1
บทท่ี 1
บทนำ
หลกั การและเหตุผล
ยาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายท่ีต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจังท้ังนี้
เพราะปัญหายาเสพตดิ ทีม่ ีการแพรร่ ะบาดในทุกพ้ืนท่ีของประเทศไทยได้ทวีความรนุ แรงมากข้ึน ส่งผลกระทบตอ่ การ
พัฒนาประเทศ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดล้อม รวมทั้งทางด้านการเมืองและความม่ันคงของประเทศ
พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ในกลุ่มเยาวชนดื่มสุรา สูบบุหร่ี เที่ยวกลางคืน การพนัน การทะเลาะวิวาท ส่ือลามก
อนาจาร ฟุ่มเฟือย และวัตถุนิยมเกินฐานะ ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาซ่ึงเป็นพฤติกรรมเบ่ียงเบนที่สังคมไม่
ยอมรบั การป้องกันและแกไ้ ขปญั หาเปน็ สิง่ สำคัญประการหนงึ่ ของการพฒั นาทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ และสติปญั ญา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรวิชัย จึงได้จัดทำโครงการการป้องกัน
และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองของยาเสพติด ถึงปัญหา
ของวัยรุ่นที่ติดสิ่งเสพติด การป้องกันการติดยาเสพติด การรักษาผู้ติดยา และสถานบำบัดผู้ติดยาเสพติด เม่ือ
นักศกึ ษารับการฝกึ อบรมแลว้ จะสามารถนำความรูท้ ่ีได้นำไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและครอบครัว
วัตถุประสงค์
๑. เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดยาเสพตดิ ในสถานศึกษา และมีสว่ นรว่ มในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
๒. เพอื่ รณรงค์ต่อตา้ นยาเสพติดอยา่ งต่อเนอ่ื ง
กลุ่มเปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ นักศึกษาของตำบลขามเฒ่าพัฒนา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน ๒๐ คน และระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๒5 คน
เชงิ คณุ ภาพ รอ้ ยละ 80 ทเี่ ข้ารว่ มโครงการฯ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา และนำความรู้ไปปรบั ใช้ในชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม
วัตถปุ ระสงคข์ องการรายงาน
๑. เพอื่ สง่ เสรมิ ให้นักศกึ ษามสี ่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
๒. เพอ่ื ให้นักศึกษาตระหนกั ถงึ โทษของยาเสพติด และการป้องกันปฏบิ ัติตนให้พ้นจากยาเสพติด
๓. เพื่อส่งเสรมิ ให้นกั ศึกษาตระหนักถึงความสำคญั ของการสร้างความเข้มแข็งในชมุ ชนใหห้ ่างไกล
ยาเสพติด
ขอบเขตการรายงาน
1. รายงานโครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
2. ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงานโครงการ
วธิ กี ารดำเนินการ
1. ประชมุ วางแผนการจัดกจิ กรรม
2. เขียนโครงการ/ขออนมุ ัตโิ ครงการ
3. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนินงาน
4. จดั เตรียมงบประมาณ ส่ืออปุ กรณ์
5. ประสานหนว่ ยงานภาคเี ครือข่าย
6. เตรยี มกลมุ่ เปา้ หมาย
7. ดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการ
8. สรุปผล/ ประเมนิ ผล / รายงานผล
2
แหลง่ ข้อมลู
1. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ
2. สถานที่
3. เจา้ หนา้ ที่คณะผูด้ ำเนนิ งานโครงการ
ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1. นำผลการรายงานมาใช้ปรบั ปรุงการดำเนินการในครงั้ ต่อไป
2. ทราบขอ้ เสนอแนะและรปู แบบท่เี หมาะสมในการเขา้ ร่วมโครงการ
3. เพอื่ ให้นกั ศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจในการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ในสถานศึกษา
4. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นักศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษา
3
บทที่ 2
เอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง
ความหมายของยาเสพตดิ
ส่ิงเสพติดหรือท่ีเรียกกันว่า “ยาเสพติด” ในความหมายขององค์การอนามัยโลก (World Health
Organization หรือ WHO) จะหมายถงึ สิ่งท่ีเสพเข้าไปแลว้ จะเกดิ ความตอ้ งการท้ัง ทางรา่ งกายและจติ ใจตอ่ ไป โดย
ไม่สามารถหยุดเสพได้และจะต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้นเร่ือยๆ จนใน ท่ีสุดจะทาให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่อร่างกายและ
