The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ด้านที่ 5มีนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jutipon249, 2022-05-31 21:40:14

ด้านที่ 5 นวัตกรรม

ด้านที่ 5มีนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์

คำนำ

ตามที่สำนักงาน กศน.จังหวัดยโสธร ดำเนินการประเมินคัดเลือก กศน.ตำบล ต้นแบบ 5ดี
พรีเม่ียม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อเป็ฯการพัฒนาและให้กำลังใจแก่คณะครูและบุคลากร
กศน.จังหวดั ยโสธร

เอกสารเล่มน้ีเป็ฯเอกสารประกอบการประเมินคัด คัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน.ตำบล 5 ดีพรี
เมี่ยม ประจำปีงบประมาณ 2565 ของ กศน.ตำบลสามัคคี ผู้จัดทำได้จัดเอกสารเป็น 2 ตอน
ประกอบด้วย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป และตอนที่ 2 ข้อมูลการประเมิน โดยแบบประเมินประกอบด้วย
ด้านที่ 1 ครูมีสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนท่ีมคี ุณภาพในระดับต่าง (Good teacher) ด้านท่ี 2
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของกศน.ตำบลดึงดูดความสนใจและเอ้อื ต่อการเรียนรู้ (Good Place Best
– check in ) ด้านท่ี 3 กิจกรรมการเรียนรู้การศึกษาข้ันพ้ืนฐานหรือการศึกษาต่อเน่ืองหรือการศึกษา
ตามอัธยาศัยมีความทันสมัยมีประสิทธิภาพในการบริการ ( Good Activities ) ด้านท่ี 4 ภาคีเครือข่าย
ส่งเสริมสนับสนนุ กิจกรรมการจัดการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ได้อย่างมีคุณภาพ (Good Partnership) ด้านท่ี 5
มีนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์สามารถนำไปใช้ได้จริง (Good Innovation ) เพ่ือให้มีประสิทธิภาพเกิด
ประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชมุ ชนโดยจะต้องนำรูปแบบการ
บริหารจดั การมาประยกุ ตใ์ หเ้ กดิ ผลเชงิ ประจกั ษ์ ประชาชนเกดิ ความรู้และการศกึ ษาตลอดชวี ติ

ผู้จัด ท ำขอขอบ พ ระคุ ณ ผู้ที่ มี ส่วน เก่ียวข้อ งใน การจัดท ำเอกส ารเล่มนี้ จน ส ำเร็จไป ด้วยดี
ขอขอบคุณ คณะครู กศน.ตำบลและบุคลากร กศน.อำเภอเลิงนกทา ที่ให้ความช่วยเหลือในการ
ดำเนนิ การจัดกจิ กรรม-โครงการ ให้กับผ้เู รยี น/ผรู้ บั บรกิ ารอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และภาคีเครือขา่ ยในการ
มีสว่ นร่วมจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

กศน.ตำบลสามัคคี

สารบัญ

คำนำ

หน้า

1. มีการนำเทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2

เพือ่ ใหช้ ุมชนเกดิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต

2. มกี ารทดลองพัฒนาโดยใช้กระบวนการปฎบิ ัติทีด่ ีเพ่ือสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้/

นวตั กรรมอาชีพ หรือนวัตกรรมอื่นทส่ี อดคล้องกับบริบทของชุมชนนัน้ ๆๆ อีกท้ังประชาชน

สามารถพัฒนาตนเองได้ พัฒนาชุมชนไดอ้ ย่างยั่งยนื 3

3. มกี ารนำนวัตกรรมท่เี กดิ จากการทดลอง การพัฒนามาใชห้ รอื เผยแพรผ่ ่านชอ่ งทางตา่ งๆ 4

4. มกี ารประเมนิ ผลการนำนวัตกรรมไปใช้ 5

5. มีแนวทางการพฒั นาหรอื ต่อยอด เทคโนโลยหี รอื นวัตกรรมทใ่ี ช้ในการเรียนรทู้ ี่

สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของชุมชน 6

ด้าน 5 Good Innovation 1

ดา้ น 5 มนี วตั กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์และสามารถนำไปใชไ้ ดจ้ ริง Good Innovation

