใช้
บรกิ ารอยใู่ นเกณฑร์ ะดบั มาก

ใ น ส่ ว น ข อ ง ช่ ว ง เ ว ล า ท่ี นั ก เ รี ย น ใ ช้
บรกิ ารอินเทอร์เน็ตของโรงเรียน พบว่านักเรียน
ใช้บรกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตในชัว่ โมงเรียนคอมพิวเตอร์
มากท่ีสุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.50 ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.70 แสดงว่านักเรียนมี
พฤตกิ รรมการใชบ้ รกิ ารอยใู่ นเกณฑร์ ะดบั มาก

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตป้อมปราบศัตรพู ่าย ๑๐๑๐๐

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี (PLC)

ผลการใชแ้ บบฝกึ ทักษะเพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น รายวชิ า ท 23102 ภาษาไทย 6
ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

นายกรี ติ ไทยรัฐเทวนิ ทร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ทมี่ าและความสาคัญ ขั้นตอนการดาเนินกจิ กรรม

จ า ก ที่ผู้ วิจั ย ไ ด้ เ ค ย ศึ ก ษา ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี ขั้นวิเคราะห์ผล
ด้านการสอนภาษาไทย พบว่าการเรียนการสอนภาษาไทย
จะสาเร็จลุล่วงและบรรลุวัตถุประสงค์ได้นั้น นวัตกรรม ข้ันใชจ้ ริง
ส่ือสิง่ พมิ พ์ประเภท แบบฝึกทักษะ สามารถเป็นตัวช่วยของ ขัน้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเครือ่ งมือ
ครูผู้สอนได้เป็นอย่างดี จึงได้ริเร่ิมท่ีจะสร้างแบบฝึกทักษะ
เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ท 23102 ขนั้ ทดลองใชเ้ คร่อื งมือ
ภาษาไทย 6 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ขนึ้ ขั้นเตรียมการ

วัตถุประสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

1. เพื่อสร้างและหาประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทกั ษะ ผลการใช้แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รายวิชา ท 23102 ภาษาไทย 6 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 รายวิชา ท 23102ภาษาไทย 6ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
ช่วยส่งเสริมให นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม มีความ
2. เพือ่ ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา หลากหลาย และปริมาณเพียงพอที่ เนนให้ผู้เรียนได้สร้างองคความรู
ท 23102 ภาษาไทย 6 ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ด้วยตนเองโดยผ่านกระบวนการฝึกฝนจากการทาแบบฝึกจนชานาญ
โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ ภาคเรียนท่ี 2 สง่ ผลใหผ้ เู้ รียนมีผลสมั ฤทธ์ิการเรียนวชิ าภาษาไทยสงู ขนึ้
ปีการศกึ ษา 2561 หลังการเรยี นโดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ
โดยเทียบกับเกณฑร์ อ้ ยละ 70

กระบวนการแก้ปญั หา สรปุ ผล

ศกึ ษาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน จากการศึกษาผลการใช้แบบฝกึ ทักษะ รายวิชา ท 23102
และหลกั สูตรสถานศึกษา ภาษาไทย 6 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนสายปญั ญา
ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ สรุปผลการวิจัยได้ดังน้ี
ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวกับหลักการสร้างแบบฝึก
ทักษะและแบบทดสอบ 1. แบบฝกึ ทักษะรายวชิ า ท 23102 ภาษาไทย 6
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์
ศกึ ษาเนอ้ื หาสาระและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมทก่ี าหนด มปี ระสทิ ธิภาพเท่ากบั 81.37/88.56 ซ่ึงสงู กว่าเกณฑ์ 80/80
ในโครงสรา้ งรายวชิ า ทก่ี าหนดไว้

สร้างแบบฝึกทกั ษะและแบบทดสอบ 2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา ท 23102
รายวชิ า ท 23102 ภาษาไทย 6 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาษาไทย 6 ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียน
ใหส้ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรเู้ ชงิ พฤตกิ รรม สายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา
2561 ทีเ่ รยี นโดยใชแ้ บบฝึกทักษะ หลังเรียนสงู กวา่
นาชดุ แบบฝึกและแบบทดสอบท่ีไดป้ รบั ปรุงแกไ้ ขแล้ว เกณฑร์ อ้ ยละ 70 อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05
ไปใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญตรวจสอบ ทดลองใช้ และใช้จริงในชัน้ เรยี น