จติ ใจขึ้น สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติหรือ จากการสงั เคราะห์ ซ่ึงเม่ือเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยการ
กิน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการ ใดๆแล้ว จะทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่น มีความการ
ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้น เร่ือยๆ ของยา ท้ังยังมีลักษณะอาการอยากยาเม่ือขาดยา มีความต้องการเสพท้ังร่างกาย
และจติ ใจ อย่างรุนแรงและตอ่ เน่ือง รวมถงึ ทาใหส้ ุขภาพโดยท่วั ไปจะทรดุ โทรมลง
พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พทุ ธศกั ราช 2522 ทีใ่ ช้ในปจั จบุ ันไดก้ ำหนดความหมายสง่ิ เสพตดิ ให้โทษ
ดังน้ี ส่ิงเสพติดให้โทษ หมายถึง สารเคมหี รือวัตถุชนดิ ใดๆ ซึ่งเม่อื เสพเขา้ สู่รา่ งกายไมว่ ่าจะโดยรบั ประทาน ดม สบู
ฉีด หรอื ดว้ ยประการใด ๆ แล้วทำใหเ้ กิดผลต่อรา่ งกายและ จิตใจในลกั ษณะสำคญั เช่น ต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้น
เรอ่ื ยๆ มีอาการขาดยา เมื่อไม่ได้เสพมีความต้องการเสพท้ังทางร่างกายและจิตใจอย่างร่นุ แรงอย่ตู ลอดเวลา และทำ
ให้สขุ ภาพทรดุ โทรมลงตลอด ถงึ พืชหรือสว่ นของพืชท่เี ป็นหรือใหผ้ ลผลติ เปน็ ยาเสพติดให้โทษหรอื อาจใชผ้ ลิตเปน็ ยา
เสพตดิ ใหโ้ ทษ และสารเคมีท่ใี ช้ในการผลิตยาเสพตดิ ใหโ้ ทษด้วย ทัง้ นีต้ ามทร่ี ฐั มนตรีประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
แต่ไมห่ มายความถึงยาสามัญประจำบา้ นบางตำรบั ตามกฎหมายว่าด้วยยาที่มียาเสพตดิ ให้โทษผสมอยู่
ประเภทของยาเสพติด
ยาเสพติดได้แพร่ระบาดมาเป็นเวลานานนับศตวรรษตั้งแต่อดีตยุคดึกดาบรรพ์จนถึง ปัจจุบันนี้ มิอาจนับ
จำนวนชนิดที่ชัดเจนได้ แต่หากจะแบ่งเป็นประเภทแล้วตามพระราชบัญญัติ มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำ
ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 กับการแก้ไขปัญหายาเสพติดได้แบ่งประเภทของยาเสพติดไว้ตามลักษณะ
ดังน้ี
๑. แบง่ ตามลักษณะที่มา แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื ตามลกั ษณะทีม่ า (National Drugs) ได้แก่ ยา
เสพติดที่มาจากต้นพืชโดยตรง เช่น ฝ่ิน โคเคอีน กัญชา รวมท้ังยาเสพติดที่ปรุงแปรสภาพเป็นลักษณะอย่างอื่นด้วย
กรรมวิธีทางเคมีแล้วด้วย เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ซ่ึงทาจากฝ่ิน และยา เสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) ได้แก่
ยาเสพติดท่ีได้มาจากการปรุงข้ึน ด้วยกรรมวิธีทางเคมี โดยตรงและนำมาใช้แทนยาเสพติดธรรมชาติได้ เช่น เพซิดิน
ไพเซปโตน เมธาโดน เปน็ ต้น
2. แบ่งตามคุณสมบตั ิของการออกฤทธิ์ แบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท คือ ยาเสพตดิ ประเภทกดประสาท
(Depressant) ไดแ้ ก่ ฝ่ิน (Opium) มอรฟ์ ีน (Morphine) เฮโรอีน (Heroin) และ เซโคบาบิทาล (Secobarbital) ยา
เสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่แอมเฟตามีน (AmpheTamine) และโคเคน( Cocaine) ยาเสพติดประเภท
หลอนประสาท ได้แก่ กัญชา LSD, STP, DMTและยาเสพติดออกฤทธิ์ผสมผสาน เช่น กญั ชา เปน็ ต้น
การเสพยาเสพตดิ
ทรงเกียรติ ปยิ ะกะ (2542) ได้ให้ความหมายเก่ียวกับการเสพยาเสพติดมอี ยู่ 2 นยั สำคัญ คือ
1. การเสพผิด (Abuse) มีลักษณะสำคัญ คือ แบบแผนพฤติกรรมในการใช้ยาเสพติด แสดงออกโดยการ
ก่อให้เกิดความเสียหายทางสังคมอย่างชัดเจน ไม่มีการใช้ยาเสพติดซ้ำๆ ไม่มีการดื้อยาและอาการถอนพิษยา โดยมี
ข้อวินิจฉัยการเสพผิด โดยเกณฑ์ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน (Diagnostic Statistical Manual of Mental
Illness IV Edition หรือ DSM-IV) ให้ไว้ตั้งแต่หนึ่งข้อ ขึ้นไปภายในระยะเวลา 12 เดือนท่ีผ่านมา และอาการไม่เข้า
หลักเกณฑ์ของการวินิจฉัยการเสพติด ซึ่ง มีความหมายดังนี้ การใช้ยาเสพติดเป็นประจำจนทำให้ไม่สามารถทำงาน
4
สำคัญท่ีจำเป็น การศึกษาหรืองานบ้านได้มีการใช้ยาเป็นประจำในสถานการณ์ท่ีอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
และมีปัญหาทางกฎหมายอันเกดิ จากยาเสพติดนั้นอยู่เป็นประจำ ยังคงมีการใช้ยาเสพติดแมจ้ ะก่อให้เกิดหรือกระตุ้น
ปัญหาทางสังคมหรอื ปญั หาความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลขึน้ ตลอดหรือบ่อยๆ