ตัวช้ีวัด หลกั ฐาน

1. มกี ารนำเทคโนโลยหี รอื นวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ 1. มีเทคโนโลยี หรอื นวัตกรรมในการจัดการเรยี นรู้

ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื ใหช้ ุมชน 2. มสี ื่อ/อปุ กรณท์ ี่เหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย

เกดิ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ 3. รายงานการจัดกจิ กรรมการใช้เทคโนโลยีหรือ

2. มกี ารทดลองพัฒนาโดยใชก้ ระบวนการปฎิบัตทิ ดี่ ี นวัตกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนรู้

เพื่อสร้างนวตั กรรมการเรียนร/ู้ นวตั กรรมอาชพี 4. รายงานการตดิ ตามการนำเทคโนโลยีหรือ
หรือนวตั กรรมอืน่ ทีส่ อดคล้องกบั บริบทของชุมชน นวตั กรรมไปใช้
น้นั ๆๆ อกี ท้ังประชาชนสามารถพัฒนาตนเองได้ มกี ารเผยแพรเ่ ทคโนโลยหี รือนวัตกรรม ผ่าน
ช่องทางต่างๆ
พัฒนาชมุ ชนไดอ้ ย่างยั่งยืน
3. มกี ารนำนวัตกรรมทเี่ กดิ จากการทดลอง การ 6. ชิน้ งาน

พฒั นามาใชห้ รือเผยแพร่ผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ

4. มีการประเมนิ ผลการนำนวัตกรรมไปใช้

5. มีแนวทางการพัฒนาหรือตอ่ ยอด เทคโนโลยหี รอื

นวตั กรรมท่ีใชใ้ นการเรยี นรูท้ ส่ี อดคล้องกบั บรบิ ท

ของชุมชน

ดา้ น 5 Good Innovation 2

ด้าน 5
มนี วตั กรรมทีเ่ ป็นประโยชน์และสามารถนำไปใชไ้ ด้จริง

(Good Innovation)

ดา้ น 5 มนี วัตกรรมท่ีเป็นประโยชนแ์ ละสามารถนำไปใชไ้ ด้จริง Good Innovation

1. มีการนำเทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมมาประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเพอื่ ให้ชุมชนเกิดการ
เรยี นรูต้ ลอดชีวติ
กศน.ตำบลสามัคคี มีการนำเทคโนโลยี หรือนวตั กรรมมาประยุกตใ์ ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการ
สอน เพอื่ ใหช้ ุมชนเกดิ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต โดยใชเ้ ทคโนโลยี QR code มีหลักการทำงานคลา้ ยๆ กบั
Barcode ทอ่ี ยู่บนกล่องหรือผลิตภณั ฑ์ทั่วไป แต่การอ่าน Barcode จะตอ้ งใช้เคร่ืองสแกนยิงเลเซอร์ จากน้ัน
เครื่องสแกนก็จะแปลง Barcode เปน็ ข้อมลู สนิ ค้าช้ินนั้นไ ส่วนการอา่ น QR Code นนั้ สะดวกกว่า เพยี งใช้
โทรศพั ท์มือถอื ทีม่ ีกล้องและโรแกรม QR code Reader เพ่อื ใช้ถ่านภาพ QR Code จากนนั้ โปรแกรมจะ
ประมวลผล QR codeเป็นข้อมูลต้นบับ เช่น ข้อมลู ต่างๆ บทเรยี นออนไลน์ E book เปน้ ต้น แสดงผลบน
โทรศพั ท์มือถือไดโ้ ดยตรง ซ่งึ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองในการจัดการเรียนการสอน เพราะเทคโนโลยี รหัส QR
code เปน็ รูปแบบนวตั กรรมการศึกษาท่สี ามารถเช่ือมต่อสุ่องค์ความรู่ต่างๆ ได้ง่าย รวดเร็ว และทนั สมยั
เข้าถึงแหลง่ ข้อมลู คลังข้อมูลออนไลนค์ ือ เนื้อหาที่เข้าถึงได้งา่ ยผา่ นอินเทอร์เนต็ สามารถนำมาใช้ประโยชน์
ในการจัดการเรียนรู้กับผูเ้ รยี นตามบรบิ ทชมุ ชนได้จรงิ

