รายวชิ าเศรษฐศาสตร์เบ้อื งต้น (SOC2301)
สาขาวชิ าสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564)
เนอื้ หาสาระ
• แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติคืออะไร?
• แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12
• ภาวะเศรษฐกิจไทย และแนวทางการแกป้ ัญหา
➢ ภาวะเศรษฐกจิ ไทย และแนวทางการแกป้ ญั หา ปี พ.ศ.2560
➢ ภาวะเศรษฐกจิ ไทย และแนวทางการแกป้ ญั หา ปี พ.ศ.2561
➢ ภาวะเศรษฐกจิ ไทย และแนวทางการแกป้ ญั หา ปี พ.ศ.2562
➢ ภาวะเศรษฐกจิ ไทย และแนวทางการแกป้ ญั หา ปี พ.ศ.2563
• ภาคผนวก
• รายชอ่ื ผจู้ ัดทา
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
คืออะไร?
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ แหง่ ชาติและสงั คมแห่งชาติ
คือ การกาหนดแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ เพื่อให้ประชาชนมีชีวิตและความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน โดยการเข้ามามี
ส่วนรว่ มของประชาชนทกุ ขัน้ ตอนอย่างเป็นระบบ
ตลอดเวลาครึ่งศตวรรษที่ผ่านมาจะหานโยบายใดในสังคมไทยที่
สร้างผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยอย่างกว้างขวางและลึกซ้ึงไปกว่า
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติเป็นไม่มี แผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติได้กลายเป็นแม่แบบของการวางแผนด้านเศรษฐกิจและ
สังคมในประเทศไทยอย่างเด่นชัด รวมท้ังยังเป็นเป้าหมายร่วมที่คนใน
สังคมไทยพยายามขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ ให้เดินไปในทิศทางเดียวกัน แม้ระยะ
หลังจะเน้นฉันทามติและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในขั้นตอนการร่าง
แผนมากขึ้นกต็ าม
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
คืออะไรและแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกิจอยา่ งไร?
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12
พ.ศ.2560-2564 ได้น้อมนาหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง” มาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศ
อย่างต่อเนอ่ื งจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่
9-11 เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้สังคมไทย
สามารถยืดหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคงเกิดภูมิคุ้มกัน และมี
การบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ส่งผลให้
การพฒั นาประเทศส่คู วามสมดุลและยง่ั ยืน
ในการจัดทาแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 คร้ังน้ี ได้จัดทาบนพื้นฐานของ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ซ่ึงเป็นแผนแม่บทหลักของการ
พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ( Sustainable
Development Goals : SDGs) รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่
ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากนั้นได้ให้
ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วนท้ังในระดับกลุ่ม
อาชีพ ระดับภาค และระดับประเทศในทุกขั้นตอนของแผนฯ อย่างกว้างขวาง