2..การเสพติด (Dependence) มีการวินิจฉัยการติดยาเสพติดตามเกณฑ์ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกา
(DSM-IV) ว่าการใช้ยาเสพติดประกอบด้วยลักษณะ 3 ประการ จากท้ังหมด 7 ประการ ซึ่งเกิดขึ้นเป็นเวลาอย่าง
น้อย 12 เดือน ซ่ึงมีความหมาย ดังนี้ ดื้อยา กล่าวคือ มีความต้องการ ยาเสพติดเป็นปริมาณมากขึ้นกว่าปกติ ถ้า
ต้องการให้เกิดผลจากสารเสพติดเท่าเดิม มีอาการถอนพิษ ยาหรืออาการขาดยาเสพติดที่เคยเสพ คือ มีลักษณะ
อาการเฉพาะอย่าง อันเกิดจากยาเสพติดแต่ละชนิด ผู้เสพมิได้เจตนาเสพระยะเวลานาน หรือไม่ได้เจตนาเสพมาก
แต่ไม่สามารถปฏิบัติได้ตามท่ีต้ังใจไว้ และมีความต้องการต่อเนื่องท่ีจะเสพยาเสพติด โดยไม่สามารถลดหรือควบคุม
การใช้ยาเสพติดได้ ด้วยตนเองใช้เวลาส่วนมากไปกับกิจกรรมที่เกี่ยวเน่ืองกับยาเสพติด ได้แก่ การหายาเสพติดมา
เสพ เช่น เดินทางไปตามที่ต่างๆ เพ่ือหาแหล่งขายยา ใช้เวลาไปกับการเสพยาหรืออยู่ระหว่างการมึนเมายาเสพ
ตดิ ในดา้ นการงาน การเรียน สังคม หรอื กิจกรรมที่สร้างสรรคต์ ่างๆ เส่ือมถอย หรือสูญเสียไปยังคงใช้ สารเสพตดิ น้ัน
ตอ่ ไป แม้จะทราบว่าทำใหเ้ กดิ ปญั หาทางด้านรา่ งกายหรอื จติ ใจ เช่น ยงั ใชย้ าบ้าตอ่ ถึงแมจ้ ะทราบวา่ ทำให้เกดิ อาการ
ซมึ เศรา้ ถงึ ขนาดคิดฆ่าตัวตายได้ และอาจทำให้เกิดอาการทางจติ ได้
สาเหตุการติดยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาทางสาธารณสุข มีความเก่ียวพันกับสุขภาพท้ังทางกาย และจิตใจเป็นอย่างมาก
แต่จากการศึกษาวิจัยพบว่า สาเหตุของการติดยาเสพติดมีสาเหตุที่ผสมผสาน กันหลายประการ แต่หากมองในแนว
ระบาดวทิ ยาแล้ว พบวา่ ปจั จยั ท่ีทำให้เกดิ โรค มี 3 ประการ คอื
1. ตดิ เพราะฤทธข์ิ องยา เมอ่ื ร่างกายมนุษย์ได้รับยาเสพตดิ เขา้ ไป ฤทธข์ิ องยาเสพติด จะทำให้ระบบตา่ งๆ
ของร่างกายเปลย่ี นแปลงไป ซึ่งถ้าการใช้ยาไม่บ่อยหรือนานครง้ั ไม่คอ่ ยมีผลต่อร่างกาย แตถ่ ้าใช้ติดต่อเพยี งชัว่
ระยะเวลาหนง่ึ จะทำให้มผี ลตอ่ รา่ งกายและจิตใจ มลี ักษณะ 4 ประการ คือ
1.1 มีความต้องการอย่างแรงกล้าทจ่ี ะเสพยาหรือสารนั้นอีกตอ่ ไปเรื่อยๆ
1.2 มีความโน้มเอียงที่จะเพ่ิมปรมิ าณของยาเสพตดิ ขน้ึ ทุกขณะ
1.3 ถา้ ถงึ เวลาท่ีเกิดความต้องการแลว้ ไม่ไดเ้ สพ จะเกิดอาการอยาก ยา หรืออาการขาดยา เชน่
หาว อาเจยี น น้ำตาน้ำมกู ไหล ทรุ นทุราย คล้มุ คล่ัง โมโห ขาดสติ
1.4 ยาท่ีเสพนั้นจะไปทำลายสขุ ภาพของผู้เสพ ท้ังร่างกายทำใหซ้ ูบผอม มโี รคแทรกซ้อน และทาง
จิตใจเกดิ อาการทางประสาทจติ ใจไม่ปกติ
2. ติดยาเสพตดิ เพราะส่ิงแวดลอ้ ม
2.1 ภาพแวดลอ้ มภายนอกของบ้านที่อยู่อาศยั เต็มไปด้วยแหลง่ คา้ ยาเสพติด เชน่ ใกลบ้ ริเวณ
ศูนยก์ ารค้า หน้าโรงหนัง ซงึ่ เป็นการซ้อื ยาเสพติดทกุ รูปแบบ
2.2 สง่ิ แวดลอ้ มภายในบ้านขาดความอบอ่นุ รวมไปถึงปัญหาชีวติ คนใน ครอบครวั และฐานะทาง
เศรษฐกจิ สงิ่ แวดล้อมจะทำใหเ้ ด็กหันไปพง่ึ ยาเสพตดิ การขาดความเอาใจใส่ ดูแลจากพ่อแม่ และขาดการยอมรับ
จากครอบครวั เดก็ จะหนั ไปคบเพือ่ นร่วมกลุม่ เพ่ือต้องการความอบอุ่น สภาพของกลุม่ เพ่ือน สภาพของเพื่อนบ้าน
ใกลเ้ คยี ง
2.3 สง่ิ แวดลอ้ มทางโรงเรยี นเด็กมีปัญหาทางการเรยี น เนอื่ งจากเรียนไมท่ นั เพื่อนและครูกเ็ ป็น
ส่วนหนึ่งท่ที ำให้เด็กหนีโรงเรียนไปอย่ใู นส่งิ แวดลอ้ มทีต่ นพอใจ เป็นเหตใุ ห้ตกเป็นเหยื่อของการติดยาเสพติด
3. ติดเพราะความผิดปกติทางร่างกาย และจิตใจในสังคมท่ีวุ่นวายสับสน เปล่ียนแปลง รวดเร็ว เช่น
ปัจจุบันทำให้จิตใจผิดปกติง่าย หากเป็นบุคคลที่มีบุคลิกภาพอ่อนแอในทุกด้านทั้งอารมณ์ และสติปัญญา รวมท้ัง
ร่างกายไม่สมบูรณ์แข็งแรงก็จะหาส่ิงยดึ เหนียว จะตกเป็นทาสยาเสพติดได้ง่าย ผ้ทู ่ีมีอารมณ์ขวู่ ามไม่คอ่ ยยั้งคิดจะหัน
เข้าหายาเสพติด เพื่อระงับอารมณ์ขู่วามของตน เนื่องจากยาเสพติดมีคุณสมบัติในการกดประสาทและกระตุ้น
5
ประสาท ผู้มีจิตใจมั่นคงขาดความมั่นใจ มีแนวโน้มในการ ใช้ยาเพื่อบรรเทาความวติ กกังวลของตนให้หมดไป และมี
โอกาสติดยาไดง้ า่ ยกว่าผอู้ ื่น
ดังน้ัน สามารถสรุปได้ว่าการติดยาเสพติดอาจเกิดขึ้นได้ เน่ืองจากความอยากรู้อยาก ลอง ด้วยความคึก
คะนอง เพื่อนชวน หรือต้องการให้เป็นท่ียอมรับจากกลุ่มเพื่อน มีความเช่ือในทางท่ี ผิด เช่น เช่ือว่ายาเสพติดบาง
ชนิดอาจช่วยให้สบายใจ ลืมความทุกขห์ รือช่วยให้ทำงานได้มากๆ ขาดความระมัดระวงั ในการใช้ยา เพราะคุณสมบัติ
