The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงตำบลขามเฒ่า2.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by konluang1, 2022-05-05 04:12:42

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงตำบลขามเฒ่า2.64

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงตำบลขามเฒ่า2.64

บทท่ี 1 ๑
บทนำ

๑. ชอื่ โครงการ การใชช้ ีวติ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง (กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง)
๒. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนนิ งาน กศน.

ภารกิจตอ่ เน่ือง ๑. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้

ประวตั คิ วามเปน็ มา

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดำรัส
ชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า๔๐ปีตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติเศรษฐกิจเพ่ือให้
ประชาชนสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ดังพระราชดำรัสท่ีกล่าวว่า “การพัฒนาประเทศ
จำเป็นต้องทำตามลำดับข้ันตอนตอ้ งสร้างพน้ื ฐานก่อนคือความพอมีพอกินพอใชข้ องประชาชนสว่ นใหญ่เป็นเบ้ืองต้น
ก่อน ”การขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียงมีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างเครือข่ายเรียนรู้ให้มีการนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นกรอบความคิดเป็นแนวปฏิบัติและเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิตของคนไทยในสถานการณ์
ปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบวิกฤติปัญหาจากการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา (โควิด – ๑๙) ท่ีส่งผล
กระทบในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม การเมืองการปกครองและด้านเศรษฐกิจที่ตกต่ำ ประชาชนตกงาน
ขาดรายได้ สง่ ผลกระทบต่อการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ของประชาชนทุกคนเปน็ อย่างมาก

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรวิชัย เป็นสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน
กศน.กระทรวงศึกษาธิการ เล็งเห็นความสำคัญจึงได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการดำรงชีวิต
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในการส่งเสริมและให้ความรู้แก่ประชาชนเพ่ือเป็นแนวทางใน
การวางแผนการดำเนินชีวิตในช่วงวิกฤติโรคระบาดนี้และเพ่ือให้การจัดกิจกรรมน้ีสอดคล้องกับ พ.ร.ก. การบริหาร
ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ ประกาศจังหวัดมหาสารคาม นโยบายและมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน
และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid –๑๙) ท่ีว่าให้มีการงดจัดกิจกรรมการประชุมหรือการชุมนุม
ท่ีเกิน ๒ คนขึ้นไป เพ่ือลดความเสี่ยงของการแพร่เชื้อและเป็นการตัดวงจรการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid – ๑๙) กศน.อำเภอกนั ทรวชิ ัย จึงใคร่จะดำเนินการจดั กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง กิจกรรมการศึกษา
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในรปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบรายบุคคล ภายใต้ช่ือ “โครงการ การใช้ชีวิตแบบ
เศรษฐกิจพอเพยี ง (กิจกรรมการเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง)”

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอื่ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้นักศึกษามีความรแู้ ละสามารถนำความร้ไู ปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ ง
พอมพี อกินพอใชแ้ ละลดค่าใชจ้ ่ายในครอบครวั
2. เพอ่ื ให้นกั ศึกษาได้รบั ความรู้ความเขา้ ใจปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การแลกเปล่ยี นเรียนรรู้ ่วมกนั
ของคนในชมุ ชน

กล่มุ เป้าหมาย ๒

เชงิ ปรมิ าณ นกั ศึกษา กศน.ตำบลขามเฒ่าพัฒนา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 20 คน และระดบั มธั ยมศึกษา

ตอนปลาย 42 คน

เชิงคณุ ภาพ นกั ศกึ ษาที่เข้ารว่ มโครงการฯ รอ้ ยละ 80 มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสูงขน้ึ

วัตถปุ ระสงคข์ องการรายงาน
๑. เพ่อื ให้กลุ่มเปา้ หมายมีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ มีความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ไปปรบั ใช้ใน
ชีวติ ประจำวันได้
2. เพอ่ื ให้นกั ศึกษาได้รบั ความรคู้ วามเข้าใจในโครงการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

วธิ กี ารดำเนินการ
1. ประชมุ วางแผนการจดั กจิ กรรม
2. เขียนโครงการ/ขออนมุ ตั ิโครงการ
3. แต่งตัง้ คณะกรรมการดำเนินงาน
4. จัดเตรยี มงบประมาณ ส่ืออุปกรณ์
5. ประสานหน่วยงานภาคเี ครือข่าย
6. ประสานกลุ่มเป้าหมาย
7. ดำเนินกจิ กรรมตามโครงการ
8. สรปุ ผล / ประเมินผล / รายงานผล

เครอื ขา่ ย/หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๑. กำนนั ผใู้ หญบ่ า้ น ผูน้ ำชมุ ชน

แหลง่ ข้อมูล
๑. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ
๒. สถานท่ี
๓. เจ้าหน้าที่คณะผ้ดู ำเนินงานโครงการ

ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั
๑. นำผลการรายงานมาใช้ปรับปรงุ การดำเนินการในครั้งต่อไป
๒. ทราบขอ้ เสนอแนะและรูปแบบท่เี หมาะสมในการเข้ารว่ มโครงการ

