การวัดและประเมนิ ผล
๑. ตรวจผลงานาจากใบงาน
๒. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ
ลงชือ่
(นายไพฑรู ย์ วงศแ์ สน)
ครู กศน.ตำบลขามเฒ่าพัฒนา
ลงช่อื
(นายสมาน กลมกูล)
ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอกันทรวิชัย
แผนการจดั การเรียนรู้
กลุม่ สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชาโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร02006) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
แผนการจัดการเรยี นรู้ เรื่อง 2 การเขยี นรายงานโครงการ ระยะเวลา 6 ช่วั โมง
สัปดาห์ท่ี 17 วนั ที่ 17 เดือนกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2565 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
มาตรฐานการเรยี นรู้
มคี วามรูค้ วามเข้าใจทักษะและเจตคติทดี่ ตี ่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ตวั ชีว้ ดั
1. มีความรู้ความเข้าใจหลกั การและแนวคดิ โครงงานความหมายของโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรู้
ประเภทของโครงงานการเตรียมการทำโครงงานทักษะและกระบวนการในการทำโครงงานการดำเนนิ การ
ในการทำโครงงาน
2. มคี วามสามารถในการดำเนินการทำโครงงานและสะท้อนความคิดเห็นต่อโครงงาน
3. มเี จตคติทด่ี ี
เนื้อหา
1. หลกั การและแนวคดิ ของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้
2. ความหมายของโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้
3. การเตรยี มการทำโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้
4. ทักษะและกระบวนการท่จี ำเปน็ ในการทำโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (การหาข้อมูลการเลอื กใช้
ข้อมลู การจัดทำขอ้ มลู การนำเสนอข้อมูลการพัฒนาต่อยอดความรู้)
5. การดำเนนิ การในการทำโครงงานเช่นการพฒั นาแหล่งเรียนรู้การทำไดอารี่ออนไลน์
6. การสะท้อนความคดิ เห็นต่อโครงงาน
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น
1. นกั ศกึ ษาทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเร่อื งการเขียนโครงงาน
2. ครูและนักศึกษาร่วมกันสนทนาถึงการประกอบอาชีพการเกษตรในชมุ ชนและท้องถน่ิ บทบาทความสำคัญของ
การเกษตรทม่ี ีต่อชีวติ ประจำวันการพัฒนางานดา้ นการเกษตรโดยใชเ้ ทคโนโลยีและภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ที่ยึดหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
3. ครูและนกั ศึกษารว่ มกนั สนทนาถึงการเขยี นโครงงานทย่ี ึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ขนั้ สอน
1. แบ่งนกั ศึกษาออกเป็นกลมุ่ ( กลุ่มละ 4 - 5 คน )
2. นักศกึ ษาแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันอภปิ รายตามหวั ข้อดังน้ี
2.1 ขนั้ ตอนการทำโครงงาน
2.2 การเลอื กหัวข้อและการวางแผนการทำโครงงาน
3. แตก่ ลุม่ ส่งตัวแทนนำเสนอตามหัวข้อที่ทำการอภปิ ราย
4. ให้นกั ศึกษาศึกษาเน้ือหาจากใบความรูท้ ่ี 1 เรอ่ื งการเขียนโครงงาน
5. ครูแจกใบงานที่ 1
6. นักศึกษาแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกนั อภปิ รายและเขียนโครงงานตามชอื่ เรื่องท่ีร่วมกนั กำหนด
7. ครูให้ตัวแทนกลุ่มจบั สลากลำดบั การออกมานำเสนอหน้าห้องเรียนของนักศกึ ษาในแตล่ ะกลุม่
8. ตวั แทนนักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอโครงงานที่ได้ร่วมกันวางแผนและเขียนโครงงาน