ของยาบางชนิดอาจทำใหผ้ ู้ใชย้ าเกิดการเสพติดได้ โดยไม่รู้ตวั หากใช้ยาอย่างพรา่ เพรื่อ หรอื ใช้ติดต่อกนั เปน็ เวลานาน
โดยขาดการแนะนาจากแพทย์ หรือ เภสัชกร สภาพแวดล้อมถิ่นท่ีอยู่อาศัยมีการค้ายาเสพติด หรือมีผู้ติดยาเสพติด
ถูกหลอกให้ใช้ยาเสพติด โดยรู้เท่าไมถ่ ึงการณเ์ พ่อื หนีปัญหา เมอื่ มีปญั หาแลว้ ไมส่ ามารถแก้ปญั หาใหก้ ับตวั เองได้
ผลกระทบจากการใชย้ าเสพตดิ
จรูญ จติ ตวิ ฒุ ิการ (2544) ไดแ้ บง่ ผลกระทบจากการใชย้ าเสพตดิ ได้ ดังนี้
1. ผลต่อตนเอง คือ มีผลกระทบทางด้านสุขภาพ และด้านจิตใจทำให้ผู้เสพมีสุขภาพ ร่างกายท่ีไม่ดี คือ
ร่างกายจะซูบซดี ผอมเหลอื ง เหลือแต่หนังหุ้มกระดูก ความคดิ การอ่านจะช้า ความจาเสื่อม ขาดสติ อาเจียน นอนไม่
หลับ เบ่ืออาหาร และจนในที่สุดถึงข้ันเสียชีวิตได้ อีกทั้งยังก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุได้ง่ายข้ึน ในการกระทำกิจกรรมต่าง ๆ
ทีเ่ กยี่ วข้องกับชีวิตประจำวนั คือ ปัญหา ทางด้านสุขภาพทาให้สภาพของผเู้ สพเส่ือมโทรมอย่างรวดเร็ว เพราะระบบ
ต่าง ๆ ของร่างกายจะถูกทำลายโดยพิษภัยของยาเสพติดทำให้เส่ือมลง มักจะมีปัญหาเจ็บป่วยด้วยโรคแทรกต่าง ๆ
เพราะความต้านทานโรคน้อยกว่าปกติ ติดเชื้อง่าย และอาจเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย เนื่องจากการควบคุมกล้ามเน้ือและ
ระบบประสาทบกพร่องและปัจจยั ทางด้านจติ ใจ ผู้ทีใ่ ช้ยาเสพติดจากเกดิ การติดเช้ือทางจิตใจ ทำใหม้ ีความรสู้ ึกว่าตน
ต้องพึ่งพาสารเสพติด เหล่านี้ตลอดเวลาทำให้เกิดความรู้สึกสูญเสียคุณค่าในตนเอง มองตนเองในทางลบรู้สึกหมด
หวงั ในชวี ิต ขาดแรงจูงใจท่ีจะดำเนินชีวิตในทางทดี่ ี
2. ผลต่อครอบครัว คือ เมื่อมีบุคคลในครอบครัวเข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติดจะส่งผลให้คนในครอบครัว
เดือดร้อน เสื่อมช่ือเสียงตนเอง และวงศ์ตระกูล ไม่มีความสุขในการใช้ชีวิต รวมถึงเป็นบุคคลที่ขาดความรับผิดชอบ
ต่อครอบครัว และเป็นแบบอย่างท่ีดีให้กับครอบครัวด้วยกัน เป็นต้น คือ ผู้ใช้ยาเสพติดจะขาดความรับผิดชอบต่อ
ครอบครัว จะมุ่งเพียงแต่หายาเสพติดมาเท่าน้ัน ทำงานไม่ได้เนื่องจากนายจ้างหรือหน่วยงานหมดความไว้วางใจทำ
ให้ขาดรายได้ อีกท้ังต้องใช้เงิน จำนวนมาก เพื่อซื้อยาเสพติดทำให้ครอบครัวประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นภาวะ
แก่ครอบครัวในทกุ ด้าน ญาติพนี่ อ้ งรงั เกยี จ
3. ผลต่อสังคม คือ ผู้ใช้สารเสพติดต้องใช้เงินจำนวนมาก เพ่ือนำมาซื้อยาเสพติด อาจจะก่อให้เกิดปัญหา
ทางอาชญากรรมได้ เช่น การลักขโมย การฉกชิงวิ่งราว นอกจากน้ีเม่ือเสพยาเสพติดอาจทำาให้มีอาการป่วยทางจิต
และทางประสาทได้ ผู้ทใ่ี ชย้ าเสพติดเปรยี บเสมือนบุคคลที่ไร้ สมรรถภาพเกดิ ปญั หาทางสุขภาพ ทำให้รฐั บาลตอ้ งเสีย
ค่าใช้จ่ายจำนวนมาก เพ่ือปอ้ งกัน ปราบปราม และบำบดั รักษาปัญหายาเสพติดจึงเป็นปัญหาท่ีเกิดขนึ้ กบั ชมุ ชน หรือ
ท้องถิ่นนั้น ที่ต้องร่วมมือกันเพราะถ้าชุมชนมีปัญหายาเสพติดจำนวนมากในพื้นที่ ก็จะทำให้ไม่ปลอดภัยในด้านชีวิต
และทรพั ยส์ นิ รวมถึงการเกิดอาชญากรรมในพืน้ ท่ีงา่ ยข้นึ
เจริง เนินหนู (2538) ได้กล่าวถงึ แนวทางในการป้องกันยาเสพติดและแก้ไขเม่ือติดยาเสพตดิ ไว้ดังนี้
การปอ้ งกนั ยาเสพติด
1. อยา่ ใช้ยาทุกชนดิ โดยมิได้รับคำแนะนำจากแพทยห์ รือเภสชั กร
2. ไมค่ วรลองยาเสพตดิ ทุกชนดิ
3. เอาใจใสด่ แู ลเด็ก บุคคลในครอบครัว เมื่อพบก็จะต้องนำไปบำบดั รักษา
4. รว่ มมอื กบั ทางราชการ
5. ส่งเสรมิ การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
6
วิธีการป้องกนั แก้ไขปัญหายาเสพติด
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยรัฐ ปัจจุบันนโยบายที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สามารถช่วยแก้ไขได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น จึงมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อการมองปัญหายาเสพติดว่าเป็นปัญหาทาง
สังคม ซึ่ง เกิดจากภาวะอ่อนแอ ครอบครัวและชุมชนที่ขาดภูมิคุ้มกันทางสังคม ซึ่งการป้องกันและแก้ไขของยา
เสพติดของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักนายกรัฐมนตรี สมารถสรุปว่าปัญหายา
เสพติดเป็นปัญหาสังคม ความสลับซับซ้อน เนื่องจากสังคม มีองค์ประกอบ 3 ประการ ท่ีเป็นสาเหตุของปัญหา คือ