๓. ผู้เกยี่ วข้องสามารถประยกุ ตใ์ ช้ข้อมูลการดำเนินงานในการจดั กจิ กรรมท่ีคล้ายคลึงกันได้
๔. เพอ่ื ทราบผลการนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันของผู้เข้ารว่ ม

โครงการ



บทที่ 2
เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง

๑.โครงการจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ
๒.โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน

กปรชั ญา
…การพัฒนาประเทศจำเปน็ ต้องทำตามลำดับข้นั ต้องสรา้ งพ้นื ฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนสว่ น
ใหญ่เปน็ อนั พอควรและปฏบิ ัตไิ ด้แลว้ จงึ ค่อยสร้างค่อยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะเศรษฐกิจข้นั ทีส่ ูงขน้ึ โดยลำดับ
ต่อไป หากมุง่ แต่จะทุม่ เทสรา้ งความเจริญ ยกเศรษฐกิจข้นึ ให้รวดเรว็ แต่ประการเดียว โดยไม่ใหแ้ ผนปฏบิ ัติการ
สัมพนั ธ์กบั สภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึน้ ซึ่ง

อาจกลายเปน็ ความย่งุ ยากล้มเหลวได้ในทสี่ ุดดล

การเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกจิ พอเพียง

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำริช้ีแนะแนวทาง การ
ดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเม่ือ
ภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืนภายใต้กระแส
โลกาภวิ ตั น์และความ เปล่ียนแปลงตา่ งๆ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว
ระดับชุมชน จนถงึ ระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา
เศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง


ความจำเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิค้มุ กันในตวั ท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทง้ั ภายใน
ภายนอก ท้ังน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิงในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้
ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสตั ย์สุจริต และให้มี
ความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและ
พรอ้ มตอ่ การรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทง้ั ด้านวัตถุ สังคม สงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจาก
โลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง จงึ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้

๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ่ีไมน่ ้อยเกนิ ไปและไม่มากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผูอ้ ื่น เชน่
การผลิตและการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดบั พอประมาณ
๒. ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตัดสนิ ใจเก่ยี วกับระดบั ความพอเพียงนัน้ จะต้องเปน็ ไปอย่างมเี หตุผล โดยพิจารณา
จากเหตุปจั จัยท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนคำนงึ ถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ
๓. ภมู คิ ุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตวั ให้พร้อมรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านตา่ งๆ ท่ีจะเกิดข้นึ โดยคำนงึ ถงึ
ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกดิ ขึ้นในอนาคตโดยมี เง่ือนไข ของการตัดสินใจและดำเนนิ
กจิ กรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยู่ในระดบั พอเพยี ง
๒ ประการ ดังน้ี
๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบร้เู กย่ี วกบั วิชาการตา่ งๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องรอบดา้ น ความรอบคอบท่ีจะนำ
ความรเู้ หลา่ นน้ั มาพิจารณาให้เชอื่ มโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ัติ
๒. เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมี
ความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิตดังนั้น ก่อนการปลูกพืชผักแต่ละคร้ังเกษตรกรควรจะให้
ความสำคัญในการทดสอบความงอกของเมล็ดพันธ์ุพืชผักด้วยวิธีง่าย ๆ เพ่ือให้ทราบถึงปริมาณความงอกของเมล็ด
พันธุน้ัน ๆ และหากได้ทดสอบเมล็ดพันธ์ุก่อนท่ีจะตัดสินใจซ้ือมาปลูกได้ก็จะทำให้มีการตัดสินใจเลือกซื้อได้ตรงตาม


ความต้องการมากข้ึน ไม่ตอ้ งเส่ียงซ้ือเมล็ดพันธุ์ไม่ดี ไม่ต้องเสีย่ งลงทุนลงแรง และเสียเวลาไปโดยได้ผลตอบแทนท่ีไม่
คมุ้ คา่

ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเร่ิมต้นผลิต หรือบริโภคภายใต้ขอบเขต ข้อจำกัดของ
รายได้ หรอื ทรัพยากรที่มอี ย่ไู ปกอ่ น ซง่ึ ก็คอื หลักในการลดการพ่ึงพา เพมิ่ ขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตได้
ด้วยตนเอง และลดภ าวะการเสี่ยงจากการไม่สามารถควบคุมระบบตลาดได้อย่างมีประสิทธิภ าพ
เศรษฐกจิ พอเพียงมิใชห่ มายความถงึ การกระเบียดกระเสยี นจนเกินสมควร หากแต่อาจฟุม่ เฟือยได้เปน็ คร้งั คราวตาม
อัตภาพ แต่คนส่วนใหญ่ของประเทศ มักใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได้เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำไปสู่
เป้าหมายของการสร้างความมั่นคงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดยพื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม
เศรษฐกิจของประเทศจงึ ควรเน้นที่เศรษฐกิจการเกษตร เน้นความมั่นคงทางอาหาร เป็นการสร้างความม่ันคงให้เป็น
ระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเป็นระบบเศรษฐกิจท่ีช่วยลดความเสี่ยง หรือความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจในระยะ
ยาวได้ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไม่จำเป็นจะต้องจำกัด
เฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรัพย์ และการค้าการลงทุนระหว่าง
ประเทศ โดยมีหลักการท่ีคล้ายคลึงกันคือ เน้นการเลือกปฏิบัติอย่างพอประมาณ มีเหตุมีผล และสร้างภูมิคุ้มกัน
ใหแ้ กต่ นเองและสังคม