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ www.saipanya.ac.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตป้อมปราบศตั รูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชีพ (PLC)
การแก้ปัญหาการอา่ นเชิงวเิ คราะหโ์ ดยใช้รปู แบบการเรียนแบบเพอื่ นคูค่ ดิ ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑

ทม่ี าและความสาคญั นางชลฤทยั สุขเกษม กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ขนั้ ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Think ๕. วเิ คราะห์ผล
Pair Share: TPS) เป็นเทคนิคการเรียนแบบร่วมมือ ๔. ทดสอบหลงั เรียน
โดยเป็นวิธีการจับคู่เพื่อให้ผู้เรียนทากิจกรรมการเรียน ๓. ดาเนนิ การทดลอง
ร่วมกัน เพ่ือพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียน ๒. ทดสอบก่อนเรยี น
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เปน็ การฝึกฝนนักเรยี นให้มีทักษะ ๑. ปฐมนเิ ทศเพอ่ื แจ้งบทบาท จุดประสงคแ์ ละวธิ กี ารประเมิน
การอ่านเชิงวิเคราะห์ซึ่งจะมีประโยชน์ต่อการพัฒนา
สติปัญญา และการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั

วัตถุประสงค์ ผลการดาเนินงาน

เพอื่ เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบเพ่อื นค่คู ดิ (Think Pair Share: TPS)
ระหว่างก่อนเรียนและหลงั เรยี นดว้ ยรูปแบบการเรียนแบบ เพื่อแกป้ ญั หาการอา่ นเชงิ วเิ คราะห์ ทาให้นกั เรียนมคี ะแนนผลสัมฤทธ์ิการ
เพื่อนคคู่ ิด ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ อ่านเชิงวิเคราะหห์ ลงั เรยี นสงู กว่ากอ่ นเรียนทกุ คน

กระบวนการแก้ปญั หา สรุปผล

ลกั ษณะสาคญั ของการเรียนรู้การจัดการเรยี นการสอน จากการแกป้ ญั หาการอ่านเชงิ วิเคราะห์ดว้ ยรูปแบบการเรยี นแบบ
แบบรว่ มมอื แบบเพอ่ื นคคู่ ดิ (Think Pair Share: TPS) เพ่อื นคูค่ ดิ พบว่าผลสมั ฤทธิ์การอ่านเชิงวเิ คราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อน
มอี ยู่ ๓ ข้ันตอน ดังต่อไปนี้ เรยี น โดยมีคะแนนความกา้ วหน้าเฉลี่ยอย่ทู ่ี ๕.๘ คะแนน และมรี อ้ ยละ
ของคะแนนความกา้ วหน้าเฉลยี่ อยู่ท่ี ๒๙ คะแนน ซงึ่ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
• การทา้ ทายใหผ้ ู้เรียนไดค้ ิดและไตร่ตรองจากคาถามแบบ ความสามารถในการอ่านเชงิ วเิ คราะห์ตามหลักเกณฑ์
ปลายเปิด หรอื การเฝา้ สังเกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รียน
Think

• การจัดให้ผู้เรียนจับคู่กัน เพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกัน
และกันในประเด็นที่กาหนดไว้เพ่ือหาข้อสรุป หรือคาตอบท่ี

Pair ต้องการ

Share • การสลายจากการจับคู่แล้วสรุปผลการค้นหาคาตอบร่วมกันท้ัง
ชั้นเรียน เพื่อแลกเปล่ียนความรู้ สรุปและอภิปรายผล โดย
นักเรียนมีอิสระในการถาม หรือตอบข้อซักถามโดยจับคู่กับ
สมาชิกเพ่ือแบ่งปันความคิด วิธกี ารนีม้ ปี ระโยชน์อย่างย่ิงในการ
อภปิ รายผลเนอื่ งจากทาใหน้ กั เรยี นมีสว่ นรว่ ม

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศตั รูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen
ชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี (PLC)

ผลของการจดั กิจกรรมการเรียนร้ภู าษาไทยโดยใช้รปู แบบเหตแุ ละผลท่มี ีตอ่

ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลและการอา่ นวิเคราะหข์ องนักเรียนมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓

นางสาวปาริฉตั ร พลสมบัติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ท่ีมาและความสาคัญ ขนั้ ตอนการดาเนินกจิ กรรม