ตัว บุคคล ยา และส่ิงแวดลอ้ ม ดงั นี้
1. ตัวบุคคล มนุษย์ท่ีดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมจะต้องประสบปัญหาอันเน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงหลายๆ
ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย ทางอารมณ์ ทางเศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ ทาง สังคม ผู้ที่ปรับตัวให้เข้ากับความ
เปล่ียนแปลงหรือสภาพน้นั ๆ ไม่ได้กจ็ ะมีพฤติกรรมเบย่ี งเบนไปจากความถูกตอ้ งของสงั คม
2. ยา ปจั จบุ ันมียาเสพติดชนิดตา่ งๆ อยู่มากมายทั้งที่ถูกกฎหมายและไมถ่ ูก กฎหมายโดยยาเองแล้วนั้นมิได้
กอ่ ให้เกดิ ปญั หาใด ๆ จนกวา่ คนจะนำยานนั้ ไปใช้ในทางท่ผี ิดจึงเกดิ ปัญหาจนอาจกลายเป็นผเู้ สพยาเสพติดได้
3. ส่ิงแวดล้อม มนุษย์จำเป็นต้องอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มสังคม ทุกคนจึงต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพของสังคม
และส่ิงแวดล้อมทตี่ นอาศัยอยู่ ซง่ึ สภาพแวดล้อมเหลา่ นี้มสี ่วนทำใหบ้ คุ คลหันไปใช้ยาเสพติดได้
ดงั นน้ั การป้องกันยาเสพตดิ ทีม่ ีประสิทธภิ าพควรยึดหลกั ในการป้องกันปญั หายาเสพติด โดยให้การปรบั ปรุง
ส่งเสริมทักษะในการตัดสินใจของแต่ละบุคคล การปรับปรุงส่ือข้อความ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การ
ปรับปรุงนิสัยทางสุขภาพและอนามัย การจัดข้อสนเทศท่ีมีความ แม่นยำเก่ียวกับเร่ืองยา การส่งเสริมให้เกิด
ความรู้สึกนับถือตนเอง การให้แสดงออกในด้านจินตนาการ ความสนใจ ความคิดสร้างสรรค์ การช่วยเหลือให้เรียนรู้
ในเร่ืองความโกรธ ความเสียใจ ความผิดหวัง และการระบุถึงทรัพยากรในชุมชนเพ่ือเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมใน ทาง
สง่ เสรมิ และสนบั สนุนของแตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมาย
7
บทที่ 3
วธิ ีดำเนนิ การ
การดำเนินการโครงการการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา
ได้ดำเนินการ 3 ขนั้ ตอน ดงั นี้
1. การเตรียมกอ่ นการเข้าอมรมโครงการ
2. การดำเนนิ การในระหว่างการจดั กจิ กรรม
3. การดำเนินการหลังการจดั กิจกรรมเสรจ็ ส้ิน
1. การเตรยี มก่อนการเข้าอบรม
1. ขออนมุ ัตโิ ครงการ
2. จัดทำแบบประเมินพึงความพอใจ
3. จดั เตรยี มสถานที่ / สอื่ อุปกรณ์ จดั โครงการฯ
2. การดำเนินการในระหว่างการจดั กิจกรรม
วันท่ี 26 มกราคม ๒๕๖5 การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนให้นักศึกษา กศน.ตำบลขามเฒ่าพัฒนา
1. อำนวยความสะดวกระหว่างการจดั กิจกรรม
2. มอบสื่อหนงั สอื ให้แก่นกั ศึกษา
3. การดำเนินการหลงั การจดั กิจกรรมเสร็จสิน้
1. กรอกแบบประเมินความพึงพอใจโครงการการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
2. รายงานผลการดำเนนิ โครงการการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
4. การดำเนนิ การหลงั การจดั กิจกรรมเสร็จสิน้
1. กรอกแบบประเมินความพึงพอใจโครงการฯ
2. ประเมนิ จากการมสี ่วนรว่ มของนักศึกษา
การประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรม
ใช้วธิ กี ารสงั เกต การมีส่วนร่วม การทำตามคำสั่งของครู ความสนใจในการฟังการสอน การมสี ่วนรว่ ม
การซกั ถาม และความรู้ความเข้าใจในการนำความรู้ทไ่ี ด้ไปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
การประเมินผลสนิ้ สดุ การอบรม
เมือ่ สิน้ สุดการอบรมโครงการไดม้ กี ารประเมนิ ผู้เข้าอบรมโดยใช้ประเมินความพึงพอใจให้ผ้เู ข้ารบั การอบรม
แสดงความคดิ เห็นในเรอื่ งต่างๆ คือ ส่ือ/อุปกรณ์ เน้ือหา/กจิ กรรม การบริหารจดั การและการทำแบบประเมินมา
วิเคราะห์สรุปการอบรม (นำเสนอในบทที่ 4)
เกณฑ์การผ่านการอบรม กำหนดใหผ้ ้เู ข้ารบั การอบรมมีเวลาเข้าร่วมในการอบรมกิจกรรม 100 %
ของเวลาอบรม
ประชากรท่ที ำการประเมนิ
นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา ทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 45 คน ทำการสมุ่ ในการประเมินตาม
แบบประเมินโครงการ จำนวน 27 คน
เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ
1. แบบประเมนิ โครงการสำหรบั ผเู้ ข้ารบั การอบรมเกี่ยวกบั ความคดิ เหน็ ของโครงการ คำถามปลายเปดิ
5 ตัวเลอื ก คอื ดีมาก มาก ปานกลาง นอ้ ย ปรบั ปรุง
2. การสังเกตพฤติกรรมผ้เู ข้ารับการอบรม โดย ครู กศน.ตำบล / ครู ศรช.