หลักเกษตรทฤษฎใี หม่

ทฤษฎีใหม่ คอื ตัวอยา่ งที่เป็นรูปธรรมของ การประยุกต์ใชเ้ ศรษฐกจิ พอเพียง
ที่เดน่ ชัดที่สดุ ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ได้พระราชทานพระราชดำรนิ ี้ เพอ่ื เป็น
การชว่ ยเหลือเกษตรกรทมี่ ักประสบปญั หาทงั้ ภยั ธรรมชาติและปจั จัยภาย นอกที่มผี ลกระทบต่อการทำการเกษตร ให้
สามารถผา่ นพ้นช่วงเวลาวกิ ฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำได้โดยไม่เดอื ดร้อนและยากลำบากนกั
ความเสีย่ งทีเ่ กษตรกร มักพบเป็นประจำ ประกอบดว้ ย
๑. ความเสีย่ งดา้ นราคาสินคา้ เกษตร

๒. ความเสี่ยงในราคาและการพ่ึงพาปัจจยั การผลติ สมัยใหม่จากตา่ งประเทศ ๖
๓. ความเส่ยี งดา้ นนำ้ ฝนทิง้ ชว่ ง ฝนแลง้
๔. ภัยธรรมชาติอืน่ ๆ และโรคระบาด
๕. ความเสี่ยงด้านแบบแผนการผลิต
- ความเสีย่ งดา้ นโรคและศตั รูพืช
- ความเสี่ยงด้านการขาดแคลนแรงงาน
- ความเส่ียงด้านหนีส้ นิ และการสญู เสยี ท่ดี ิน

๔. ขึน้ แปลงสำหรบั ปลูกผักตามความตอ้ งการ พชื ผกั บางชนดิ ทป่ี ลูกเปน็ หลุม การขึ้นแปลงอาจจะไม่
จำเปน็ ควรขดุ หลมุ ใหม้ ีระยะปลูกเหมาะสมกบั ชนดิ ของผัก ควรใช้
ปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมักผสมคลกุ เคล้ากบั ดนิ ก่อนทีจ่ ะขึ้นแปลงหรือใชป้ ๋ยุ รองก้นหลุมสำหรบั การปลูกผกั ยนื ตน้

โดยประมาณ ฉะนนั้ เมื่อทำนา ๕ ไร่ ทำพชื ไร่ หรือไมผ้ ลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็น ๑๐ ไร)่ จะต้องมีนำ้ ๑๐,๐๐๐ลกู บาศก์
เมตรตอ่ ปี
ถงึ เวลาแลว้ ที่พวกเราทกุ คนควรร่วมมอื รว่ มใจ กนั ปฏิบัติตามแนวพระราชดำรเิ ศรษฐกิจพอเพยี งของในหลวงต้งั แต่
ยงั เด็ก แลว้ จะติดเป็นนสิ ยั ความพอเพียงไปตลอดชวี ิต สามารถนำไปพัฒนาตน พัฒนาประเทศชาติให้เจริญ กา้ วหน้า
เป็นบุคคลที่มีคณุ ภาพ เปน็ คนดขี องสังคม

ด้าน …การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง…
เศรษฐกิจ …ระดบั บุคคลและครอบครัว…

ลดรายจ่าย เพมิ่ รายได้ ใช้ชวี ิตอย่างพอควร คดิ และวางแผนอย่าง
รอบคอบ มภี มู คิ ุ้มกันไม่เส่ียงเกินไป การเผอ่ื ทางเลือกสำรอง



ด้านจิตใจ มจี ิตใจเข้มแขง็ พ่ึงตนเองได้ มจี ติ สำนึกท่ดี ี เอื้ออาทรประนปี ระนอม
นกึ ถงึ ผลประโยชน์สว่ นรวมเป็นหลกั
ดา้ นสงั คม
ชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู กัน รู้รกั สามัคคี สร้างความเขม้ แขง็ ให้ครอบครัวและ
ดา้ น ชุมชน
ทรพั ยากร
ธรรมชาติ รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ เลอื กใช้ทรัพยากรทม่ี ีอยู่
อยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชนอ์ ยา่ งสูงสดุ ฟน้ื ฟูทรัพยากรเพ่ือให้เกดิ ความ
และ ย่งั ยนื สูงสดุ
ส่งิ แวดล้อม
รู้จกั ใชเ้ ทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและ
ดา้ น สภาพแวดล้อม (ภมู ิสงั คม) พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมปิ ัญญาชาวบา้ นเอง
เทคโนโลยี ก่อน ก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก

แนวทางการใช้ชวี ติ อย่างพอเพยี ง

๑. เพิ่มรายได้ ลดรายจา่ ย
๒. ฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ – ลิสต์รายการ
ของทจ่ี ำเปน็ ตอ้ งซ้ือ และเลอื กซื้อสนิ ค้าทีค่ ุ้มค่าและมีประโยชน์
๓. จดบัญชีรายรับรายจ่ายอยา่ ง
สมำ่ เสมอ
๔. มเี ป้าหมายในการออม จากนั้น
จึงกำหนดรายจา่ ยในแตล่ ะวัน แล้วจงึ ประหยัดรายจ่ายด้วยการจ่ายนอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากับเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้

“ความสุขความเจริญอนั แทจ้ ริง หมายถงึ ความสุข ความเจริญ ที่บคุ คลแสวงหา
มาได้ด้วยความเปน็ ธรรมทงั้ ในเจตนาและการกระทำ ไม่ใช่ไดม้ าด้วยความบังเอิญหรอื
ดว้ ยการแก่งแย่งเบียดบงั จากผู้อนื่ ”

▪ มงุ่ เนน้ หาขา้ วหาปลา ก่อนม่งุ เน้นหาเงนิ หาทอง
▪ ทำมาหากนิ ก่อนทำมาคา้ ขาย
▪ ภูมปิ ญั ญาชาวบ้านและทด่ี นิ ทำกิน คอื ทุนทางสังคม
▪ ต้ังสตทิ ่มี นั่ คง รา่ งกายทีแ่ ขง็ แรงปญั ญาท่ีเฉยี บแหลม

ข้อเสนอแนะ
เศรษฐกจิ พอเพียงจะดำเนินไปไดด้ ี ดว้ ยการ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนปฏิบตั ิตาม
ทีข่ อใหอ้ ย่าลืมท่จี ะปฏิบัติในเร่ือง ความขยัน ประหยัด ซ่ือสตั ย์ อดทน ปฏบิ ตั ติ นเป็น
คนดี ดำเนนิ ชีวติ แบบเรียบงา่ ยให้พอเพยี ง พอกนิ และพอใช้ โดยยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง



เศรษฐกจิ พอเพยี งเร่ิมท่ตี ัวเอง

การนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้น้ัน ขั้นแรก ต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือ พยายามพ่ึงตนเองให้ได้ก่อน
ในแต่ละครอบครัวมีการบริหารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย สมาชิกในครอบครัวแต่ละคนต้องรู้จัก
ตนเอง เช่น ข้อมูล รายรับ-รายจ่าย ในครอบครัวของตนเอง สามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตน ไม่ให้เป็นหน้ี
และร้จู กั ดึงศกั ยภาพในตัวเองในเรอ่ื งของปัจจัยส่ใี หไ้ ด้ในระดับหนึ่ง

การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือ ดำเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่าง
สมดลุ คือ มีความสุขทแ่ี ท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้องเบียดเบียนตนเอง หรอื ดำเนินชวี ิตอย่างเกนิ พอดี จนต้อง
เบียดเบียนผอู้ ื่น หรอื เบยี ดเบียนสิง่ แวดล้อม โดย

- ยดึ หลัก พออยู่ พอกิน พอใช้
- ยึดความประหยดั ตดั ทอนค่าใชจ้ ่าย ลดความฟมุ่ เฟือยในการดำรงชพี
- ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความถกู ต้องและสจุ รติ
- ละเลิกการแกง่ แยง่ ผลประโยชน์และแขง่ ขนั ในการคา้ ขาย
- ม่งุ เน้นหาขา้ วหาปลา กอ่ นมุ่งเนน้ หาเงินหาทอง
- ทำมาหากนิ กอ่ นทำมาคา้ ขาย
- ภมู ปิ ัญญาชาวบ้านและท่ีดินทำกิน คือ ทุนทางสงั คม
- ต้งั สตทิ ม่ี ัน่ คง รา่ งกายที่แข็งแรง ปญั ญาทเ่ี ฉียบแหลม นำความรู้ ความเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซึ้ง เพ่อื ปรับวิถีชวี ติ สู่
การพัฒนาท่ีย่ังยืน



บทที่ 3
วธิ ดี ำเนนิ การ

การดำเนินการโครงการ โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาชมุ ชน ตำบลขามเฒ่าพัฒนา
ไดด้ ำเนินการ 3 ขน้ั ตอน ดังนี้

1. การเตรียมกอ่ นการเข้าอมรมโครงการ
2. การดำเนนิ การในระหว่างการจัดกิจกรรม
3. การดำเนนิ การหลังการจัดกจิ กรรมเสรจ็ สน้ิ

1. การเตรยี มก่อนการเขา้ อบรม
1. ขออนุมตั โิ ครงการ

2. การดำเนนิ การในระหวา่ งการจัดกจิ กรรม
๑. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกันทรวิชัย
๒. กศน.ตำบลขามเฒ่าพัฒนา ๑ แหง่
๓. ศรช. ๒ แห่ง