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบเหตุและผล ๕. วิเคราะห์ผล
ส า ม า ร ถ ท า ใ ห้ นั ก เ รี ย น วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ห ตุ แ ล ะ ผ ล ข อ ง
สถานการณ์จากการอ่าน นาไปสู่การพัฒนาทักษะ ๔. ทดสอบหลังเรียน
การคดิ ระดับสูงท่ียากและซับซ้อนยิ่งข้ึน จึงนารูปแบบ
เหตแุ ละผลมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอ่าน ๓. ดาเนินการทดลองกลุม่ ตัวอยา่ ง
ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษ าปีที่ ๓ เพื่อพัฒนา
ความสามารถในการอา่ นวเิ คราะหแ์ ละการให้เหตุผล ๒. ทดสอบกอ่ นเรยี น
๑. ปฐมนิเทศเพือ่ แจ้งบทบาท จุดประสงค์

และวิธกี ารประเมิน

วัตถุประสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

เพ่ือพัฒนาค วามส ามาร ถในการให้ เห ตุผ ล แล ะ หลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้รปู แบบเหตุและผล ชว่ ยสง่ เสริม
ความสามารถในการอ่านวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้น ใหนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีความสามารถในการให้เหตุผล
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ และความสามารถในการอ่านวิเคราะหส์ งู ขน้ึ
เหตุและผล
สรปุ ผล
กระบวนการแก้ปัญหา
กลุ่มทดลองท่ีได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบเหตุและผลมี
การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามกระบวนการของรูปแบบ ความสามารถในการให้เหตุผลและการอ่านวิเคราะห์สูงกว่าก่อนการทดลอง
เหตุและผล มี ๗ ขั้น ดงั ตอ่ ไปนี้ อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .๐๕ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ
เหตุและผลสามารถพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลของกลุ่มทดลองได้
ขน้ั ที่ ๑ เลอื กข้อมูลทเี่ ปน็ ประเดน็ สาคัญ เน่ืองจากรูปแบบน้ีเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีให้นักเรียนเลือกประเด็น
ข้ันท่ี ๒ ระบุสาเหตแุ ละขอ้ มลู สนับสนนุ สาคัญของเร่ืองท่ีอ่านในขั้นท่ี ๑ แล้วระบุสาเหตุ ผล สาเหตุเบ้ืองต้น และ
ขน้ั ที่ ๓ ระบุผลที่เกดิ ข้นึ และขอ้ มูลสนบั สนุน ผลกระทบ พร้อมข้อมูลสนับสนุนจากประเด็นสาคัญของเรื่องในกระบวนการ
ขั้นที่ ๔ ระบุสาเหตุเบือ้ งตน้ และข้อมูลสนับสนุน ข้ันท่ี ๒ - ๕ ตามลาดบั เมอื่ นกั เรยี นเข้าใจสาเหตุเบ้ืองต้นและสาเหตุท่ีทาให้เกิด
ขั้นท่ี ๕ ระบุผลกระทบและขอ้ มูลสนับสนุน ประเด็นสาคัญของเรอ่ื ง จนเขา้ ใจผลและผลกระทบจากประเด็นสาคัญของเร่ือง
ขัน้ ที่ ๖ สรุปผลการวิเคราะห์ และสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ประเด็นสาคัญได้ กระบวนการดังกล่าวจึง
ข้นั ท่ี ๗ สรปุ ขอ้ คิดและเช่ือมโยงกบั ชวี ติ จริง สามารถพัฒนาการให้เหตุผลและการอ่านวเิ คราะห์ของนกั เรียนได้

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตปอ้ มปราบศตั รูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (PLC)

การพฒั นาทักษะการอา่ นเชิงวเิ คราะห์ ตามวธิ กี ารอา่ นแบบ SQ4R ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4