และตอ่ เนื่องเพอ่ื รว่ มกนั กาหนดวิสยั ทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมท้ัง
ร่วมจดั ทารายละเอยี ดยุทธศาสตรข์ องแผนฯ เพ่ือมงุ่ สู่ “ความมัน่ คง มง่ั ค่ัง และ
ยัง่ ยนื ”
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ.2560-2564 ฉบับนี้ประกอบดว้ ย
5 สว่ นไดแ้ ก่
สว่ นท่ี 1 ภาพรวมการพฒั นาในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12
สว่ นที่ 2 การประเมนิ สภาพแวดลอ้ มการพฒั นาประเทศ
– สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ภายนอก
– สถานการณแ์ ละแนวโน้มภายใน
สว่ นที่ 3 วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายการพัฒนาในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12
สว่ นท่ี 4 ยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ
สว่ นที่ 5 การขบั เคลอื่ นและตดิ ตามประเมินผลแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12
สว่ นท่ี 4 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ภาวะเศรษฐกจิ ไทย และแนวทางการแกป้ ญั หา
ภาวะเศรษฐกิจไทย ปี 2560
1.เศรษฐกจิ ไทยขยายตัวร้อยละ 3.9 ตามการส่งออกสินค้าและการท่องเที่ยว สอดคล้องกับเศรษฐกิจโลกท่ีฟนื้ ตัวชัดเจนและกระจาย
ตัวมากข้ึน อปุ สงคใ์ นประเทศขยายตัวอย่างคอ่ ยเปน็ ค่อยไป ขณะท่แี รงขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ จากภาครัฐชะลอลงจากปีก่อน
แม้การอุปโภคภาครัฐขยายตัวได้ตามการใช้จ่ายในหมวดค่าตอบแทนบุคลากรและการซ้ือสินค้า
และบริการ แต่การลงทุนภาครัฐหดตัวส่วนหนึ่งเนื่องจากได้เร่งเบิกจ่ายไปแล้วในปีก่อน รวมทั้งผลของ
พ.ร.บ.การจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซง่ึ ทาให้การจัดซ้ือจัดจ้างต้องใช้ระยะเวลา
เพ่มิ ขน้ึ ประกอบกบั มบี างโครงการลา่ ชา้ จากแผนไปบ้างจากข้อจากัดด้านประสิทธิภาพการเบิกจ่าย ปัญหา
การเข้าพ้นื ที่ รวมถึงสภาพอากาศแปรปรวนและฝนท่ตี กหนกั
อย่างไรก็ดี การลงทนุ ในโครงสร้างพื้นฐานบางโครงการสามารถดาเนินการได้ต่อเน่ือง เช่น รถไฟฟ้า
สายสีส้ม โครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ และการซื้อเคร่ืองบินของรัฐวิสาหกิจ นอกจากนี้ ภาครัฐยังมีการ
ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง อาทิ มาตรการให้ความช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยผ่านบัตร
สวัสดิการแห่งรัฐ โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อภายใต้ร่มพระบารมีเพ่ือการพัฒนาการเกษตรอย่างย่ังยืน
และมาตรการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบอทุ กภยั เปน็ ต้น
2. ปจั จัยสนบั สนนุ การบรโิ ภคภาคเอกชนโดยรวมยงั ไมแ่ ข็งแกร่ง
เนื่องจากหน้ีครัวเรือนในภาพรวมยังอยู่ในระดับสูงประกอบกับรายได้ครัวเรือนนอกภาค
เกษตรกรรมบางส่วนได้รับผลกระทบจากการจ้างงานที่ลดลง ส่วนหนึ่งเพราะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
เศรษฐกิจท่ีใช้แรงงานน้อยลง เช่น การใช้เครื่องจักรทดแทนแรงงาน(automation) ในบางอตุ สาหกรรม
ขณะท่ีรายไดค้ รวั เรือนในภาคเกษตรกรรมบางส่วนไดร้ บั ผลกระทบจากราคาสินคา้ เกษตรท่ีหด ตัว