3. การดำเนินการหลังการจดั กจิ กรรมเสร็จสน้ิ
1. กรอกแบบประเมนิ ความพงึ พอใจโครางการ โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาชุมชน ตำบลขามเฒา่ พัฒนา

การประเมนิ ผลระหว่างการจัดกจิ กรรม
ใช้วธิ กี ารสงั เกต การมีสว่ นร่วม และความรคู้ วามเขา้ ใจในการนำความรูท้ ่ีได้ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั

การประเมินผลสิ้นสดุ การอบรม
เมอื่ ส้ินสดุ การอบรมโครงการได้มกี ารประเมนิ ผู้เข้าอบรมโดยใช้ประเมินความพึงพอใจ

ใหผ้ ้เู ขา้ รบั การอบรมแสดงความคิดเหน็ ในเรื่องตา่ งๆ คือ สอ่ื /อปุ กรณ์ เนอ้ื หา/กิจกรรม การบริหารจัดการ
และการทำแบบประเมนิ มาวิเคราะหส์ รปุ การอบรม ( นำเสนอในบทที่ 4 )

เกณฑ์การผ่านการอบรม กำหนดใหผ้ ู้เข้ารบั การอบรมมเี วลาเขา้ ร่วมในการอบรมกิจกรรม 100 %
ประชากรทีท่ ำการประเมนิ

นกั ศึกษาและประชาชนทวั่ ไปในตำบลขามเฒา่ พัฒนา ท่ีเขา้ ร่วมโครงการ จำนวน ๙ คน และทำการสุ่ม
ในการประเมินตามแบบประเมินโครงการ จำนวน ๙ คน

เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ
1. แบบประเมนิ โครงการสำหรบั ผ้เู ขา้ รับการอบรมเกย่ี วกบั ความคิดเหน็ ของโครงการ คำถามปลายเปดิ

5 ตัวเลือก คือ ดีมาก มาก ปานกลาง นอ้ ย ปรับปรุง
2. การสงั เกต โดยครู กศน.ตำบลขามเฒ่าพัฒนา และครูศรช.

การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
การวิเคราะห์ข้อมลู ครั้งน้ี โดยวิเคราะหห์ าคา่ สถติ พิ นื้ ฐาน คา่ ร้อยละ ( % )

๑๐

บทที่ 4
ผลการดำเนินการ

ผลการดำเนินงาน โครงการ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาชมุ ชน
( การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง )สรปุ ผลการดำเนินงาน ดงั นี้
การดำเนินการ
1. ผู้เขา้ รับการเรียนรู้ ซึง่ เปน็ ประชาชนทวั่ ไป กศน.ตำบลขามเฒ่าพฒั นา จำนวน ๙ คน

2. ระยะเวลาในการฝึกอบรม วนั ที่ 4 มถิ ุนายน 2564 เปน็ เวลา 1 วัน
3. สถานทใี่ ชใ้ นการฝึกอบรม ณ กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา

อำเภอกนั ทรวชิ ัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 1 ตำบล
ผลการการดำเนินการ

1. นักศกึ ษาและประชาชนท่ัวไป ที่เขา้ ร่วมโครงการฯ มีความรู้ และความเขา้ ใจ สามารถนำหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้

2. ผเู้ ขา้ รบั การอบรมสามารถนำเอาความรู้ทไ่ี ดร้ บั ไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน โดยประเมินจาก
แบบประเมนิ โครงการฯ และการมสี ่วนรว่ มของกิจกรรม

3. ผเู้ ข้ารว่ มโครงการสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ไปเผยแพร่ประยุกตใ์ ช้กิจกรรมในชุมชนได้อย่างเหมาะสม

การประเมินการดำเนินการ
1. การศึกษาสภาพทวั่ ไปของผเู้ ข้ารับการอบรม
2. การประเมินความคิดเห็นของผูร้ ับการอบรมต่อการดำเนนิ โครงการ

วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน
๑. เพอ่ื สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ประชาชนสร้างความม่ันคง ในแหลง่ ทำกนิ ดา้ นการเกษตร เลี้ยงสตั ว์ ส้กู ับภยั

แลง้ ดินขาดความอดุ มสมบูรณ์ ใหท้ ันกลับมาอดุ มสมบูรณ์ โดยปรบั ปรุงพนื้ ท่ี รองรับฝนธรรมชาติ และการเช่ือมโยง
วงจรชวี ติ พืช สัตว์ ให้เดินทางร่วมกนั ได้

๒. เพอื่ สง่ เสริมสนบั สนุนให้ประชาชนมคี วามรู้และสามารถนำความรู้ไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวัน

ขอบเขตของการประเมนิ
1. กลมุ่ เป้าหมายผูเ้ ข้ารับการอบรม เป็นประชาชนทว่ั ไป กศน.ตำบลขามเฒา่ พฒั นา
2. เนื้อหาการประเมนิ
2.1 การดำเนินงานโครงการ คือ ด้านสื่อ/อุปกรณ์ ด้านเน้ือหา/กิจกรรม และดา้ นการบรหิ าร
จัดการ
2.2 ระหว่างฝึกอบรมเป็นการประเมินพฤติกรรมของผเู้ ข้ารบั การอบรม คอื ความตรงต่อเวลา
ความรับผิดชอบ การรว่ มกิจกรรม