นางองั คนาง บญุ ศริ ิ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

ท่มี าและความสาคญั ขัน้ ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้แบบฝึก 1. ศกึ ษาสาระ มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด/จุดมงุ่ หมายใหเ้ ขา้ ใจ
ทักษะ ตามวิธีการอ่านแบบSQ4R ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เพ่ือเป็น 2. ทดสอบกอ่ นเรียน
แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน วิชาภาษาไทยให้มี 3. ศกึ ษาใบความรู้
ประสิทธิภาพยงิ่ ขึ้นนกั เรียนเกดิ ทักษะการอ่าน รู้จักคิดวิเคราะห์
และเข้าใจเรื่องท่ีอ่านได้ถูกต้องและสามารถนาไปใช้ให้เกิด 4. ฝึกทักษะการอ่านเชงิ วเิ คราะห์
ประโยชน์ ปฏิบัติจนเกิดผลดีต่อชีวิตตนเอง ชีวิตครอบครัวและ 5. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
สงั คมโดยรวมได้
ผลการดาเนนิ งาน
วตั ถุประสงค์
ตารางเปรยี บเทียบคะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 กอ่ นและหลัง
1. เพอื่ สรา้ งและพัฒนาแบบฝึกทกั ษะการอา่ นเชงิ วเิ คราะหว์ ิชา การใชแ้ บบฝกึ ทักษะการอ่านเชงิ วเิ คราะห์ โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ ตามวิธกี ารอ่านแบบ
ภาษาไทย ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 SQ4R โดยใช้สถิติ t-test
2. เพอื่ เปรียบเทียบความสามารถทางการเรยี นด้านทักษะการอา่ น
เชิงวิเคราะหว์ ิชาภาษาไทย ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ผลการ N x̄ SD t-test
โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ ทดสอบ 30
การอ่านเชิงวเิ คราะห์ ระหว่างกอ่ นเรียนและหลังเรียน กอ่ นเรียน 30 20.47 3.04
-9.284
กระบวนการแก้ปญั หา หลงั เรียน
25.43 1.40

การอา่ นเชิงวเิ คราะห์ตามวธิ กี ารอ่านแบบ SQ4R สรุปผล
มขี นั้ ตอนการทางาน 6 ข้ันตอนดังนี้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีได้รับการ
S S (Survey)อา่ นเน้ือเร่อื งคร่าวๆ ฝึกจากแบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์วิชา
ภาษาไทยสาหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4/1
Q Q (Question)การตั้งคาถาม โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มี
R1 R1 (Read)อา่ นอย่างละเอยี ด คะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อน
เรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05
R2 R2 (Record) การจดบนั ทกึ วิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนผู้เรียนเป็น
R3 R3 (Recile) การเขยี นสรปุ ใจความสาคญั สาคัญ ฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยอาศยั ความรู้
พื้นฐานจากประสบการณ์เดิม ทาให้ผู้เรียนมี
ความเข้าใจ วิเคราะห์เรอ่ื งท่ีอ่านได้

R4 R4 Reflect) การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศตั รพู า่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC)

รายงานการพฒั นาแบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2

ท่มี าและความสาคญั นางวีรยา ไชยมงคล กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ขั้นตอนการดาเนินกจิ กรรม

การอ่านเป็นพืน้ ฐานที่สาคญั ของการเรียนรู้และการ ผลการดาเนนิ งาน
พฒั นาสตปิ ัญญาของคนในสงั คม การอ่านทาให้เกิด
การพัฒนาด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ
พฤติกรรม และค่านิยมต่างๆ รวมทัง้ ช่วยในการ
เปลี่ยนแปลงการดาเนินชีวิต พฒั นาไปส่สู ิ่งท่ีดีท่ีสุด
ของชีวิต การอ่านจึงมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์
อย่างยง่ิ

วัตถปุ ระสงค์

พฒั นาแบบฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความ โดยใช้แบบฝึก ตารางเปรียบเทยี บคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นชั้นมธั ยมศึกษา
ทกั ษะ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน และศกึ ษา ปีท่ี 2 ก่อนและหลงั การใชช้ ุดกจิ กรรมแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั
ความพงึ พอใจของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/5 ท่ีมี ใจความสาคญั พบวา่ ก่อนเรยี น 87.28 และ หลังเรียน 89.79
ตอ่ การเรียน โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย สรปุ ผล

กระบวนการแก้ปญั หา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดย
วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย ก า ร พั ฒ น า แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ
การสอนและกิจกรรมการอา่ นแบบแจกลูกสะกดคา กา ร อ่ า น จั บ ใ จ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง นั ก เ รี ย นช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า
ปีท่ี 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ วิธีการ
• นักเรียนรู้จักคาและเข้าใจความหมายของ จดั การเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัย
ขั้นทานาย สาร ความรู้พ้ืนฐานจากประสบการณ์เดิมของตนเอง นักเรียนมีความ
รับผิดชอบมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดจน
(Predict) นาความรทู้ ่ีได้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน

ข้นั สังเกต • การมีปฏิกิริยาตอ่ สาร

(Observing)

ขนั้ อธิบาย • การรวบรวมความคิด
(Explain)