9. ครแู ละนักศึกษารว่ มกันอภิปรายซักถามเกย่ี วกับโครงงานท่แี ตล่ ะกลมุ่ นำเสนอ
10. ครแู จกแบบการวเิ คราะห์การใชห้ ลักของเศรษฐกิจพอเพยี งตามกิจกรรมทป่ี ฏิบัติ
11. ใหน้ ักศกึ ษาแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั อภิปรายกิจกรรมที่ร่วมกันปฏิบตั ิแลว้ มีการใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างไรบ้าง
12. ให้ตัวแทนนกั ศกึ ษาแต่ละกลุม่ นำเสนอการวเิ คราะห์การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทีไ่ ด้ชว่ ยกัน
อภปิ รายตามใบงานที่ 2 หน้าหอ้ งเรียน
ขัน้ สรุป
1. ครทู บทวนหลกั การเขยี นโครงงานตามหวั ขอ้ ท่ีกำหนดในใบงานท่ี1 และมอบหมายใหน้ กั ศึกษาทำใบงานท1ี่
โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงนอกเวลาแล้วส่งตวั แทนของกลมุ่ มานำเสนอหน้าห้องเรยี นในชัว่ โมงถดั ไป
2. ครแู ละนกั ศึกษารว่ มกันสรุปการใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏบิ ัติงาน
3. ครูแนะนำให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำโครงงานทเี่ ขียนไปปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะและใหไ้ ปศึกษาข้อมลู เพิ่มเตมิ
ได้จากเวปไซต์
4. ครนู ัดหมายให้แตล่ ะกล่มุ สง่ โครงงานฉบับปรบั ปรุงในชัว่ โมงต่อไป
ส่ือการเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงานท1่ี เรอื่ งการเขียนโครงงาน
3. ใบงานที่ 2
4. แบบทดสอบก่อนเรียนหลงั เรยี น
การวดั และประเมินผล
๑. ตรวจผลงานาจากใบงาน
๒. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
ลงชอื่
(นายไพฑรู ย์ วงศแ์ สน)
ครู กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา
ลงชื่อ
(นายสมาน กลมกลู )
ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอกนั ทรวิชัย
แผนการจดั การเรียนรู้
กลุม่ สาระความรูพ้ ้ืนฐาน รายวชิ า การป้องกนั การทจุ ริต (สค 32036) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
แผนการจดั การเรียนรเู้ รือ่ ง 1 วเิ คราะห์การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมในชมุ ชน
ระยะเวลา 3 ช่ัวโมง
สัปดาหท์ ่ี 18 วันที่ 24 เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2565 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
มาตรฐานการเรยี นรู้
1. มีความรู ความเขาใจดําเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยกฎระเบียบของประเทศตาง ๆ ในโลก
2. มคี วามรู ความเขาใจหลกั การพฒั นาชมุ ชนสังคมสามารถวเิ คราะหขอมูลและเปนผูนําผูตามในการพฒั นาตนเอง
ครอบครัวชุมชนสงั คมใหสอดคลองกับสภาพการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณปจจุบนั
ตวั ชีว้ ดั 3
๑. มีความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม
๒. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๓. ตระหนักและเหน็ ความสำคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ ริต
สาระสาํ คญั
การที่เจาหนาทรี่ ัฐปฏิบัติหนาที่โดยคาํ นึงถึงผลประโยชนสวนตนหรอื พวกพองเปนหลักซึ่งเปนการกระทําที่ขดั ตอ
หลกั คณุ ธรรมจริยธรรมและหลกั การบรหิ ารกจิ การบานเมืองทด่ี ี (Good Governance)ซึ่งจะนาํ ไปสูการทจุ รติ ตอไปหาก