๑๑

กลุ่มตวั อยา่ ง
กล่มุ ตวั อย่างในการประเมนิ ครงั้ น้ี เป็นประชาชนทว่ั ไปทร่ี ว่ ม โครงการ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาชมุ ชน

( การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ) ในวันที่ 4 มถิ ุนายน 2564 จำนวน ๙ คน

เครอ่ื งมือท่ีใช้
เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมนิ ความพงึ พอใจ ทสี่ รา้ งข้นึ 3 ดา้ น ประกอบดว้ ย ด้านสอ่ื /อุปกรณ์

ดา้ นเน้ือหา/กิจกรรม และด้านการบรหิ ารจัดการ การประเมนิ มี 5 ระดบั คือ ดีมาก มาก ปานกลาง น้อย
ปรับปรงุ

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การเก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินการโดยคณะกรรมการดำเนินโครงการเมื่อเสรจ็ สนิ้ การอบรมทกุ เนื้อหา

แจกแบบประเมนิ โครงการ ใหก้ บั ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 9 คน
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู

1. ด้านส่อื /อุปกรณ์ ดา้ นเนื้อหา/กจิ กรรม และด้านการบรหิ ารจดั การ ใชส้ ถิตริ ้อยละ
2. ดา้ นพฤติกรรมโดยวเิ คราะหแ์ บบพรรณนา

เกณฑ์การวดั ค่าตัวแปร

แบ่งเปน็ 5 ระดบั

- ดมี าก ( 5 )

- มาก ( 4 )

- ปานกลาง ( 3 )

- นอ้ ย ( 2 )

- ปรับปรุง ( 1 )

เกณฑ์ระดับความเห็นด้วยจากค่าเฉลย่ี

คา่ เฉลย่ี ต้งั แต่

๔.๕ ดีมาก

๓.๕ – ๔.๔ ดี

๒.๕ – .๔๕ พอใช้

๑.๕ – ๒.๔ นอ้ ย

นอ้ ยกวา่ ๑.๕ นอ้ ยทส่ี ุด

๑๒

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การประเมินผลการดำเนินงานโครงการเกบ็ รวบรวมแบบทดสอบและแบบสอบถาม แล้วนำมาวิเคราะห์

ข้อมูล นำผลการประเมินพร้อมปญั หาอปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ เพื่อใชใ้ นการฝกึ อบรมในโครงการลักษณะเชน่ นี้
หรือโครงการท่ีมลี กั ษณะคล้ายคลึงกัน

ความคดิ เห็นของผเู้ ข้ารบั การอบรมที่มีตอ่ โครงการ จำนวน 9 คน โดยแสดงเป็นค่าสถิตพิ น้ื ฐานร้อยละ
ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไป

เพศ ชาย 1 คน ๑๑.๑๑ %
หญิง 8 คน ๘๘.๘๙ %

อายุระหวา่ ง 16-30 ปี - คน - %
31-45 ปี - คน - %
46-59 ปี 9 คน 100 %
60 ปขี ึ้นไป - คน - %

ระดับการศกึ ษา ประถม ๗ คน ๗๗.๗๘ %
ม.ตน้ ๒ คน ๒๒.๒๒ %
ม.ปลาย - คน - %

๑๓

ตอนท่ี 2 แสดงความคดิ เห็นข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรม

ระดบั ความพึงพอใจ

รายการประเมิน ดมี าก ดี ปานกลาง น้อย ปรับ ค่าเฉล่ยี ระดับ
(5) (4) (3) (2) ปรุง ความ
(1) พอใจ
ดีมาก
1. ส่อื /อุปกรณ์ 4.48
ดี
1.1 อุปกรณ์ /วัสดุ มคี วามเหมาะสม ๓๖ - - - 4.๓๓
(๑๕) (๒๔) ดี
33.33 % 66.67 %
ดมี าก
1.2 สอื่ /เอกสาร มีความเหมาะสม เน้ือหา 4 5 - - - 4.44
ตรงกบั โครงการท่ที ำ มากน้อยเพยี งใด ( 20 ) ( ๒๐ ) ดีมาก
44.44 % 55.56% ดี

1.3 ครูสามารถแนะนำ และถ่ายทอด ๖๓ ดมี าก

ความรู้เร่ือง โครงการจดั และสง่ เสริมการจัด ( ๓๐ ) ( ๑๒ ) - - - ๔.๖๗ ดี

การศึกษาตลอดชวี ิตฯ แกก่ ลุ่มเป้าหมายได้ 66.67 % 33.33 %

อยา่ เหมาะสมเพยี งใด

2. เน้ือหา /กจิ กรรม ๔.59

2.1 ทา่ นได้รับความรู้ ความเข้าใจ ๗๒ - - - ๔.๗๗
โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษา ( ๓๕ ) ( ๘ )
ตลอดชีวติ ฯ ใหมม่ ากเพียงใด 77.78% ๒๒.๒๒%