การวเิ คราะห์ข้อมลู
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลคร้งั น้ี โดยวเิ คราะห์หาคา่ สถิติพนื้ ฐาน คา่ ร้อยล
8
บทที่ 4
ผลการดำเนินการ
ผลการดำเนนิ งานโครงการการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษา เพ่ือให้ความรู้แก่นกั ศกึ ษา
และตระหนักถึงโทษของยาเสพติด และการป้องกนั ปฏบิ ตั ิตนให้พน้ จากยาเสพตดิ
การดำเนนิ การฝึกอบรม
1. ผู้เข้ารบั การเรียนรู้ ซ่ึงเปน็ นักศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และ มัธยมศึกษาตอนปลาย
กศน.ตำบลขามเฒ่าพัฒนา จำนวน 45 คน
2. ระยะเวลาในการฝึกอบรม วนั ที่ 26 มกราคม 2565 เป็นเวลา ๑ วัน
3. สถานท่ีใช้ในการฝึกอบรม พ้นื ท่ตี ำบลขามเฒ่าพฒั นา อำเภอกันทรวิชยั จงั หวดั มหาสารคาม
ผลการเขา้ คา่ ยฝกึ อบรม
กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ เข้าใจ การป้องกันยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพควรยึดหลักในการป้องกันปัญหายา
เสพติด โดยให้การปรับปรุงส่งเสริมทักษะในการตัดสินใจของแต่ละบุคคล การปรับปรุงส่ือข้อความ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การปรับปรุงนิสัยทางสุขภาพและอนามัย การจัดข้อสนเทศที่มีความ แม่นยำเกี่ยวกับ
เร่ืองยา การส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกนับถือตนเอง การให้แสดงออกในด้านจินตนาการ ความสนใจ ความคิด
สร้างสรรค์ การช่วยเหลือให้เรียนรู้ในเร่ืองความโกรธ ความเสียใจ ความผิดหวัง และการระบุถึงทรัพยากรในชุมชน
เพือ่ เสริมสรา้ งสิง่ แวดล้อมในทาง สง่ เสริมและสนบั สนนุ ของแต่ละกลมุ่ เปา้ หมาย
การประเมนิ การฝกึ อบรม
1. การศกึ ษาสภาพทัว่ ไปของผู้เข้ารบั การอบรม
2. การประเมินความคดิ เหน็ ของผู้รับการอบรมต่อการดำเนนิ โครงการ
วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน
๑. เพ่อื ให้ทราบถึงกลุม่ เป้าหมายเกิดการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา
ยาเสพตดิ
๒. เพื่อใหท้ ราบถึงโทษของยาเสพตดิ
3. เพ่อื นำข้อมูลที่ไดม้ าพัฒนาและปรับปรงุ แกไ้ ขในการจัดโครงการครั้งต่อไป
4. เพอ่ื นำข้อมลู ท่ีได้มาสรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ
ขอบเขตของการประเมนิ
1. กลุ่มเปา้ หมายผเู้ ขา้ รับการอบรม เปน็ นกั ศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น และ มธั ยมศึกษาตอนปลาย
กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา
๒. เนื้อหาการประเมนิ
2.1 การดำเนินงานโครงการ คอื ด้านสื่อ/อุปกรณ์ ดา้ นเน้ือหา/กจิ กรรม และด้านการบริหารจัดการ
2.2 ระหวา่ งฝกึ อบรมเป็นการประเมินพฤติกรรมของผูเ้ ขา้ รบั การอบรม คือ ความตรงต่อเวลา
ความรับผดิ ชอบ การรว่ มกจิ กรรม
กล่มุ ตัวอย่าง
กลมุ่ ตัวอยา่ งในการประเมนิ ครั้งนี้ เป็นนกั ศึกษาทเ่ี ข้ารว่ มโครงการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด
ในสถานศกึ ษา ในวนั ท่ี 26 มกราคม 2565 จำนวน 45 คน
9
เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้
เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการประเมินความพงึ พอใจ ท่ีสรา้ งขน้ึ 3 ด้าน ประกอบดว้ ย ดา้ นส่ือ/อปุ กรณ์
ด้านเนื้อหา/กจิ กรรม และด้านการบรหิ ารจดั การ การประเมินมี 5 ระดับ คอื ดีมาก มาก ปานกลาง น้อย
ปรับปรงุ
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดำเนนิ การโดยคณะกรรมการดำเนนิ โครงการเม่ือเสร็จส้ินการอบรมทกุ เน้ือหา
แจกแบบประเมนิ โครงการ ให้กบั ผเู้ ข้ารบั การอบรม จำนวน 45 คน
การวิเคราะห์ขอ้ มลู
1. ดา้ นส่อื /อปุ กรณ์ ด้านเนื้อหา/กิจกรรม และด้านการบริหารจัดการ ใชส้ ถติ ิรอ้ ยละ
2. ดา้ นพฤติกรรมโดยวิเคราะหแ์ บบพรรณนา
เกณฑก์ ารวดั ค่าตัวแปร (5)
แบ่งเปน็ 5 ระดบั (4)
- ดีมาก (3)
- มาก (2)
- ปานกลาง (1)
- นอ้ ย
- ปรับปรุง
เกณฑร์ ะดับความเห็นด้วยจากค่าเฉลย่ี
ค่าเฉลีย่ ตง้ั แต่ 4.50 ดีมาก
3.50 - 4.49 ดี
2.50 - 3.49 พอใช้
1.50 – 2.49 น้อย
1.50 นอ้ ยทีส่ ุด
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
การประเมนิ ผลการดำเนินงานโครงการเก็บรวบรวมแบบทดสอบและแบบสอบถาม แล้วนำมาวเิ คราะห์
ขอ้ มูล นำผลการประเมนิ พร้อมปญั หาอปุ สรรค และข้อเสนอแนะ เพ่ือใชใ้ นการฝึกอบรมในโครงการลกั ษณะ เช่นนี้
หรอื โครงการที่มลี ักษณะคลา้ ยคลงึ กัน
ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมที่มีตอ่ โครงการ จำนวน 27 คน โดยแสดงเป็นค่าสถิตพิ ื้นฐาน