ในช่วงปลายปีเน่ืองจากผลผลิตออกสตู่ ลาดมากเกินความตอ้ งการ
3.ภาคเกษตรกรรม ในช่วงครึ่งหลังของปี รายได้ภาคเกษตรกรรมปรับตัวลดลงจากราคาสินค้า
เกษตรที่หดตัว เช่นผลไม้ ปาล์มน้ามัน ยางพารา และปศุสัตว์ เนื่องจากผลผลิตออกสู่ตลาดเป็นจานวน
มากเพราะสภาพอากาศเอ้ืออานวย รวมทัง้ เป็นผลจากฐานราคาทส่ี ูงในระยะเดียวกนั ปีกอ่ นที่เกิดภัยแล้ง
รุนแรง
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ฉบบั ท่ี 12 ไดม้ ีการกาหนดเปา้ หมายยทุ ธศาสตรช์ าติและแนวทางการพฒั นา
ประเทศในระยะ 5ปี โดยรฐั บาลมีนโยบายในการสรา้ งความม่นั คงและความเขม้ แข็งใหก้ บั ระบบ
เศรษฐกิจของประเทศ และในปี2560 เน่ืองจากแรงขบั เคล่ือนเศรษฐกิจจากภาครฐั ชะลอลงทาให้
ภาครฐั ไดม้ ีการออกมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ตวั อย่างเช่น มาตรการให้ความ
ชว่ ยเหลอื ผมู้ ีรายไดน้ อ้ ยผ่านบตั รสวสั ดิการแหง่ รฐั เพ่ือแกไ้ ขปัญหาความยากจนและความเหล่ือม
ลา้ ในสงั คมไทย ปรบั ปรุงระบบสวสั ดิการขนั้ พืน้ ฐานใหส้ ามารถครอบคลมุ และมีคณุ ภาพเพียงพอ
ตอ่ ความยากจนในสงั คม และลดปัญหาความเหล่อื มลา้ ของคนในสงั คม
รฐั บาลยงั ใหค้ วามสาคญั กบั การจดั บริหารของรฐั ท่ีมีคณุ ภาพทงั้ การจดั สรรท่ีดินทากิน สนบั สนนุ ในเร่ืองการ
สรา้ งอาชีพ รายได้ และสนบั สนนุ การเพ่ิมผลติ ภาพ ส่งเสรมิ การประกอบอาชีพของผปู้ ระกอบการระดับชมุ ชน
ส่งเสริมใหช้ มุ ชนจดั สวสั ดิการและบริหารในชมุ ชน และผลกั ดนั กลไกการกระจายท่ีดินทากินตามยทุ ธศาสตร์
ชาติท่ี 2 ของแผนพฒั นาเศรษฐกิจฉบบั ท่ี 12 หรอื จะเป็นการแกป้ ัญหาเพ่ือพฒั นาเกษตรกรอยา่ งย่งั ยืน โดย
การนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ มาเป็ นปรัชญานาทางในการพฒั นาเศรษฐกจิ
ภาวะเศรษฐกจิ ไทย ปี 2561
ในภาพรวมเศรษฐกิจโลกปี 2561 ขยายตัวชะลอลงหลังจากท่ีเร่งไปมากในปีก่อน
โดยเฉพาะในช่วงคร่ึงหลังของปี ส่วนหนึ่งเป็นผลจากนโยบายกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ และการ
ตอบโตข้ องประเทศ คู่ค้า เศรษฐกิจกล่มุ ยโู รขยายตวั ชะลอลงตามการบรโิ ภคภาคเอกชนเปน็ สาคญั
สาหรับเศรษฐกิจไทยปี 2561 ขยายตัวตอ่ เน่ืองท่ีร้อยละ 4.1 โดยมีแรงขับเคลื่อนหลัก
มาจากการใช้จ่าย ภาคเอกชนท่ีขยายตัวดีท้ังการบริโภคและการลงทุน สาหรับการบริโภค
ภาคเอกชนขยายตัวดีต่อเน่ือง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากเงื่อนไขผูกพันของโครงการรถยนต์คันแรกที่
ต้องถือครองจนครบ 5 ปีทยอยหมดลง
ดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกิจและการเงนิ
อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉล่ียทั้งปีอยู่ที่ร้อยละ 1.07 และ 0.71 ตามลาดับ
เพ่ิมข้ึน จากปีก่อนแต่ยังอยู่ในระดับต่า โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปปรับเพิ่มข้ึนตามราคาพลังงานท่ีปรับสูงขึ้น
เป็นสาคัญ ขณะที่ราคาอาหารสดยงั คงหดตัว เน่ืองจากปริมาณผลผลิตเนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ออกจานวน
มากตามสภาพ อากาศท่ีเอื้ออานวย สาหรับอัตราเงินเฟ้อพ้ืนฐานปรับเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย ตามหมวดยาสูบ
และเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ หลังมีการปรับข้ึนอัตราภาษีสรรพสามิตยาสูบและเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์
ปลายปี 2560 ขณะท่รี าคาสนิ คา้ กลุ่มอน่ื ๆ มีทิศทางปรบั เพิ่มข้ึนบา้ งตามเศรษฐกิจทข่ี ยายตวั ต่อเนือ่ ง
การแก้ไขปัญหาไดม้ กี ารกาหนดแนวทางการบริหารจัดการเศรษฐกจิ ให้สอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 12 โดยสามารถสรปุ ประเด็นสาคญั ได้ดังนี้
1.สนบั สนนุ การขยายตัวของภาคการทอ่ งเทยี่ ว
เน่อื งจากช่วงเดือนกรกฎาคมปี 2561 ได้เกิดเหตุการณ์เรือท่องเท่ียวล่มท่ีจังหวัดภูเก็ต ทา
ให้นักท่องเที่ยวจีนมีความเช่ือมั่นด้านความปลอดภัยลดลง รวมถึงทาให้เศรษฐกิจจีนชะลอตัว จาก
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตฉิ บับที่ 12 ยทุ ธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
และแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ระบุไว้ว่า “การพัฒนาจึงเน้นให้การท่องเท่ียวสามารถทารายได้และ
แข่งขันได้มากข้ึน” ดังน้ัน จึงต้องฟื้นตัวของจานวนนักท่องเที่ยวจากตลาดจีนให้สามารถกลับเข้าสู่
ภาวะปกติ และให้ความสาคัญกับการรักษาความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวท้ังในด้านชีวิตและ
ทรพั ย์สนิ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง
2.ดูแลเกษตรกรและผู้มีรายไดน้ อ้ ยและการสรา้ งความเข้มแขง็ ให้ SMEs และ
เศรษฐกจิ ฐานราก
เนื่องจากในปี 2561 ไดเ้ กดิ ปัญหาอทุ กภัย จากขอ้ มลู ปริมาณนา้ 4 เข่อื นหลักในเดือนสิงหาคม ปี 2561 แสดงให้
เห็นว่าปริมาณน้าฝนในปีน้ีมีมากกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน ทาให้มีพ้ืนท่ีการผลิตภาคเกษตรได้รับผลกระทจาก
ปัญหาอุทกภัยท่ีเกิดข้ึนนี้ จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน ระบุไว้ว่า “การพัฒนาจึงมุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถในการ
ปรับตวั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพ่ือลดความเส่ียงจาก
ภัยพิบัติและลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดจากสาธารณภัย” ดังนั้นจึงต้องให้ความสาคัญกับการ
ฟื้นฟูเกษตรกรทไี่ ด้รับผลกระทบจากปญั หาอทุ กภยั ท่ีเกิดข้ึน
3.ขับเคลือ่ นการส่งออกให้สามารถขยายตัวได้ตามเป้าหมาย
เนือ่ งจากเกิดความขัดแยง้ ทางการค้าระหว่างสหรัฐฯกับจีน ทาให้มีมาตรการต่างๆเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จน
ส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า และในปี 2561 การส่งออกสินค้าขยายชะลอตัวลงจากปีก่อนหน้า จาก
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและ
แข่งขันได้อย่างย่ังยืน ระบุไว้ว่า “การพัฒนาจึงเน้นให้เศรษฐกิจเติบโตได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ
ภาคสง่ ออกมกี ารพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็นกลไกสาคญั ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย” ดังนั้น