๒.2ทา่ นความตระหนัก และพฒั นาคุณภาพ ๖ ๓

ชีวิต โครงการจดั และสง่ เสริมการจัด ( ๓๐ ) ( ๑๒ ) - - - ๔.๖๗

การศกึ ษาตลอดชีวิตฯ โดยนำความร้ทู ่ีไดร้ บั 66.67 % 33.33 %

ไปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั มากเพยี งใด

2.3 ท่านสามารถนำความรู้ทไ่ี ดร้ บั ไป ๓๖ - - - 4.๓๓
ถ่ายทอดแก่คนรอบข้างได้มากเพียงใด (๑๕) (๒๔)
33.33 % 66.67 %

๑๔

ระดับความพึงพอใจ

รายการประเมิน ดมี าก ดี ปานกลาง น้อย ปรบั ค่าเฉลี่ย ระดบั
(5) (4) (3) (2) ปรงุ ๔.37 ความ
3. ดา้ นการบรกิ ารจดั การ (1) 4.๓๓ พอใจ
3.1 กระบวนการในการจดั กิจกรรม
มีความหลากหลาย ๓๖ - -- 4.44 ดี
(๑๕) (๒๔) - -- ดี
๓.๒ ระยะเวลาในการจัดโครงการฯ 33.33 % 66.67 % - -- ๔.๖๗
มีความเหมาะสม 45 - -- ดี
( 20 ) ( ๒๐ ) ๔.๕๒
3.3 สถานที่ในการจัดโครงการมีความ 44.44 % 55.56% 4.52% ดีมาก
เหมาะสมเพยี งใด ๖๓
( ๓๐ ) ( ๑๒ ) ดีมาก
รวม 66.67 % 33.33 %

๔๒ 39
(๒๑๐) (๑๕๖)
51.85% 48.15%

๑๕

บทที่ 5
สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ

สรุปผล
จากการประเมิน โครงการ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาชมุ ชน ( การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง ) อำเภอกันทรวิชัย มีกลมุ่ เปา้ หมายเปน็ ประชาชนท่วั ไป จำนวนท้ังส้ิน ๙ คน ในการประเมินโครงการ
จากการสมุ่ แล้วนำข้อมลู มาวเิ คราะห์หาคา่ สถิติพืน้ ฐาน ค่าร้อยละ ( % ) ซ่ึงการประเมินในครง้ั นี้ สมุ่ ประเมนิ
นักศกึ ษาจำนวน ๙ คน สรปุ ผลการประเมิน โครงการ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาชมุ ชน ( การเรยี นรตู้ ามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง )
ตอนที่ 1 ผลการประเมินข้อมลู ทว่ั ไป

ผลการศกึ ษาพบวา่ นกั ศกึ ษาท่ีเข้าโครงการส่วนมากจะเป็น ชาย - % อายุระหวา่ ง
46-59 ปี 9 คน และระดบั การศึกษา เป็นนกั ศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 100 %
ตอนท่ี 2 ผลการประเมินความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะในการจดั กิจกรรม

ผลการศกึ ษาพบวา่ ความคิดเหน็ ของนักศึกษา ท่ีเข้ารับการอบรมโครงการ สามารถสรุปผลการประเมิน
ความพงึ พอใจโครงการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. ด้านสื่อ / อุปกรณ์ ในการจดั กิจกรรมโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดบั ดี ( 4.24)
1.1 อปุ กรณ์ / วัสดุ มคี วามเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดบั ดี ( 4.18 )
1.2 ส่อื / เอกสารตรงกับความต้องการของผเู้ ข้ารบั การอบรม มีความพึงพอใจในระดบั ดี (4.25 )
1.3 วิทยากรมคี วามรู้ความเช่ยี วชาญ มีความพึงพอใจในระดบั ดี ( 4.3 )

2. ด้านเนื้อหา / กิจกรรม ในการดำเนินโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดับ ดี ( 4.00 )
2.1 ท่านใชช้ ีวติ ประจำวนั ตามหลกั ของความพอเพยี ง ความพอดี การใชช้ วี ิตอย่างรอบคอบ มาก

เพยี งใด มีความพึงพอใจในระดบั ดี ( 3.75 )
2.2 ท่านเกิดจิตสำนึกถึงพระมหากรณุ าธิคุณ และตระหนักถึงความห่วงใยของพระบาทสมเดจ็

เจา้ อย่หู วั มคี วามพงึ พอใจในระดับ ดี ( 4.08 )
๒.๓ ท่านคิดวา่ หลงั การอบรมทา่ นสามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปปรับใชเ้ พ่ือสร้างรายได้และลดรายจา่ ย
๒.๔ ในชีวติ ประจำวันไดม้ ากเพียงใด มคี วามพึงพอใจในระดบั ดี ( 4.18 )