QR Code ขอ้ สอบออนไลน์ QR Code E book

ทำหนังสือออนไลน์ E – book ผา่ นเว็บไซต์ https://anyflip.com/homepage/piiul/preview

ด้าน 5 Good Innovation 3

2. มกี ารทดลองพัฒนาโดยใชก้ ระบวนการปฎบิ ตั ทิ ่ดี ีเพื่อสร้างนวัตกรรมการเรยี นร/ู้ นวตั กรรมอาชพี หรอื
นวัตกรรมอนื่ ที่สอดคล้องกับบรบิ ทของชมุ ชนนน้ั ๆ อกี ทั้งประชาชนสามารถพัฒนาตนเองได้ พฒั นา
ชุมชนไดอ้ ย่างย่ังยนื
กศน.ตำบลสามัคคี ดำเนนิ การสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นร/ู้ อาชีพ/ทักษะ ท่สี อดคล้องกับบริบท
ของชุมชน อีกทัง้ ประชาชนสามารถพฒั นาชมุ ชนได้อย่างยง่ั ยนื ครูยคุ 5 G มกี ารพฒั นาความรู้ ตลอดจนการ
พฒั นาครูจากผู้ถ่ายทอด มาเปน็ ผ้แู นะนำและท่ีปรกึ ษาครูไดอ้ อกแบบการสอนแบบบรู ณาการใหท้ ้ังผ้เู รยี น
และตามบรบิ ทชุมชน ได้ลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ ดว้ ยการสรา้ งชิ้นงาน และเผยแพร่ความรู้และนวตั กรรมที่ไดส้ ู่
สาธารณชน โดยอาศยั เทคโนโลยีเขา้ มาใช้ในการจดั การเรียนร้แู ละการจดั สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ให้
เหมาะสมกบั ลักษณะของผู้เรียนยุคใหมท่ ่ีกระแสเทคโนโลยีพฒั นาอยา่ งไม่หยุดยงั้ จงึ ทดลอง พัฒนาโดย
กระบวนการปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
- สรา้ ง QR code สำหรบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานต่างๆ
- สร้างแบบทดสอบ
- สรา้ ง หนังสือออนไลน์ E book
- สร้าง QR code สำหรบั แหลง่ เรยี นรู้ Faceboofam pang
- สรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจผ้ใู ชบ้ รกิ าร

ลงมอื ปฏิบัตจิ ริงดว้ ยการสร้างชิ้นงาน และเผยแพร่ความรูแ้ ละนวัตกรรมที่ได้สู่สาธารณชน โดยอาศยั เทคโนโลยี
เขา้ มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรแู้ ละการจดั สภาพแวดล้อมการเรียนรใู้ หเ้ หมาะสมกับลักษณะของผ้เู รียนยคุ ใหม่ท่ี
กระแสเทคโนโลยพี ัฒนาอยา่ งไม่หยดุ ย้งั

ดา้ น 5 Good Innovation 4
3. มกี ารนำนวัตกรรมที่เกดิ จากการทดลอง การพัฒนามาใช้หรอื เผยแพรผ่ า่ นช่องทางต่างๆ

กศน.ตำบลสามคั คี มีการนำนวตั กรรมท่ีเกดิ จากการทดลอง การพัฒนามาใชห้ รือเผยแพร่ผ่านช่องทางตา่ งๆ
ดงั นี้ facebook กศน.สามัคคี สามคั ค,ี fan pang กศน.ตำบลสามคั ค,ี Line กศน.ตำบลสามคั คี งานจดั กิจกรรมตา่ งๆ