จึงควรใช้โอกาสจากมาตรการกีดกันทางการค้า โดยเฉพาะการขยายการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ และจีน
ในกลุ่มสินค้าที่สหรัฐฯ และจีน ปรับข้ึนภาษีนาเข้าระหว่างกัน โดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าเนื้อสัตว์แปรรูป
อาหารสัตว์ วัตถุดิบ คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ ส่วนประกอบ และช้ินส่วนยานยนต์ รวมถึงติดตามการ
เปล่ยี นแปลงของสินค้านาเขา้ สาคัญๆ ซ่งึ ได้รับผลกระทบจากการปรับเพ่ิมภาษีนาเข้าในสหรัฐฯ และจีน ซ่ึง
อาจเปลยี่ นทศิ ทางเขา้ มายังประเทศไทยมากขึ้น และการเตรยี มมาตรการรองรบั ในระดับทเ่ี หมาะสม
นอกเหนือจากแนวทางการบรหิ ารจัดการเศรษฐกจิ ท้ัง 3 ข้อ ที่มคี วามสอดคลอ้ งกบั
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติฉบับที่ 12 เพอื่ นาไปดาเนนิ การแก้ไขปัญหาทเ่ี กดิ ขึ้นแล้ว
ในปี 2561 การใชจ้ ่ายภาคเอกชนขยายตัวดที ง้ั การบรโิ ภคและการลงทนุ จงึ เกดิ แนวทางการบริหาร
คือ สนับสนนุ การขยายตวั ของการลงทุนภาคเอกชน เพื่อสามารถขับเคลื่อนโครงการลงทุนภาครฐั
ทง้ั ในดา้ นการลงทนุ ด้านโครงสร้างพนื้ ฐานและการพัฒนาพืน้ ทเ่ี ศรษฐกจิ อย่างต่อเน่ือง ซ่งึ
สอดคล้องกับแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขัน
ไดอ้ ย่างย่ังยนื
ภาวะเศรษฐกจิ ไทย ปี 2562
เศรษฐกิจโลกในภาพรวมปี 2562 ขยายตัวในอัตราท่ีต่าลงต่อเนื่องจากปีก่อน โดยหลาย
ประเทศ ได้รับผลกระทบจากปริมาณการค้าโลกท่ีชะลอตัว ซึ่งมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการกีดกันทาง
การค้าระหวา่ ง สหรฐั อเมริกาและจนี ทร่ี ุนแรงข้ึน ส่งผลใหภ้ าคการสง่ ออกและการผลิตหดตวั
นอกจากน้ี ความไม่แน่นอนของ สถานการณ์ต่าง ๆ ในช่วงที่ผ่านมา อาทิ การกีดกันทาง
การค้าระหว่างประเทศ การท่ีสหราชอาณาจักรจะออกจากสหภาพยุโรป (Brexit) ประกอบกับความ
เส่ียงด้านภูมิรัฐศาสตร์ท่ียังมีอยู่เป็นระยะส่งผลกระทบต่อความเช่ือมั่นและการลงทุนของภาคธุรกิจ
อยา่ งไรก็ดกี ารบรโิ ภคภาคเอกชนยงั เปน็ แรงขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ ท่สี าคัญ ในหลายประเทศ
เศรษฐกิจไทยปี 2562 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 จากปีก่อน โดยเป็นการขยายตัวในอัตราที่ต่ากว่า ระดับ
ศักยภาพและต่าลงจากปีก่อน จากอุปสงค์ต่างประเทศที่หดตัวต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงปลายปี 2561 ส่งผล
กระทบต่อเนื่องมายังอุปสงค์ในประเทศชัดเจนขึ้น โดยการส่งออกสินค้าหดตัวต่อเน่ืองในหลายหมวด
ตามการ ชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าและปริมาณการค้าโลกที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้ง
ทางการคา้ ระหวา่ งสหรัฐฯ และจนี
ขณะเดียวกันภาคการท่องเที่ยวขยายตัวลดลงจากปีก่อน ทั้งจานวนนักท่องเท่ียว
ต่างประเทศและค่าใช้จ่ายต่อทริป ซ่ึงเป็นผลจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และการแข่งขันด้าน
การท่องเท่ียวท่ีสูงข้ึนโดยเฉพาะจากประเทศเพื่อนบ้าน ส่งผลให้จานวนนักท่องเท่ียวจากยุโรป
หดตัวเป็นครัง้ แรกในรอบ 4 ปี
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปเฉล่ียอยู่ท่ีร้อยละ 0.7