3. ดา้ นการบริการจดั การ ของโครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดบั ดี ( 4.22)
3.1 กระบวนการในการจดั กจิ กรรมมีความหลากหลาย มีความพงึ พอใจในระดบั ดี ( 4.15 )
3.2 ระยะเวลาในการจดั โครงการฯ มคี วามเหมาะสมเพียงใด มคี วามพงึ พอใจในระดับ ดี ( 4.25 )
3.3 สถานท่ีในการจัดโครงการมีความเหมาะสมเพยี งใด มคี วามพึงพอใจในระดับ ดี ( 4.25 )

๑๖

ข้อเสนอแนะ
1. สถานทใ่ี นการจดั โครงการฯ เหมาะสมในการเดนิ ทางของนักศกึ ษาภายในตำบล
2. ข้อมลู ในการให้ความร้ดู มี าก แต่ยังไม่ครอบคลมุ เท่าไร

การอภปิ รายผล
โครงการขบั เคลื่อนปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง แนวทางการดำรงชวี ติ สู่ครัวเรอื น อำเภอกันทรวิชยั พบวา่

ผเู้ ข้ารว่ มมีความตั้งใจสนใจดี ทุกคนเอาใจใส่เตรียมความพรอ้ มเป็นอย่างดี บรรยายถา่ ยทอดความรเู้ ข้าใจดี มี
ความรู้ ความเขา้ ใจเร่ือง โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาชุมชน ( การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง )
ครัวเรือน ตลอดจนคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รยี น ผเู้ รยี นมคี วามรูเ้ พิ่มขึ้น และมีความพึงพอใจในการอบรม
กระบวนการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลขามเรียง มคี วามพึงพอใจของโครงการฯ ระดบั ดี
( 4.15 )

๑๗

ภาคผนวก

๑๘

คณะผูจ้ ดั ทำ

ที่ปรึกษา : ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอกันทรวชิ ัย
ครู คศ.1
นายสรุ ชัย จนั ทรแ์ ดง ครูผชู้ ่วย
นางสาวศศกรณ์ บันทปุ า ครอู าสาสมัครฯ
นายวีรชยั ใจม่งุ ครอู าสาสมัครฯ
นายสิทธศิ กั ด์ิ นามแสงผา
นางสาววิไลวรรณ อรรคเศรษฐัง ครู กศน.ตำบล
ครูประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชน
ขอ้ มูล / เรียบเรยี ง : ครปู ระจำศูนย์การเรียนชุมชน

นายไพฑรู ย์ วงศ์แสน ครปู ระจำศูนย์การเรียนชุมชน
นางสาวรัตนพร มัตตา
นางอบุ ลรตั น์ ศรีสุภกั ดิ์

พิมพ์ / รูปเล่ม :

นางสาวรัตนพร มัตตา

๑๙



คำนำ

เอกสารรายงานผลโครงการ โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาชุมชน ( การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ) ประจำปีการศึกษา 2564 ได้จดั ทำข้ึนเพ่ือเป็นการสรปุ ผลการดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ
โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาชุมชน ( การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ) ซึ่งจัด ณ กศน.ตำบล
ขามเฒ่าพัฒนา 1 ตำบล อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เป็นการเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ โครงการ
โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาชุมชน ( การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ) โดยเนื้อหาสาระข้อ
รายงานเล่มน้ี จะเป็นรูปแบบของการสรุปผลจัดกิจกรรมต่างๆ และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม
กิจกรรมโครงการฯ ซึ่งผลการดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการฯ น้ี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับประโยชน์ และสามารถ
นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั การแกไ้ ขปญั หาไดเ้ ป็นอยา่ งดี

หวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่ารายงานโครงการ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาชมุ ชน ( การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ) เล่มนจ้ี ะเป็นประโยชน์และเปน็ แนวทางในการดำเนินกิจกรรมในโครงการต่อๆ ไป

กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา

สารบัญ ๒๐

หนา้ ข
คำนำ
สารบัญ ก
บทท่ี 1 บทนำ ข
บทที่ 2 เอกสารท่เี กยี่ วข้อง 1
บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การ 4
บทท่ี 4 ผลการดำเนินการ 14
บทท่ี 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 15
ภาคผนวก 19
- คำสั่งแตง่ ตง้ั
- โครงการ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาชุมชน
( การเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง )
- รายชอื่ ประชาชนทั่วไปลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการ
- แบบประเมนิ โครงการ โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาชมุ ชน
- ภาพกิจกรรม
คณะผู้จดั ทำ

๒๑

รายงานผลการดำเนนิ งาน
โครงการ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาชุมชน

วนั ที่ ๔ มิถนุ ายน ๒๕๖๔

กศน.ตำบลขามเฒา่ พัฒนา

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอกนั ทรวชิ ัย
สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั มหาสารคาม

สำนกั ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๒๒

ภาพกิจกรรมโครงการ โคก หนอง นา โมเดลพัฒนาชุมชน
(การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง )
วันที่ 4 มถิ ุนายน พ.ศ.2564
ณ กศน.ตำบลขามเรียง อำเภอกนั ทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม


Click to View FlipBook Version