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงป้อมปราบ เขตปอ้ มปราบศัตรูพ่าย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen

ชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ (PLC)

การวิจยั เรือ่ ง การสรา้ งแบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

นายสรุ รกั ษ์ วรรณทอง กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย

ท่ีมาและความสาคัญ ข้นั ตอนการดาเนินกิจกรรม

การอา่ นจบั ใจความเปน็ ส่ิงที่จาเป็น ควรได้รับการฝึกฝนให้มี 1. ชีแ้ จ้งบทบาท เปา้ หมาย จดุ ประสงคแ์ ละวิธีการประเมิน
ทักษะในการอ่านจับใจความท่ีดีข้ึน เพ่ือให้นักเรียนรู้จักที่จะคิด 2. ทดสอบกอ่ นเรยี น
วิเคราะห์ รวมท้ังเข้าใจเร่ืองราวที่อ่านได้ถูกต้อง สามารถจับ
ใจความสาคัญของเร่ืองได้ในเวลาท่รี วดเรว็ นอกจากนกี้ ารฝึกทักษะ 3. ดาเนนิ การเรยี นการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้
การอ่านจับใจความ เป็นวิธีการสอนอ่านอีกวิธีหนึ่งที่จะนาไปใช้ 4. ทดสอบหลังเรียน
แก้ปัญหาการสอนอ่านจบั ใจความได้เปน็ อย่าง
5. นาผลทไ่ี ด้มาวเิ คราะห์
วตั ถปุ ระสงค์
ผลการดาเนินงาน

1. สรา้ งแบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 1. แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจับใจความมคี วามเหมาะสมมาก โดยมีคา่ เฉล่ยี
2. เพือ่ พฒั นาผลการเรียนรู้ เรื่อง การอา่ นจบั ใจความ ท่ี 4.6–5 โดยมีความเหมาะสมมากในทุกหัวข้อในการแสดงความ
3. เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ท่ีมี คิดเห็น

ตอ่ การเรยี นเรอ่ื งการอ่านจบั ใจความโดยใช้แบบฝึกทกั ษะ 2. ความสามารถในการอ่านจบั ใจความ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปที ี่ 1 หลังจากทไี่ ด้รับฝกึ ทักษะโดยใชแ้ บบฝึกทักษะการอ่าน
กระบวนการแกป้ ัญหา จบั ใจความมากกวา่ ก่อนใช้อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั นัยสาคญั
.05 ซงึ่ เปน็ ไปตามสมมตุ ฐิ าน

สรปุ ผล

กระบวนการแกป้ ญั หาแบบ PDCA จากการศึกษาพบว่าคะแนนความสามารถในการอ่านจับใจ
ความหลังเรียนด้วยการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ
P การวางแผนจัดทาแบบฝึกทักษะ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
D การให้ผเู้ รียนทาแบบฝกึ ทกั ษะ นัยสาคัญทางสถิตท่ีระดับ .05 ซ่ึงเป็นไปตามสมมุติฐานท่ีตั้งไว้
แสดงให้เห็นว่าแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสามารถพัฒนา
ความสามารถทางการเรียนรเู้ รอ่ื งการอา่ นจบั ใจความสงู ขึ้น

C การตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ

A การปรับปรงุ และพฒั นาแบบฝึกทักษะ

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรงุ เกษม แขวงปอ้ มปราบ เขตป้อมปราบศตั รูพา่ ย ๑๐๑๐๐

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

Saipanya School Under the Royal Patronage of her Majesty the Queen
ชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (PLC)

การศึกษาผลการใชแ้ บบฝึกอ่านการวิเคราะห์สารประเภทวรรณคดีเรือ่ งสามกก๊ ตอนกวนอไู ปรบั

ราชการกบั โจโฉ ท่ีมีต่อผลสัมฤทธด์ิ า้ นการอา่ นคิดวิเคราะห์ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖

นายเอกวฒั น์ พัฒนวิบูลย์ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ท่ีมาและความสาคัญ ขัน้ ตอนการดาเนินกิจกรรม