ร้อยละ
10
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
เพศ ชาย ๑๖ คน คิดเป็น ๕๙.๒๖ %
หญิง ๑๑ คน คิดเปน็ ๔๐.๗๔ %
อายรุ ะหวา่ ง 16-30 ปี ๑๙ คน คิดเป็น ๗๐.๓๗ %
31-45 ปี ๖ คน คิดเป็น ๒๒.๒๒ %
46-59 ปี ๒ คน คดิ เป็น ๗.๔๑ %
60 ปีขนึ้ ไป - คน คดิ เปน็ - %
ระดับการศึกษา ประถม - คน คดิ เปน็ - %
ม.ต้น ๑๑ คน คิดเป็น ๔๐.๗๔ %
ม.ปลาย ๑๖ คน คิดเป็น ๕๙.๒๖ %
อนุปริญญา - คน คิดเปน็ - %
ปริญญาตรี - คน คดิ เปน็ - %
ตอนที่ 2 แสดงความคดิ เห็นขอ้ เสนอแนะในการจัดกจิ กรรม
ระดบั ความพึงพอใจ
รายการประเมิน ดมี าก ดี ปานกลาง น้อย ปรับ ค่าเฉลย่ี ระดบั
(5) (4) (3) (2) ปรงุ ความ
(1) พอใจ
๙
1. สอื่ /อุปกรณ์ (๓6) 4.๔3 ดี
๓๓.๓๓ % ดี
๑๒ ๑๒ ๖
(๔๘) ดมี าก
1.1 อุปกรณ์ /วัสดุ มคี วามเหมาะสม (๖๐) 4๔.๔๔ % (๑๘) - - 4.๒๒
๑๓ ดี
๔๔.๔๔ % (๕๒) ๒๒.๒๒ %
๔๘.๑๕ % ดี
1.2 ส่ือ /เอกสาร มีความเหมาะสม เนื้อหา ๑๕ - - - ๔.๕๖ ดมี าก
ตรงกับโครงการมากน้อยเพยี งใด (๗๕) ๑๒
๕๕.๕๖ % (๔๘)
4๔.๔๔ %
1.3 ครูสามารถแนะนำ และถา่ ยทอด ๑๔
ความรู้ แก่กลุ่มเป้าหมายได้อยา่ เหมาะสม (๗0) - - - ๔.๕๒
๕๑.๘๕ % ๔.๔๖
มากน้อยเพยี งใด
- - - ๔.๕๖
2. เน้อื หา /กิจกรรม ๑๕
(๗๕)
2.1 ทา่ นได้รบั ความรู้ ความเขา้ ใจ ๕๕.๕๖ %
เก่ยี วกับโครงการ มากน้อยเพียงใด
11
ระดบั ความพึงพอใจ
รายการประเมิน ดมี าก ดี ปานกลาง น้อย ปรบั ค่าเฉลีย่ ระดับ
(5) (4) (3) (2) ปรงุ ความ
(1) พอใจ
2.2 ท่านความตระหนกั และพัฒนา ๑๖ ๑๑ - - - ๔.๕๙ ดีมาก
คุณภาพชีวติ การป้องกันและแก้ไขปญั หายา (๘0) (๔๔)
เสพตดิ ในสถานศกึ ษา โดยนำความรู้ทีไ่ ด้รบั ๕๙.๒๖ % ๔๐.๗๔ %
ไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มากเพียงใด
2.3 ท่านสามารถนำความรทู้ ไ่ี ด้รับไป ๑๒ ๙ ๖
ถา่ ยทอดแก่คนรอบขา้ งได้มากเพยี งใด
(๖๐) (๓6) (๑๘) - - 4.๒๒ ดี
๔๔.๔๔ % ๓๓.๓๓ % ๒๒.๒๒ %
3. ดา้ นการบรกิ ารจัดการ 4.๕๔ ดมี าก
3.1 กระบวนการในการจดั กจิ กรรม ๑๔ ๑๓ - - - ๔.๕๒ ดี
มีความหลากหลาย (๗0) (๕๒)
๕๑.๘๕ % ๔๘.๑๕ %
๓.๒ ระยะเวลาในการจดั โครงการฯ ๑๗ ๑๐ - - ๔.6๓ ดีมาก
มคี วามเหมาะสม (๘๕) (๔๐)
6๒.๙๖ % ๓๗.๐๔ %
3.3 สถานทใ่ี นการจดั โครงการมคี วาม ๑๓ ๑๔ - - - 4.๔8 ดี
เหมาะสมเพียงใด (๖๕) (๕๖)
๔8.๑๕ % ๕๑.๘๕ %
๑๒๘ ๑๐๓ 1๒ ๔.๓๓
รวม (๖40) (๔๑๒) (๓๖) - - ๙๕.๐๖ ดี
5๒.๖๗% ๔๒.๓๙% ๔.๙๔% %
12
บทท่ี 5
สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ
สรปุ ผล
จากการดำเนนิ โครงการการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา จำนวน 45 คน เมอ่ื เสรจ็ สิ้น
โครงการฯ ทำการประเมินความพงึ พอใจของโครงการฯ โดยการสมุ่ จากผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯทง้ั ส้ิน จำนวน 27 คน
จากการสุ่มโดยนำข้อมลู มาวเิ คราะหห์ าค่าสถติ ิพนื้ ฐาน ค่าร้อยละ ( % ) ซึ่งการประเมินในครั้งน้ี พบว่าผ้เู ขา้ ร่วม
โครงการเป็นเพศชาย 59.26 % อายุระหว่าง 16-30 ปี จำนวน 19 คน คดิ เป็น 70.37 % และระดบั ม.ปลาย
16 คน คิดเปน็ 59.26 % ในการวิเคราะหแ์ ละสรุปข้อมูลผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ดี
(4.33) มีรายละเอยี ดดังนี้
1. ด้านส่อื / อปุ กรณ์ ในการจดั กจิ กรรมโครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับ ดี ( 4.43 )
1.1 อุปกรณ์ / วสั ดุ มีความเหมาะสม มคี วามพึงพอใจในระดับ ดี ( 4.22 )
1.2 สอ่ื / เอกสารตรงกับความต้องการของผู้เขา้ รับการอบรม มคี วามพงึ พอใจในระดับ ดมี าก (4.56)
1.3 ครูสามารถแนะนำ และถา่ ยทอดความร้เู ร่อื ง การป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
แก่กล่มุ เป้าหมายไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจในระดับ ดี ( 4.52)
2. ดา้ นเนอ้ื หา / กิจกรรม ในการดำเนินโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดับ ดี (4.46)
2.1 ท่านไดร้ บั ความรู้ ความเข้าใจ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษา มากพียงใด
มีความพงึ พอใจในระดบั ดีมาก ( 4.56 )
2.2 ทา่ นความตระหนัก และพัฒนาคุณภาพชีวติ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
โดยนำความร้ทู ี่ได้รบั ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีความพึงพอใจในระดับ ดีมาก ( 4.59 )
2.3 ท่านสามารถนำความรูท้ ่ีไดร้ บั ไปถา่ ยทอดแกค่ นรอบข้างได้มากเพียงใด มีความพึงพอใจในระดบั ดี