และบัญชีเดินสะพดั เกนิ ดุลร้อยละ 6.8 ของ GDP
สาหรับอปุ สงคใ์ นประเทศ การบริโภคภาคเอกชนยงั ขยายตัวดี แต่มีทิศทางชะลอลงบ้างจากปัจจัย สนับสนุน
กาลังซ้ือท่ีแผ่วลงท้ังด้านรายได้และความเชื่อม่ันผู้บริโภคท่ีได้รับผลกระทบจากภาคการส่งออกท่ีหดตัว
ต่อเน่ือง โดยรายได้ท่ีลดลงส่งผลให้การใช้จ่ายสินค้าคงทนโดยเฉพาะรถยนต์หดตัวสูง นอกจากน้ีคุณภาพ
สินเช่อื เช่าซ้ือรถยนตท์ ด่ี อ้ ยลงทาให้สถาบันการเงนิ ระมัดระวงั การปลอ่ ยสินเชอื่ มากขึ้น
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตราเงินเฟ้อพ้ืนฐานเฉลี่ยท้ังปีต่าลงจากปีก่อนอยู่ท่ีร้อยละ 0.71 และ 0.52 ตามลาดับโดยอัตราเงินเฟ้อ
ท่ัวไปลดลงเนื่องจากราคาพลังงานปรับลดลงตามราคาน้ามันดิบในตลาดโลก รวมท้ังการแข็งค่าของเงินบาททาให้ต้นทุนการนาเข้า
พลงั งานถูกลง ขณะท่ีราคาอาหารสดขยายตัวเรง่ ข้ึน โดยเฉพาะราคาผัก ผลไม้ และข้าวท่ีปรบั สูงข้ึน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากภัยแล้งอตั รา
เงินเฟ้อพ้ืนฐานปรบั ลดลงตามต้นทุนการผลติ โดยรวมทต่ี า่ ลง ประกอบกบั อปุ สงค์ในประเทศทชี่ ะลอตวั ส่งผลให้การปรับขึ้นราคาสนิ ค้า
นอกจากนี้ อัตราเงินเฟ้อยังได้รับแรงกดดันจากปัจจัยเชิง
โครงสร้างท่ี เปล่ียนแปลงไป เช่น การขยายตัวของ
ธุรกิจอี-คอมเมิร์ซ การแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงข้ึน ด้านอัตรา
การว่างงานทรงตัวใกล้เคียงกับปีก่อน อย่างไรก็ดี การจ้างงาน
ปรับลดลง โดยเฉพาะการจ้างงานนอกภาค เกษตรกรรมที่
เก่ียวข้องกับภาคการผลิต เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการ
ส่งออกท่ีหดตัวต่อเน่ืองและการใช้ จ่ายภายในประเทศที่ชะลอ
ตัว นอกจากน้ี ผู้ประกอบการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจ้างงาน
จากรายเดือนเปน็ รายวันมากขึ้น
ด้านอัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทเทียบกับดอลลาร์ สรอ. เฉล่ียในปี 2562 แข็งค่าข้ึนจากปีก่อน จาก
ปัจจัยในประเทศของไทยเป็นสาคัญ ได้แก่ เสถียรภาพด้านต่างประเทศของไทยท่ีแข็งแกร่ง สะท้อนจาก
การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดและสัดส่วนเงินทุนสารองระหว่างประเทศต่อหน้ีต่างประเทศระยะส้ันที่อยู่ใน
ระดบั สูงตอ่ เนื่อง รวมท้งั สดั สว่ นหนีต้ า่ งประเทศตอ่ GDP ทตี่ ่า
แนวทางจัดการเศรษฐกิจปี 2562 ของรฐั บาล
การประสานนโยบายการเงินการคลัง การขบั เคลื่อนและฟน้ื ฟภู าคการ
ท่องเทยี่ ว
การขับเคลือ่ นการส่งออกให้
กลับมาขยายตวั ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ
2.0 (ไม่รวมทองคา)
แนวทางจดั การเศรษฐกิจปี 2562 ของรฐั บาล
การรกั ษาแรงขับเคลื่อนการขยายตวั จาก การสรา้ งความเชื่อมนั และสนับสนุนการ
การใช้จา่ ยและการลงทนุ ภาครฐั ขยายตัวของการลงทนุ ภาคเอกชน
การดูแลผมู้ ีรายไดน้ ้อย ผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ
จากภยั แล้ง การลดลงของนักทอ่ งเทยี่ ว
และการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ
ภาวะเศรษฐกจิ ไทย ปี 2563
เศรษฐกจิ ไทยปี 2563 ชะลอตัวต่ากว่าท่ีคาดและต่ากว่าศักยภาพ หดตัว
ร้อยละ 6.1 จากปีก่อน โดยเป็นการหดตัวในอัตราท่ีสูงใกล้เคียงกับ ช่วงวิกฤตต้ม
