The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่-5-แนวทางการเพิ่มผลผลิตภาพในองค์การ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6122040020 Phonphan, 2022-02-22 01:28:43

บทที่-5-แนวทางการเพิ่มผลผลิตภาพในองค์การ

บทที่-5-แนวทางการเพิ่มผลผลิตภาพในองค์การ

บทท่ี 5
แนวทางการเพ่มิ ผลผลติ ภาพในองคก์ าร

1.ความเป็นมาของการเพิ่มผลิตภาพ

ในสมนั โบราณอตุ สาหกรรมการผลิตและการบริการจะเนน้ การใช้แรงงานคนเป็นหลัก โด
อาศัยแรงงานของคนในครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศ โดยยังไม่มีแผนการเพม่ิ ผลผลติ ภาพแต่
อยา่ งใดทาใหค้ นทางานเหลา่ นัน้ ไม่มีความรคู้ วามสามารถที่เพียงพอต่องาน ทางานแบบตาม ๆ กนั ไป
ไมม่ ีการฝึกทักษะ ไม่มคี วามถนัดหรือความสามารถเฉพาะทาง ส่งผลให้ผลติ ภาพตกตา่ หรือไดป้ ริมาณที่
น้อยกว่าท่ีควรจะเปน็ ทาให้ความสารถในการแข่งขันของประเทศและการพฒั นาเศรษฐกิจอยู่ในระดับ
ทต่ี า่ ลงเร่อื ยๆเอาแนวคดิ และวิธกี ารวัด "ผลผลติ " (Productivity) หรอื "ผลติ ภาพ" มาใชเ้ ป็นแนวทาง
ในการทางาน จะช่วยยกระดับการพฒั นากลุม่ อุตสาหกรรมการผลติ และบริการใหส้ งู ขน้ึ อย่างเป็น
รูปธรรมอีกทัง้ เพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั ให้ทัดเทียมกบั นานาประเทศไดแ้ ละยังสามารถ
วัดความเจริญเตบิ โตทางธรุ กิจและความกา้ วหนา้ ของงานไดอ้ กี ดว้ ย การนาหลักการและแนวคดิ
เกยี่ วกับการเพิ่มผลติ ภาพ (Productivity) เข้ามาใชอ้ ย่างต่อเนือ่ ง จะสง่ ผลให้ผลติ ภาพ (
Productivity) โดยรวมสูงขน้ึ อยา่ งเห็นได้ชัดจนกลายเปน็ แนวทางการทางานที่แพร่หลายในกลุม่
อุตสาหกรรมต่าง ๆ มาถึงทุกวนั นแ้ี นวคดิ ของการเพ่ิมผลติ ภาพเร่มิ ข้ึนคร้ังแรกในประเทศสหรัฐอเมรกิ า
ใน ค.ศ. 1911 โดยเฟรเดอริกเทยเ์ ลอร์ (Frederick W. Taylor) ซ่งึ ได้รบั การยกย่องวา่ เป็นบิดาแห่ง
การบรหิ ารเชงิ วิทยาศาสตร์ ไดท้ า การศึกษาเพ่ือหาแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับความสิ้นเปลอื ง
วัตถดุ ิบและพลังงานกระบวนการผลติ ท่มี ีสาเหตมุ าจากการที่คนงานปฏบิ ัติงานไมต่ รงกับความรู้
ความสามารถและความถนดั ตลอดจนขาดขวัญกาลังใจในการทางานรวมถึงการบริหารงานทีข่ าด
ประสิทธภิ าพ ทาใหผ้ ลผลติ ตกต่า เทย์เลอร์ไดใ้ ห้ความสาคัญในเรอื่ งเวลาและการเคลือ่ นไหวในการ
ทางานของคนงาน การกาหนดปรมิ าณงานทเี่ หมาะสมกบั ระยะเวลาที่มอบหมายก็จะสง่ ผลใหค้ นงาน
ปฏิบัติงานไดเ้ ตม็ ความสามารถผลการศึกษาของเทยเ์ ลอรน์ ับได้วา่ เป็นจดุ เริม่ ต้นของการเพ่มิ ผลิตภาพ
ดังน้ันเทย์เลอร์จึงไดป้ ระกาศแนวทางการบริหารเชงิ วิทยาศาสตร์ในหนังสอื ช่ือ Principles of
Scientific Management สรปุ เป็นหลักการทางานได้4 ประการ คือ