( 4.22 )
3...ดา้ นการบรกิ ารจดั การ ของโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดบั ดีมาก ( 4.54 )
3.1 กระบวนการในการจัดกจิ กรรมมีความหลากหลาย มคี วามพึงพอใจในระดบั ดี ( 4.52 )
3.2 ระยะเวลาในการจัดโครงการฯ มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดบั ดีมาก ( 5.63 )
3.3 สถานท่ใี นการจดั โครงการมีความเหมาะสม ในระดับ ดี ( 4.48 )
ข้อเสนอแนะ
- ไมม่ ี
การอภิปรายผล
จากการดำเนินความรู้โครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย
เป็นนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ของ กศน.ตำบลขามเฒ่าพัฒนา มีผู้เข้าร่วม
โครงการท้ังสิ้น 45 คน เมื่อเสร็จส้ินโครงการฯ ทำการสุ่มประเมินความพึงพอใจของโครงการฯ จำนวน 27 คน ผู้
ร่วมโครงการได้ศึกษาสื่อหนังสือ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เกิดการเรียนรู้ เข้าใจ ในการเข้าร่วม
โครงการฯ เป็นเพศชาย 59.26 % อายุระหว่าง 16-30 ปี จำนวน 19 คน คิดเป็น 70.37 % นักศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น 10 คน คิดเป็น 40.74 % ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 16 คน คิดเป็น 59.26 % ด้านส่ือ/
อุปกรณ์ มีความเหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้เข้ารับการอบรม และ ครูสามารถแนะนำ ถ่ายทอดความรู้เป็น
อย่างดี ระดับ ดี (4.43) ด้านเนื้อหา/กิจกรรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในโครงการฯ และพัฒนาคุณภาพชีวิต
โดยนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั สามารถนำความรทู้ ไี่ ด้รับไปถ่ายทอดแกค่ นรอบข้างได้ ระดบั ดี
(4.46 ) ด้านการบริหารจัดการ มีการจดั กระบวนการท่ีหลากหลาย ระยะเวลาและสถานท่ีมคี วามเหมาะสม ระดับ
ดมี าก (4.54)
13
คณะผู้จดั ทำ
ทีป่ รึกษา : ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอกนั ทรวชิ ัย
ครผู ้ชู ่วย
นายสมาน กลมกูล ครูอาสาสมัครฯ
นายวรี ชยั ใจมุ่ง ครูอาสาสมัครฯ
นายสทิ ธิศักดิ์ นามแสงผา
นางสาววไิ ลวรรณ อรรคเศรษฐัง
ข้อมูล / เรยี บเรยี ง :
นายไพฑรู ย์ วงศแ์ สน ครู กศน.ตำบล
นางสาวรัตนพร มัตตา ครูประจำศนู ย์การเรยี นชุมชน
นางอบุ ลรตั น์ ศรีสุภกั ดิ์ ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน
พิมพ์ / รปู เล่ม : ครปู ระจำศูนย์การเรยี นชมุ ชน
ครูประจำศูนย์การเรยี นชุมชน
นางสาวรัตนพร มตั ตา
นางอบุ ลรัตน์ ศรสี ภุ ักด์ิ
14
ก
คำนำ
เอกสารรายงานผลโครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ประจำภาคเรียนท่ี 2
ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ไดจ้ ัดทำข้ึนเพ่ือเป็นการสรปุ ผลการดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ การป้องกันและแก้ไขปญั หา
ยาเสพติดในสถานศึกษา สถานท่ีดำเนินกิจกรรม ณ พ้ืนที่ ตำบลขามเฒ่าพัฒนา อำเภอกันทรวิชัย จังหวัด
มหาสารคาม เป็นการอบรมให้ความรู้สำหรับนักศึกษา เพ่ือให้ความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติดในสถานศึกษา และตระหนักถึงโทษของยาเสพติด โดยเน้ือหาสาระของรายงานเล่มน้ีจะเป็นรูปแบบของ
การสรุปผลการดำเนินโครงการฯ และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการฯ ซึ่งผลการ
ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการฯ นี้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับประโยชน์ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หายาเสพติดในสถานศึกษา ระดับดี (๔.33)
หวังเปน็ อย่างยิง่ ว่ารายงานโครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา เลม่ นี้จะเปน็
ประโยชน์และเป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรมในโครงการตอ่ ๆ ไป
กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา
สารบัญ 15ข
คำนำ หนา้
สารบัญ ก
บทท่ี 1 บทนำ ข
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 1
บทท่ี 3 วิธีดำเนินการ 3
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ การ 7
บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ 8
ภาคผนวก 12
- คำสง่ั แต่งตงั้
- โครงการการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ
- รายชอ่ื นักศึกษาลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
- แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
- ภาพกิจกรรม
คณะผู้จดั ทำ