ยากุ้ง เป็นผลจากการแพร่ระบาดของโควดิ 19 มูลค่าการส่งออกสินค้าของไทยมี
แนวโน้มหดตัวร้อยละ 8.2 และมาตรการควบคุมการระบาดของภาครัฐ ส่งผลให้
กจิ กรรมทางเศรษฐกิจหลายภาคสว่ นหยุดชะงักตัวลง
ภาวะเศรษฐกิจไทยด้านต่าง ๆ พ.ศ.2563
• ผลกระทบจากโควิด-19 สร้างผลกระทบ • การประกาศใช้ พ.ร.บ.งบประมาณฯ หลังจากผลของมาตรการต่าง ๆ หมดลง
อยา่ งรุนแรงตอ่ การทอ่ งเทยี่ ว
ท่ลี ่าช้าและยังมีความไมแ่ น่นอนสงู แล้วคาดว่าการบริโภคภาคเอกชนจะมี
• ภาคการท่องเที่ยวในปีน้ีจึงเป็นการ • ส่งผลให้การลงทุนของภาครัฐท่ีเป็น
ปร ะคอ งตั วเพื่อ ความ อ ยู่ร อ ดโ ด ย แนวโน้มชะลอลงตามปัจจัยพ้ืนฐานด้าน
จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือด้าน การลงทุนใหม่ต้องเลื่อนออกไปและ
สภาพคล่องจากท้ังภาครัฐและสถาบัน รายได้ โดยเฉพาะรายได้จากภาคบริการท่ี
การเงนิ บ่ันทอนความเช่ือมั่นของภาคธุรกิจ
เ ก่ี ย ว เ นื่ อ ง กั บ ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ท่ี ไ ด้ รั บ
จนทาให้ภาคเอกชนบางส่วนชะลอ ผลกระทบรนุ แรงจากโรคไวรสั โควดิ -19
การลงทุนออกไปก่อน
การทอ่ งเทย่ี ว การลงทนุ การบรโิ ภค
อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉล่ีย เงินบาทเทียบดอลลาร์ สรอ. เฉลี่ยในปี 2563 อ่อนค่าลง
ท้ังปีอยู่ท่ีร้อยละ -0.85 และ 0.29 ตามลาดับ เล็กน้อยจากปีก่อนโดยการแพร่ระบาดของโควิด 19 ที่
สาหรับอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานปรับลดลงจากปีก่อน รุนแรงและกระจายเป็นวงกว้างในหลายประเทศ ทาให้
จากมาตรการลดค่าน้าประปาของภาครัฐ ประกอบ นักลงทุนลดการถือครองสินทรัพย์เส่ียงโดยเฉพาะสกุล
กับอุปสงค์ในประเทศอ่อนแอ ทาให้การปรับข้ึน เงินประเทศทีเ่ ศรษฐกิจพึ่งพาภาคต่างประเทศสูง และหัน
ราคาสินค้าและบริการในภาพรวมทาได้ยาก ด้าน ไปถือครองเงินดอลลาร์ สรอ. มากขึ้น สาหรับดัชนีค่าเงิน
ตลาดแรงงานได้รับผลกระทบรุนแรงจากการแพร่ บาท และดัชนีค่าเงินบาทท่ีแท้จริง อ่อนค่าลงเช่นกัน
ระบาดของโควิด-19 สะท้อนจากทั้งอัตราการ เน่ืองจากเศรษฐกจิ ไทยพ่งึ พาภาคการทอ่ งเทย่ี วในสัดส่วน
ว่างงาน จานวนผู้ขอรับสิทธิว่างงานและผู้ถูกเลิก ที่สงู กว่าหลายประเทศ ทาให้เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงิน
จา้ งในระบบประกันสงั คมทเ่ี รง่ ขนึ้ มาก สกลุ คูค่ า้ คูแ่ ขง่ สว่ นใหญ่
ดา้ นเสถยี รภาพ ดา้ นอตั ราแลกเปลยี่ น
เศรษฐกจิ และการเงนิ
ปัจจัยเสี่ยงซึ่งอาจทาให้อัตราการขยายตัวทาง
เศรษฐกจิ ตา่
การระบาดของโรคตดิ เชื้อ พัฒนาการของภาวะการค้า
ไวรสั โควิด-19 และการลงทนุ โลก
การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ พ.ศ.2563 ของรัฐบาลตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บบั ท่ี 12
การเงนิ อยใู่ นระดับผ่อนคลาย
มากข้นึ ในปี 2563
มาตรการเยียวยาและมาตรการ
กระตุ้นเศรษฐกจิ ในปี 2563
มาตรการเยียวยาและมาตรการ
กระตุ้นเศรษฐกจิ ในปี 2563
• ลดเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสงั คม ของนายจา้ งและลกู จา้ ง
• มาตรการเยยี วยากลุ่มแรงงาน ลกู จ้างชว่ั คราว