เจาหนาทีไ่ มมีการแยกแยะวาอะไรคือผลประโยชนสวนตนหรอื อะไรเปนผลประโยชนสวนรวมแลวยอมจะเกิด
ปญหาเกีย่ วกับผลประโยชนแนนอน
เนอ้ื หา
1. สาเหตุของการทจุ ริตและทศิ ทางการปองกนั และการทุจรติ ในประเทศไทย
2. ทฤษฎีความหมายและรปู แบบของการขัดกนั ระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม (โลก)
3. กฎหมายทเ่ี ก่ียวของกับการขดั กันระหวางผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนสวนรวม
4. การคดิ เปน
5. บทบาทของรฐั /เจาหนาที่ของรฐั ท่เี กย่ี วของกบั การปองกันปราบปรามเกี่ยวกับการทุจรติ
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขนั้ นำเข้าสู่บทเรียน
นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน ทบทวนความรเู้ ดิมของนกั ศกึ ษาโดยให้ผเู้ รยี นเลา่ ประสบการณห์ รือการรับรู้หรือการ
ไดย้ นิ ได้ฟังข่าวเหตกุ ารณ์เก่ียวกับบุคคลทนี่ ำของหลวงไปใชเ้ ป็นของตนเอง
ขนั้ สอน
1. นกั ศกึ ษาศกึ ษาใบความร้เู ร่อื งการคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. แบ่งกลุม่ นกั เรียนตามความเหมาะสมร่วมกันคดิ วเิ คราะหค์ วามรจู้ ากใบความร้เู รื่องการคิดแยกแยะระหว่าง
ผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมทีส่ ่งผลตอ่ ระดับประเทศ
3. นกั เรยี นอภปิ รายแสดงความคิดเห็นภายในกล่มุ ของตนเองจากใบความร้เู ร่ืองการคดิ แยกแยะระหว่าง
ผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมวา่ สง่ ผลต่อระดับประเทศอยา่ งไรบ้าง
4. ให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมาอภิปรายนำเสนอหนา้ ชั้นเรียนเรือ่ งการคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับ
ผลประโยชนส์ ่วนรวมว่าสง่ ผลต่อระดบั ประเทศอยา่ งไรบ้าง
ข้ันสรุป
1. นักเรียนสรุปความรู้ท่ีไดร้ ับทัง้ ความรเู้ ดิมและความรูใ้ หมแ่ ล้วช่วยกนั เขียนแผนผังมโนทศั น์จากนน้ั ครสู รุป
เพ่ิมเติม ดังน้ี
ผลประโยชนส์ ว่ นตนหมายถงึ ความสนใจตนเองการคำนงึ ถงึ ตนเอง
ผลประโยชน์ส่วนรวมหมายถึงการคำนงึ ถงึ ผลประโยชนส์ ่วนรวมและของชาตมิ ากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง
2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ แสดงความคดิ เห็นของแตล่ ะกลุ่ม
สื่อการเรยี นรู้
๑. แบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ใบความรูเ้ รื่องการคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม
3. กระดาษบรู๊ฟเขยี นแผนผงั มโนทศั น์
4. ปากกาเคมี
การประเมนิ ผล
๑. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน
2. ตรวจผังมโนทัศน์
3. การอภิปรายซกั ถาม
ลงชอ่ื
(นายไพฑรู ย์ วงศแ์ สน)
ครู กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา
ลงชือ่
(นายสมาน กลมกูล)
ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอกนั ทรวชิ ัย
แผนการจัดการเรยี นรู้
กล่มุ สาระความรพู้ ืน้ ฐาน รายวิชา การป้องกนั การทจุ รติ (สค32036) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง 2 ความแตกต่างระหวา่ งจริยธรรมและการทจุ ริต ระยะเวลา 3 ชวั่ โมง
สปั ดาหท์ ่ี 18 วันที่ 24 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
มาตรฐานการเรยี นรู้
1. มคี วามรู ความเขาใจดําเนินชีวิตตามวิถีประชาธปิ ไตยกฎระเบยี บของประเทศตาง ๆ ในโลก