1. ตอ้ งศกึ ษาวิธกี ารปฏิบตั ิงานในกระบวนการผลติ แตล่ ะส่วนอย่างละเอียด พฒั นาระบบการผลิตดว้ ย
การหาวิธีท่ดี ีท่ีสุด

2. คดั เลือกและจดั คนเขา้ ทางานให้หมาะสมกับงาน โดยพจิ ารณาจากความรู้ความสามารถ แ ละความ
สนใจ อบรมคนงานใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจในงานทร่ี ับผดิ ชอบ เพ่ือให้สามารถทางานได้ถูกต้องตามท่ี
กาหนด

3. จัดหาสิ่งจงู ใจในการทางาน โดยให้ค่าตอบแทนเป็นสดั ส่วนกบั การผลิตของแต่ละคน

4. เน้นความเชยี่ วชาญชานาญเฉพาะอย่าง และแบ่งงานกันทาระหว่างฝา่ ยบรหิ ารกับฝ่ายปฏิบัติการ

สรุป

อุตสาหกรรมการผลิตในยุคแรกจะเนน้ ใชแ้ รงงานของคนเป็นหลกั โดยเรมิ่ ต้นจากครอบครัว
ชุมชนสังคม และประเทศ ซ่ึงยงั ไม่มีแผนการเพม่ิ ผลติ ภาพแต่อย่างใด ทาให้คนงานทางานโดยไม่มี
ความรู้ไม่มีทักษะ และไมม่ ีความถนัดหรอื ความสามารถเฉพาะทางในงานท่ีทา สง่ ผลใหผ้ ลผลิตตกต่า
หรือมีจานวนน้อยกว่าทีค่ วรจะเปน็ ต่อมาจึงไดน้ าแนวคิดของเทยเ์ ลอรม์ าใช้ในการบรหิ ารจดั การ
องค์การโดยเน้นหลักการทางาน 4 ประการ คือ การหาวธิ ีที่ดที ส่ี ุดในการทางาน จดั คนเขา้ ทางานให้
เหมาะสมกับงาน จดั หาส่งิ จงู ใจในการทางาน เนน้ ความเชยี่ วชาญชานาญเฉพาะอยา่ งและแบง่ งานกัน
ทา

2. นิยามของผลติ ภาพ

คาวา่ "ผลิตภาพ"นแี้ ปลมาจากคาภาษาอังกฤษว่า Productivity ซึง่ บางแห่งอาจจะแปลวา่
ผลผลิตประสทิ ธภิ าพการผลิต ส่วนคาวา่ "การเพิม่ ผลติ ภาพ" กม็ าจากคาว่า Productivity
Improvement ซงึ่ บางแห่งอาจจะแปลวา่ การเพิ่มผลิตภาพ การปรับปรงุ ผลผลิต การปรบั ปรุงผลติ
ภาพ การพัฒนาประสิทธิภาพดั้งนนั้ องคก์ ารบางแหง่ จึงอาจใชค้ าว่า "Productivity" เพื่อให้ครอบคลุม
ความหมายทั้งสองนัยนนี้ ั่นคือคาว่า "การเพมิ่ ผลติ ภาพ" และ "ผลิตภาพ" ดงั ไดม้ ีนักวชิ าการใหน้ ิยาม
ของคาวา่ “ผลติ ภาพ”(Productivity) ไว้ 2 แบบ (เดชา อัครศรสี วัสด์ิ, 2558) ดงั นี้