การศกึ ษาวรรณคดีเรอื่ งสามกก๊ ตอนกวนอไู ปรบั ราชการ 1. ปฐมนเิ ทศเพ่ือแจ้งบทบาท เปา้ หมาย จดุ ประสงคแ์ ละวธิ ีการประเมนิ
กับโจโฉมีเนื้อหารายละเอียดที่มากและซับซ้อนยากต่อ 2. ทดสอบก่อนเรียน
ความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์ดังนั้นเพื่อเสริมสร้าง
ความคดิ ตามลาดับเรื่องราวและการพิจารณาแยกแยะ 3. ดาเนินการทดลองกลมุ่ ตัวอย่าง
แต่ละประเดน็ อย่างมีวิจารณญาณจาเป็นต้องมีแบบฝึก 4. ทดสอบหลังเรยี น
ทักษะการอ่านเพื่อเสริมสรา้ งความเข้าใจและฝึกทักษะ
การคิดอย่างมเี หตุผลเปน็ สาคญั 5. นาผลทไ่ี ดม้ าวเิ คราะห์

วตั ถุประสงค์ ผลการดาเนนิ งาน

เพอ่ื พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิการเรียนของนักเรียนในด้านการคิด จากการฝกึ ทกั ษะการเรยี นโดยการทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียนปรากฏผล
วิเคร าะห์โ ดยการ ใช้แบบ ฝึกทักษะการ อ่านตาม สมั ฤทธ์ิการเรียนดังรายละเอยี ดของข้อมูลดังนีค้ ือ
กระบวนการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณเนน้ ศกึ ษาประเด็นของ
การดาเนินเรอื่ งการศึกษารายละเอยี ดคุณค่าของวรรณคดี ๑.ผลการวิเคราะหค์ วามกา้ วหนา้ จากการทดสอบมคี วามแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคัญ.
โดยใชก้ ารสบื คน้ ความร้โู ดยทาแบบฝึกตามขั้นตอน ๐๑ แสดงวา่ แบบฝกึ ทกั ษะสามารถทาใหผ้ เู้ รยี นอ่านวิเคราะห์สารได้ดีขึน้

กระบวนการแกป้ ัญหา ๒. แบบฝกึ ท่ีสรา้ งขนึ้ มีประสทิ ธภิ าพ ๘๐.๙๕/๘๕.๒๑ เมื่อเทียบเกณฑม์ าตรฐานทต่ี ้งั
ไว๘้ ๐/๘๐ แสดงวา่ แบบฝึกทส่ี รา้ งมีมาตรฐานตามเกณฑ์ทกี่ าหนด
การพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นด้านการคดิ วิเคราะห์นน้ั ใช้
ข้นั ตอนการอ่านอยา่ งมีวจิ ารณญาณสอดคล้องกับประเด็น ๓. การประเมินทศั นคตอิ ยู่ในระดบั ๔.๘๑ แสดงวา่ นักเรยี นพึงพอใจแบบฝึกในระดับดี
ของการวางแผน การดาเนนิ การ การประเมนิ และพัฒนา
สรุปผล
P วางแผนดาเนนิ การจดั ทาแบบฝึกทกั ษะการเรยี น
การวจิ ยั คร้งั น้ีเปน็ การวเิ คราะห์ความกา้ วหนา้
D จดั กิจกรรมการเรยี นการใชแ้ บบฝึกทกั ษะ ดา้ นการอา่ นวิเคราะหว์ รรณคดีเรอ่ื งสามก๊กตอน
กวนอูไปรบั ราชการกับโจโฉโดยวิเคราะหจ์ าก
C ประเมนิ ความสามารถของนักเรียน ความแตกต่างของคะแนนก่อนและหลงั เรยี นโดย
ใช้แนวทางการอ่านอยา่ งมวี จิ ารณญาณ ใน
A วางแผนตรวจสอบเพ่ือพฒั นาทักษะการอา่ นตอ่ ไป กระบวนการวางแผนแบบ P D C A ส่งผลให้
นกั เรียนมพี ัฒนาการด้านการอา่ นเชิงวเิ คราะห์
ในระดับดี โดยไดใ้ ชก้ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
อย่างต่อเนอื่ ง ทาแบบฝกึ ทักษะอยา่ งเป็น
ขั้นตอนเพอ่ื นาเสนอรายละเอียดและอธบิ าย
ข้นั ตอนอย่างเหมาะสมเป็นเชงิ สรา้ งสรรค์เปน็
อย่างดียง่ิ ส่งผลให้การเรยี นวรรณคดีเรอ่ื งสามก๊ก
มีพฒั นาการดยี ิ่งขึ้น

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ saipanya.co.th
๐๒-๒๒๑-๐๑๙๖, ๐๒-๒๒๑๐๘๒๔
๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรพู ่าย ๑๐๑๐๐


Click to View FlipBook Version