• งบจา้ งงาน สาหรบั การจ้างานประชาชนที่ไดร้ บั ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของ COVID-19 วงเงิน 2,700
ล้านบาท ระยะเวลาการจ้างงานไมเ่ กิน 6 เดอื น และอตั ราค่าจา้ งตอ่ เดอื นไม่เกิน 9,000 บาท
• มาตรการช่วยเหลอื บรรเทาผลกระทบต่อคา่ ครองชพี ประชาชน
• มาตรการลดคา่ ไฟฟ้าในอตั รา 3% ให้กบั ผู้ใชไ้ ฟฟ้าทุกประเภทเปน็ เวลา 3 เดือน
• มาตรการลดค่าน้าประปาในอตั รา 3% ใหก้ ับผูใ้ ชน้ ้าทุกประเภทเปน็ เวลา 3 เดือน
• สถานธนานเุ คราะห์ (สธค.) โรงรับจานาของรัฐในสังกดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์
หรอื พม. ขยายเวลาตั๋วจานา 90 วนั แก่ผมู้ าใชบ้ ริการวงเงนิ ไมเ่ กิน 10,000 บาท ทีม่ ตี ัว๋ จานาต้งั แต่วันที่ 3
ม.ค.-31 มี.ค.2563
• ยกเวน้ ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดาสาหรบั คา่ ตอบแทนในการเสีย่ งภัยของบุคลากรทางการแพทยแ์ ละ
สาธารณสขุ
• มาตรการดา้ นการเงนิ โครงการสนิ เชือ่ เพือ่ เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยสาหรับผ้มู อี าชีพอสิ ระท่ไี ดร้ ับผลกระทบ
จาก COVID-19, โครงการสนิ เชือ่ เพ่ือเป็นค่าใชจ้ า่ ยสาหรบั ผู้มีรายได้ประจาทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบจาก
COVID-19
• สิทธิประโยชน์ทางภาษี เพ่อื สนับสนุนการบรจิ าคแก้ไขปญั หาโรค COVID-19
• สินเชอ่ื พิเศษเพ่มิ เตมิ เพอ่ื เพิม่ สภาพคล่องช่ัวคราวในการดารงชวี ติ แก่ประชาชนทีม่ ีรายได้ประจา
• สนิ เชื่อฉกุ เฉนิ เพอ่ื เพม่ิ สภาพคลอ่ งช่ัวคราวในการดารงชีวติ แก่ประชาชนท่ีได้รับผลกระทบจาก
ไวรสั COVID-19
• ใหธ้ นาคารออมสนิ สนบั สนนุ เงินทุนดอกเบี้ยต่า 2,000 ล้านบาท โดยให้สานักงานธนานุเคราะห์
นาไปเป็นทนุ ปลอ่ ยก้ใู ห้ประชาชน คดิ อัตราดอกเบ้ยี ไมเ่ กนิ 0.125% ต่อเดือน ระยะเวลา 2 ปี
ภาคผนวก
Download —- >> แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12
พ.ศ.2560-2564
Download —->> สรปุ สาระสาคญั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ.2560-2564
Download — > – ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ฉบบั ประกาศราชกจิ จานเุ บกษา (.pdf)
Download — > – ยทุ ธศาสตรช์ าติ ฉบบั ยอ่ (ภาษาไทย)
Download — > – Mind Map ยทุ ธศาสตรช์ าติ
รายงานภาวะเศรษฐกิจไทย (รายปี)
โดย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
Download — > ภาวะเศรษฐกิจไทย ปี 2560
Download — > ภาวะเศรษฐกจิ ไทย ปี 2561
Download — > ภาวะเศรษฐกิจไทย ปี 2562
Download — > ภาวะเศรษฐกิจไทย ปี 2563
ภาวะเศรษฐกจิ รายไตรมาสและแนวโนม้ เศรษฐกจิ ไทย
โดย สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ
เศรษฐกิจมหาภาค (nesdc.go.th)
สมาชกิ ผู้นําเสนอ
คณะครศุ าสตร์ สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา หมเู่ รยี น 02
1. นายเจนวิทย์ ภญิ โญพิศุทธิ์ รหสั 040
2. นายมนัสนนั ท์ เวียงสมุทร รหัส 043
3. นายเอกรตั น์ เทพกมลธรรม รหัส 046
4. นายเฉลิมชยั พงึ่ ดี รหสั 049
5. นางสาวมัณฑนา หมืน่ ทพิ ย์ รหัส 051
6. นางสาวกาญจนา เบ็ญอาหะหมัด รหัส 053
7. นางสาวคนิสรถ์ า พละไกร รหัส 062