2.1 ผลติ ภาพ (Productivity)

หมายถงึ ผลลัพธ์ (Output) หารดว้ ยปจั จัยนาเข้า (lnput)

1.ผลลพั ธ์ (Output) หมายถึง ผลงานจากการผลิตไม่วา่ จะเปน็ ในรปู ของสินคา้ หรือบริการอาจเขยี น
เป็นสมการได้ดงั นี้

ผลลพั ธ์ (Output) = สนิ ค้า+บริการ

2.ปจั จยั นาเขา้ (lnput) หมายถงึ ทรพั ยากรต่างๆท่ีใชใ้ นการผลติ สนิ ค้าหรือบริการท่ีออกมาเป็น
ผลลัพธ์(Output) ขา้ งตน้ ดังสามารถเขยี นสมการไดด้ งั นี้

ปจั จยั นาเข้า (lnput) = แรงงาน+วสั ด+ุ เงนิ ลงทนุ +พลงั งาน+คา่ ใช้จา่ ย

คานาจัดความตามนัยน้เี ปน็ ท่ีนยิ มกนั อย่างกวา้ งขวางและแตกรูปออกไปให้เหมาะสมแก่การใช้งานของ
แต่ละแบบ

2.2 ผลิตภาพ (Productivity)

หมายถึง การใช้ประโยชน์ (Utilization) x วธิ กี าร x ผลการปฏิบัติงาน โดยกาหนดให้

1) การใช้ประโยชน์ (Utilization) ไดแ้ ก่ อตั ราสว่ นของเวลาทีท่ างานจริงต่อเวลาท่ีมีอยู่ท้งั หมด

2) วิธีการ ได้แก่ อตั ราสว่ นของเวลาทต่ี ้องใช้ในการทางานจริงใหส้ าเร็จดว้ ยวธิ ีการท่ดี ีท่ีสดุ ท่มี ี

ผูไ้ ด้ทาไวแ้ ลว้ ต่อเวลาจรงิ ทใ่ี ช้ในการทางานอย่างเดียวกัน

3) ผลการปฏิบตั ิงาน ไดแ้ ก่ อัตราส่วนของผลการทางานของคนงานท่เี ปน็ ทย่ี อมรบั หรอื ที่เป็น
มาตรฐาน จะเห็นวา่ คาจากัดความน้ีได้รวบรวมเรอื่ งของซอฟต์แวร์ คอื เรื่องของคนและเร่อื งวธิ ีการเขา้
ไปพร้อมกนั นีก้ ็ไดใ้ หค้ วามสาคัญกบั เร่ืองของเวลาด้วย

สรุป

ผลิตภาพ (Productivity) คอื ประสทิ ธภิ าพในการผลติ วัดจากผลผลิตท่ีไดม้ าจากการใช้ปจั จยั การผลิต
ไปในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ สามารถหาได้จากอตั ราสว่ นของปจั จยั นาออก หารด้วยปัจจัยนาเขา้ ซง่ึ การ
ผลิตสินคา้ และบรกิ ารได้มาจากการแปรทรพั ยากรการผลติ กลา่ ววา่ หากสามารถแปรสภาพเป็นไป
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพเพยี งใด ผลผลติ ทไ่ี ดก้ ็จะมีปริมาณคณุ ภาพและมลู คา่ เพิ่มมากข้นึ เท่านนั้

3. ความหมายของการเพม่ิ ผลิตภาพ

การเพ่ิมผลิตภาพเปน็ กระบวนการในการปฏบิ ัติงานเพื่อให้ไดส้ ินค้าและบรกิ าร หรืองานทีม่ ี
คุณภาพสอดคล้องกบั ความต้องการของลกู คา้ ดว้ ยวธิ ีการในการลดตน้ ทนุ ลดการสญู เสียทุกรูปแบบ
การใชท้ รัพยากรอย่างคุ้มค่า การใชเ้ ทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมต่อการพัฒนาศักยภาพของผ้ปู ฏบิ ัตงิ านใน
องค์การและการใช้เทคนคิ การทางานตา่ ง ๆ เข้ามาเพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการทางาน ดังท่ไี ด้มนี กั การ
ศกึ ษาได้ให้ความหมายของการเพ่มิ ผลิตภาพไว้ 2 แนวคดิ (ชนาภา หันจางสทิ ธ์ิ, 25) ดังนี้