2. มีความรู ความเขาใจหลกั การพัฒนาชุมชนสังคมสามารถวิเคราะหขอมลู และเปนผูนาํ ผูตามในการพฒั นาตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชนสงั คมใหสอดคลองกับสภาพการเปล่ียนแปลงของเหตุการณปจจุบนั
ตัวชว้ี ดั
1. อธิบายเกีย่ วกับรายละเอยี ดการทุจริตของประเทศไทย/โลกได
2. อธิบายความละอายและความไมทนตอการทจุ ริตได
3. สามารถคดิ วิเคราะหในการทํากิจกรรมทเ่ี ก่ยี วของไดถูกตอง
สาระสาํ คัญ
การทุจรติ ในทุกระดับกอใหเกิดความเสยี หายตอสังคมประเทศชาตจิ าํ เปนท่จี ะตองแกปญหาดวยการสรางสงั คม
ท่ไี มทนตอการทุจรติ โดยเริ่มต้ังแตกระบวนการกลอมเกลาทางสงั คมทุกชวงวยั ปฏิบัติตนตามกฎกติกาของสังคมในเร่ืองต
างๆเชนการทํางานท่ีไดรับมอบหมายการสอบการเลือกตั้งการรวมกลุมเพื่อสรางสรรคปองกนั การทุจรติ ได้
อยางถูกตอง
เนอ้ื หา
1. การทจุ ริต
2. ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้นั นำเขา้ สู่บทเรยี น
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สนทนาถงึ สถานการณ์การทุจรติ ในประเทศไทยโดยให้นกั เรียนศึกษาขอ้ มูลเชิงสถติ ิ
ภาพลกั ษณ์คอรร์ ปั ชนั ของประเทศไทยระหวา่ งป๒ี ๕๔๗-๒๕๖๐จากอินเทอรเ์ น็ตจากน้นั ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ
สถานการณ์การทุจรติ ในประเทศไทย
ขัน้ สอน
๑. ครแู บง่ นกั เรยี นออกเป็น๕กลุ่มตามความสมัครใจโดยให้นกั เรียนแบ่งบทบาทหนา้ ท่ีความรับผิดชอบภายในกลุ่ม
ของตนเอง
๒. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปสาระสำคัญเร่ืองความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริตในรูปแบบแผนผงั ความคดิ
(Mind mapping) ลงในกระดาษA๔ ตามประเด็น ดงั นี้
- ความหมายของการทุจริต
- รปู แบบการทจุ รติ
- สาเหตุของการทจุ รติ
- ระดับการทุจรติ ในประเทศไทย
๓. ครสู ่มุ นักเรยี น๒-๓กลุม่ นำเสนอแผนผงั ความคิด (Mind mapping) สรปุ สาระสำคัญเรอ่ื งความละอายและความไม่ทน
ตอ่ การทจุ รติ
๔. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรุปประเด็นตา่ งๆจากการนำเสนอแผนผังความคิด (Mind mapping)
สรุปสาระสำคัญเร่อื งความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
5. ครูแบง่ นกั เรียนออกเป็น ๕ กล่มุ ตามความสมัครใจโดยให้นกั เรียน แบ่งบทบาทหนา้ ที่ความรับผิดชอบภายในกลุ่ม
ของตนเอง นักเรยี นศึกษากรณตี วั อย่างผลทเี่ กดิ จากการทุจริตในประเทศไทย : คดีทุจริตจัดซ้อื รถและเรือดบั เพลิง
ของกรงุ เทพมหานครเพ่ือวเิ คราะหผ์ ลกระทบจากปญั หาการทจุ รติ ต่อประเทศไทย
6. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอการศกึ ษากรณีตัวอย่างผลที่เกิดจากการทุจรติ ในประเทศไทย:คดีทุจริตจัดซื้อรถและเรอื
ดับเพลิงของกรงุ เทพมหานคร
ขนั้ สรุป
1. นักเรยี นรว่ มกนั เสนอแนวทางการแก้ปัญหาการทจุ รติ ทเ่ี กิดขึ้นในประเทศไทยตามกรอบแนวคดิ ความละอาย
และความไมท่ นตอ่ การทุจริตโดยรว่ มกนั สรปุ เป็นแผนผงั ความคิด (Mindmapping) แล้วให้นกั เรียนบนั ทึกลงในสมุด
ของนักเรยี น
สอ่ื การเรยี นรู้
๑. กรณตี ัวอย่างผลทเ่ี กิดจากการทจุ รติ ในประเทศไทย:คดีทุจริตจัดซือ้ รถและเรือดับเพลิงของกรงุ เทพมหานคร
๒. หอ้ งสมุด
๓. อินเทอร์เน็ต
การประเมนิ ผล
๑. สงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานกลุ่ม
๒. ตรวจการนำเสนอผลงาน
ลงชอ่ื
(นายไพฑูรย์ วงศ์แสน)
ครู กศน.ตำบลขามเฒ่าพัฒนา
ลงชือ่
(นายสมาน กลมกูล)
ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอกนั ทรวิชัย
แผนการจดั การเรียนรู้
กล่มุ สาระความรู้พ้นื ฐานรายวิชา การป้องกนั การทจุ ริต (สค32036) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
แผนการจดั การเรียนรเู้ รอื่ ง 3 STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต ระยะเวลา 6 ชวั่ โมง
สัปดาหท์ ่ี 19 วนั ที่ 3 เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2565 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564
มาตรฐานการเรียนรู้
1. มีความรู ความเขาใจดําเนินชวี ิตตามวถิ ีประชาธปิ ไตยกฎระเบียบของประเทศตางๆในโลก
2. มีความรู ความเขาใจหลักการพัฒนาชมุ ชนสงั คมสามารถวิเคราะหขอมลู และเปนผูนาํ ผูตามในการพัฒนาตนเอง
ครอบครวั ชุมชนสังคมใหสอดคลองกับสภาพการเปล่ียนแปลงของเหตุการณปจจุบัน
ตัวชีว้ ดั
1. อธิบายเก่ียวกบั จติ พอเพียงตานการทุจรติ และปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. อธบิ ายแบบอยางความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชในหลวงรชั กาลท่ี9)
3. สามารถคดิ วิเคราะหในการทาํ กิจกรรมทเี่ กยี่ วของไดถูกตอง
สาระสำคัญ
การสรางประชาชนใหมีความตนื่ ตัวตอการทุจรติ มีการใหความสนใจตอขาวสารและตระหนักถงึ ผลกระทบของ
การทจุ ริตที่มีตอประเทศมีการแสดงออกถึงการตอตานการทจุ รติ ทง้ั ในชวี ิตประจาํ วนั และการแสดงออกผานสือ่ สาธารณะ
และส่ือสังคมออนไลนตางๆดงั น้นั ประชาชนในแตละชวงวัยจะตองไดรบั การกลอมเกลาทางสังคมวาดวยการทุจริตดงั น้ัน
หนวยงานทกุ ภาคสวนตองใหความสําคญั อยางแทจรงิ กับการปรบั ประยุกตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช
ประกอบหลักการตอตานการทุจริต
เนื้อหา
๑. การแกป้ ัญหาการทจุ ริตในสงั คมไทยโดยยึดหลกั STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจริต
๒. แนวทางการนำหลักSTRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจรติ มาพัฒนาสังคมไทย
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสูบ่ ทเรยี น
ครูและนกั เรยี นรว่ มกันทบทวนและสรุปการประยกุ ตห์ ลักพอเพยี งดว้ ยโมเดล STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต
ขนั้ สอน
๑. ครูแบง่ นักเรียนออกเปน็ ๕กลมุ่ ตามความสมคั รใจโดยให้นักเรยี นแบ่งบทบาทหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบภายในกล่มุ
ของตนเอง
๒. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ อภิปรายกรณีตวั อย่างการแก้ปัญหาการทจุ รติ ในสังคมไทยตามหวั ข้อของกลุม่ ตนเอง
โดยยดึ หลัก STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ ริต
3..นกั เรยี นสรุปผลการอภปิ รายกรณตี วั อย่างการแก้ปัญหาการทุจรติ ในสังคมไทยตามหัวข้อของกล่มุ ตนเอง
โดยยดึ หลัก STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทุจรติ ในรปู แบบแผนผงั ความคิด (Mindmapping) ลงในกระดาษชาร์ต
4. ครแู บง่ นักเรยี นออกเปน็ ๕กล่มุ ตามความสมัครใจโดยให้นกั เรียนแบง่ บทบาทหนา้ ที่ความรับผิดชอบภายในกลุม่
ของตนเอง
5. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ นำเสนอสรปุ ผลการอภิปรายกรณตี วั อย่างการแกป้ ญั หาการทุจรติ ในสงั คมไทยตามหัวข้อของกลมุ่
ตนเองโดยยึดหลกั STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทุจริตในรูปแบบแผนผังความคิด (Mind mapping)
6. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มระดมความคดิ เสนอแนวทางการนำหลกั STRONG :จิตพอเพียงต้านทจุ ริตมาพัฒนาสังคมไทย
ในรูปแบบแผนผังความคดิ (Mind mapping)
7. นกั เรียนแต่ละกลุม่ นำเสนอแนวทางการนำหลกั STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ รติ มาพฒั นาสังคมไทยในรปู แบบแผนผงั
ความคิด (Mind mapping)
ข้ันสรุป
1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปการแก้ปญั หาการทจุ รติ ในสงั คมไทยโดยยึดหลัก STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต
2. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปแนวทางการนำหลักSTRONG : จติ พอเพียงต้านทุจริตมาพัฒนาสังคมไทย
ส่อื การเรียน
๑. โมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ รติ
๒. หอ้ งสมุด
๓. อินเทอรเ์ นต็
การประเมินผล
วิธกี ารประเมนิ
๑. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลมุ่
๒. ตรวจการนำเสนอผลงาน
ลงช่ือ
(นายไพฑูรย์ วงศแ์ สน)
ครู กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา
ลงชอ่ื
(นายสมาน กลมกลู )
ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอกันทรวิชัย
แผนการจัดการเรยี นรู้
กลุ่มสาระความรูพ้ ้ืนฐานรายวชิ าการป้องกนั การทจุ รติ (สค 32036) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
แผนการจัดการเรียนรู้เร่อื ง 4 พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ระยะเวลา 3 ช่วั โมง
สปั ดาหท์ ่ี 19 วันที่ 3 เดอื นมนี าคม พ.ศ.2565 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
มาตรฐานการเรยี นรู้
1. มคี วามรู ความเขาใจดําเนินชวี ิตตามวถิ ีประชาธปิ ไตยกฎระเบียบของประเทศตาง ๆ ในโลก
2. มคี วามรู ความเขาใจหลักการพฒั นาชมุ ชนสังคมสามารถวิเคราะหขอมลู และเปนผูนาํ ผูตามในการพัฒนาตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชนสงั คมใหสอดคลองกับสภาพการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณปจจบุ นั
ตวั ช้ีวดั
๑. นักเรียนสามารถอภปิ รายความเปน็ พลเมืองในบรบิ ทต่างประเทศได้
๒. นกั เรียนสามารถนำข้อคดิ จากการศึกษาเก่ียวกับความเปน็ พลเมืองในบรบิ ทต่างประเทศ (ประเทศญ่ีปุ่น)
มาประยุกต์ใช้ในประเทศไทยได้
สาระสำคัญ
พลเมอื งเปนองคประกอบที่สําคัญของสงั คมไทยเชนเดียวกบั สังคมอนื่ ๆทุกสังคมยอมตองการพลเมืองท่มี ีคุณภาพ
ซึ่งหมายถงึ ความมรี างกายจติ ใจดคี ิดเปนทําเปนแกปญหาได มปี ระสิทธภิ าพและเปนกําลงั สาํ คญั ในการพฒั นา
ความเจริญกาวหนา ความมน่ั คงใหกับประเทศชาติ การเปนพลเมอื งทดี่ นี ้ัน ยอมตองมีการปฏิบตั ติ ามบรรทดั ฐานและ
ขนบธรรมเนียมประเพณีของสงั คมมีคุณธรรม เปนแนวปฏิบตั ใิ นการดาํ เนินชวี ิต เพ่ือการพฒั นาสังคมใหย่ังยืน
เนื้อหา
๑. การศึกษาเก่ียวกับความเป็นพลเมอื งในบริบทต่างประเทศ (ประเทศญ่ปี ุน่ )
๒. การนำขอ้ คดิ จากการศกึ ษาเก่ียวกับความเปน็ พลเมืองในบรบิ ทตา่ งประเทศ (ประเทศญปี่ ุ่น) มาประยุกตใ์ ช้ใน
ประเทศไทย
กระบวนการเรยี นรู้
ขนั้ นำเข้าสู่บทเรียน
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปการศึกษาเกย่ี วกบั ความเปน็ พลเมืองในประเดน็ ต่าง ๆ ดงั นี้
- ความหมายของพลเมอื ง
- ความหมายของการศึกษาเพ่ือสร้างความเป็นพลเมือง