นกั ศกึ ษาเขา้ ทำข้อสอบออนไลน์ โดยครแู ชร์ QR Code หรอื ล้ิงค์ ในชอ่ งกลมุ่
ไลน์

ทำหนงั สอื ออนไลน์ E book เพือ่ เผยแพร่ผลการดำเนนิ งานต่างๆ

ด้าน 5 Good Innovation 5

4. มีการประเมนิ ผลการนำนวตั กรรมไปใช้

กศน.ตำบลสามคั คี ได้มกี ารนำนวัตกรรมไปใช้และประเมิน เปน็ ส่วนท่ีแสดงความสำเร็จของนวตั กรรม
ประกอบด้วย วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมือที่ใช้วดั ผล โดยใชแ้ บบสอบถามความพงึ พอใจและนำมาประมวลผล
เพราะการออกแบบนวตั กรรมการเรียนรู้ ผูอ้ อกแบบต้องคำนึงถึงความสำเรจ็ ของนวตั กรรม เพื่อให้นวตั กรรม
นัน้ สามารถนำมาใช้ได้ ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์หลัก คือเพื่อช่วยแกไ้ ขปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ ในการเรียนการสอนและ
เพิ่มความสามารถในการเรยี นรู้ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน

ด้าน 5 Good Innovation 6

5. มแี นวทางการพัฒนาหรือต่อยอด เทคโนโลยี หรือนวตั กรรมทใ่ี ช้ในการเรยี นรู้ท่ีสอดคลอ้ งกับบริบทของ
ชมุ ชน
กศน.ตำบลสามคั คี ได้มแี นวทางการพัฒนาหรือต่อยอด เทคโนโลยหี รือนวตั กรรมที่ใชใ้ นการเรยี นรู้ท่ี
สอดคล้องกับบริบทของชมุ ชนให้สะดวกและงา่ ยต่อชมุ ชนมากขน้ึ เพ่ือชว่ ยแก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ในการเรียน
การสอน และเพิม่ ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้มีประสิทธิภาพมากย่งิ ขนึ้

ด้าน 5 Good Innovation 7

ด้าน 5 Good Innovation 8

ด้าน 5 Good Innovation 9

ด้าน 5 Good Innovation 10

ด้าน 5 Good Innovation 11

ด้าน 5 Good Innovation 12

ด้าน 5 Good Innovation 13

ด้าน 5 Good Innovation 14

ด้าน 5 Good Innovation 15

ด้าน 5 Good Innovation 16

ด้าน 5 Good Innovation 17

ด้าน 5 Good Innovation 18

ด้าน 5 Good Innovation 19

ที่ปรึกษา ผูอ้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเลงิ นกทา
นายชวนชยั วิเวก ข้าราชการ ครู
นายวรชาติ โพธแิ ท่น ครู ผชู้ ว่ ย
นายอัชวี สวุ ะศรี บรรณารักษ์
นางกติ ตยิ า ดีผาย ครูอาสาสมัคร กศน.
นายดาวโรจน์ แสงวงศ์

ขอ้ มูล/ดำเนนิ การ
นางจุตพิ ร หาญลอื ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล

พมิ พ์/ออกแบบ/รูปเล่ม พนกั งานราชการ ครู กศน.ตำบล
นางจุตพิ ร หาญลอื

บรรณาธกิ าร ขา้ ราชการ ครู
นายวรชาติ โพธิแทน่ ครู ผชู้ ่วย
นายอชั วี สุวะศรี บรรณารกั ษ์
นางกิตติยา ดผี าย ครอู าสาสมัคร กศน.
นายดาวโรจน์ แสงวงศ์

ขอขอบคณุ
คณะครู บุคลากร กศน.อำเภอเลิงนกทา
ภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคสว่ น

ด้าน 5 Good Innovation 20


Click to View FlipBook Version