3.1 ความหมายตามแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์

การเพิ่มผลติ ภาพ (Productivity) ตามแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ การใชป้ ระโยชนจ์ าก
ทรัพยากรในการผลติ อย่างคุ้มคา่ ก่อให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด ซ่งึ การเพมิ่ ผลิตภาพตามแนวคิดนีอ้ าจใช้
วธิ ีการลดตน้ ทนุ การลดความสญู เสีย การปรบั ปรุงกระบวนการผลติ หรอื กระบวนการทางาน และการ
มงุ่ เน้นการทางานอย่างมีประสิทธภิ าพ ตามแนวคิดน้ีการผลติ และการบริการเกิดข้นึ จากการนาสง่ิ ท่ี
จาเปน็ ต้องใช้หรือเรยี กวา่ ปัจจัยการผลิต (Input) มาผ่านกระบวนการใดๆ (Process) เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์
หรอื ผลผลิต(Output) ตามท่ีต้องการ

การเพ่มิ ผลิตภาพ (Productivity = ผลผลิต(Output)

ปจั จัยการผลติ (Input)

การเพิม่ ผลติ ภาพ (Productivity) = ผลผลิต (Output)

การเพิ่มผลติ ภาพ(Productivity) ผลิตผล (Output) คือ สนิ คา้ หรือบริการทเ่ี หน็ ได้ จับต้องได้
เช่น ช้ินงาน เสื้อผ้า อาหาร สนิ ค้าอปุ โภคบรโิ ภค ตู้ โต๊ะ โรงเรยี น โรงพยาบาล ร้านคา้ ธนาคารปจั จยั
การผลิต (Input) คือ ทรัพยากรตา่ ง ๆ ที่นามาใชเ้ ป็นปัจจยั ในการผลติ สินค้าหรอื บริกาได้แก่ ข้อมูล
วตั ถดุ ิบ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องจักร แรงงาน พลังงาน เงินทนุ อาคาร ที่ดิน การเพิ่มผลติ ภาพ
(Productivity) มิใช่แค่เพียงการเพิม่ ปริมาณการผลติ แตเ่ ป็นการแสวงหาวิธกี ารอยา่ งชาญจลาดโดย
คานงึ ถึงประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล การทางานอย่างมีประสทิ ธิภาพหมายถงึ วธิ ีการท่ีสามารถ
ทางานได้ง่ายขนึ้ สะดวกขึน้ เหนอ่ื ยล้านอ้ ยลง ใชท้ รัพยากรค้มุ คา่ ท่สี ดุ ลดความส้ินเปลอื ง ทางานโดย
ระวังและป้องกับไม่ให้มขี ้อผดิ พลาด มีความปลอดภยั มากข้ึนส่วนประสทิ ธิผลหมายถึง การดาเนินงาน
ไดบ้ รรลุตามวตั ถปุ ระสงค์หรือเปา้ หมายทตี่ ้ังไว้

ตามแนวคิดน้ี ความหมายโดยสรุป "การเพมิ่ ผลติ ภาพเปน็ สิ่งทีว่ ัดคา่ ได้และมองเห็นเป็น
รูปธรรม"นน่ั คือ การเพม่ิ ผลิตภาพสามารถวัดค่าได้ทัง้ ทางกายภาพ เชน่ วัดเปน็ จานวนขน้ึ น้าหนัก
ความยาว และอีกแบบคอื การวัดเป็นมลู คา่ ซงึ่ วัดในรปู ทแ่ี ปลงเปน็ ตัวเงนิ สามารถทาให้หน่วยงาน
หรอื องคก์ ารมองเห็นเป็นรูปธรรมไดช้ ัดเจนวา่ การประกอบธรุ กจิ นนั้ ๆ มีประสิทธภิ าพและ
ประสทิ ธิผลหรอื ไม่