- แนวคิดเกีย่ วกับการศกึ ษาเพื่อสรา้ งความเป็นพลเมือง
- องคป์ ระกอบของการศึกษาความเปน็ พลเมือง
ข้นั สอน
๑. ครูแบง่ นกั เรยี นออกเปน็ ๕กล่มุ ตามความสมัครใจโดยใหน้ ักเรยี นแบ่งบทบาทหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบภายในกลุ่ม
ของตนเอง
2. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สรุปการศึกษาเกย่ี วกบั ความเป็นพลเมืองในประเดน็ ต่าง ๆ ในรปู แบบแผนผงั ความคดิ
(Mind mapping) ลงในกระดาษชารต์
3. นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำผลงานตดิ หน้าชนั้ เรียน จากน้นั ให้นกั เรียนแต่ละคนนำกระดาษโน้ตชนดิ มกี าวในตวั
(Post it) โดยเขียนแสดงความคิดเหน็ และชื่นชมผลงาน แล้วนำไปตดิ ใหก้ บั ผลงานทีน่ กั เรยี นชนื่ ชมและประทับใจ
4. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรปุ การปฏิบตั งิ านของกลุ่มตา่ งๆและสรปุ การศึกษาเก่ียวกับความเปน็ พลเมอื งใน
ประเดน็ ต่างๆ
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาบทความของเลิศพงษ์อดุ มพงศ์เร่ืองการศึกษาเพื่อความเปน็ พลเมืองใน
การสง่ เสรมิ บทบาทของภาคพลเมืองในการเมอื งระบบตัวแทน : แนวทางทยี่ ่งั ยืนผ่านประสบการณ์จากต่างประเทศ
(ประเทศญปี่ นุ่ )
6.นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ศึกษากรณีที๑่ ทีส่ วนสนุกแหง่ หนึ่งเกิดเหตุการณ์ซ่งึ ทำให้นกั ท่องเที่ยวจำนวนมากไมส่ ามารถ
ออกไปขา้ งนอกไดแ้ ละทางรา้ นขายของก็ได้เอาขนมมาแจกนกั ท่องเท่ยี วมีนักเรยี นชั้นมัธยมปลายหญิงกลุม่ หนงึ่ ไปเอามา
เปน็ จำนวนมากซึ่งมากเกนิ กว่าท่จี ะบริโภคหมดข้าพเจ้ารู้สึกทนั ทีว่า “ทำไมเอาไปเยอะ”แตว่ ินาทตี ่อมากลายเป็น
ความรู้สึกตน้ื ตนั ใจเพราะ“เด็กกล่มุ นนั้ เอาขนมไปใหเ้ ด็กๆซึ่งพ่อแม่ไม่สามารถไปเอาเองได้เนือ่ งจากต้องอยู่ดูแลลกู จาก
บทความเร่ือง “เร่ืองราวดีๆของคนญี่ปนุ่ ยามภาวะฉุกเฉิน” (“เรอ่ื งราวดีๆ”, ๒๕๕๔)
7.นักเรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภิปรายบทบาทของการเป็นพลเมืองของประเทศญี่ป่นุ ขอ้ คิดจากการศึกษากรณีที่๑
และแนวทางการนำมาประยุกต์ใชใ้ นประเทศไทยในรปู แบบแผนผังความคดิ (Mind mapping) ลงในกระดาษชาร์ต
8.นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอผลการอภิปรายบทบาทของการเป็นพลเมืองของประเทศญี่ปุ่นและสรปุ ขอ้ คิดจาก
การศึกษากรณีที่๑และแนวทางการนำมาประยุกต์ใชใ้ นประเทศไทย
ขนั้ สรปุ
ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปบทบาทของการเปน็ พลเมืองของประเทศญ่ปี ุ่นข้อคดิ จากการศึกษากรณีท่ี ๑ และแนวทาง
การนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นประเทศไทย
ส่ือการเรยี น
๑. บทความของเลิศพงษ์อดุ มพงศ์เรื่องการศกึ ษาเพ่อื ความเป็นพลเมอื งในการส่งเสริมบทบาทของภาคพลเมอื ง
ในการเมืองระบบตัวแทน : แนวทางที่ยั่งยนื ผา่ นประสบการณ์จากต่างประเทศ
๒. บทความเรอื่ ง “เร่ืองราวดีๆของคนญป่ี นุ่ ยามภาวะฉุกเฉิน”
๓. หอ้ งสมุด
๔. อนิ เตอรเ์ น็ต
การประเมินผล
วธิ ีการประเมิน
๑. สังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานกลุ่ม
๒. ตรวจการนำเสนอผลงาน
ลงชือ่
(นายไพฑรู ย์ วงศแ์ สน)
ครู กศน.ตำบลขามเฒา่ พฒั นา
ลงชือ่
(นายสมาน กลมกลู )
ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอกันทรวชิ ัย