3.2 ความหมายตามแนวคิดทางเศรษฐกิจและสงั คม

การเพิ่มผลติ ภาพตามแนวคดิ ทางเศรษฐกิจและสังคม หมายถึงการแสวงหาวิธีการในการแกไ้ ขปรบั ปรงุ
กระบวนการผลิต กระบวนการทางานให้มีประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ ลดความสูญเสยี ที่เปล่าประโยชน์ลง
ท้ังเร่ืองของการประหยัดทรัพยากร พลงั งาน และเงนิ ตรา และต้องรว่ มมือปรับปรุงเรง่ รัดการเพ่ิมผลิต
ภาพในทกุ ระดบั ตลอดจนการแสวงหาแนวทางในการเพิ่มคณุ คา่ ใหก้ บั สนิ คา้ หรือบรกิ ารเพื่อให้ลูกค้า
พึงพอใจสงู สุดสถาบนั เพิ่มผลิตภาพแห่งยโุ รป (European Productivity Agency: EPA)ในการประชมุ
ทกี่ รุงโรม(Rome Conference) ใน ค.ศ. 1959 ได้ใหค้ านยิ ามไว้วา่ "เหนือสิ่งอืน่ ใด Productivity คอื
จติ สานกึ (Consciousness of Mind) หรือเจตคตทิ จ่ี ะแสวงหาทางปรับปรงุ และสร้างสรรคส์ ง่ิ ตา่ ง ๆ
ให้ดขี ึน้ เสมอด้วยความเชือ่ ม่นั วา่ เราจะสามารถทาวนั น้ีใหด้ ีกว่าเมอ่ื วาน และพรุ่งนีต้ ้องดีกวา่ วนั นี้ เปน็
ความพยายามอย่างไมม่ ีทีส่ ้ินสดุ ท่ีจะปรบั เปล่ยี นงานหรือกิจกรรมท่ีทาใหท้ ันต่อการเปลี่ยนแปลงที่
เกดิ ข้ึนด้วยการใช้เทคนิควิธกี ารใหม่ ๆ Productivity จงึ เป็นความเช่อื มั่นในความก้าวหน้าของมนษุ ย์
น่นั เอง"การเพมิ่ ผลิตภาพตามแนวคดิ ทางเศรษฐกจิ และสังคมใหค้ วามสาคัญกับเร่ืองดังต่อไปนี้

1. ความสานึกในจิตใจ เป็นความสามารถหรือการมีพลงั ดา้ นความสามารถที่มนษุ ย์แสวงหาทาง
ปรบั ปรงุ สิ่งต่าง ๆ ใหด้ ีขนึ้ เสมอ โดยเชอ่ื ว่าสามารถทาส่งิ ต่าง ๆ ในวนั น้ีให้ดกี วา่ เมื่อวานนี้
พรุ่งนดี้ ีกวา่ วันนี้ โดยผู้มีจิตสานึกด้านการเพ่มิ ผลิตภาพจะประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ และวิธกี ารใหม่ ๆ
นามาใช้อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เกดิ ประโยชน์แก่หน่วยงาน สังคม และประเทศชาติ และทนั ตอ่
สภาวะเศรษฐกจิ และสังคมที่มีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา

2. การใช้ทรัพยากรให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ การเพิม่ ผลิตภาพเป็นความสานึกในการดาเนนิ
กจิ กรรมในตลอดวิถชี ีวิต ด้วยการใชท้ รพั ยากรท่ีมอี ยู่อย่างจากดั ให้เกิดประโยชน์พร้อมท้ัง
พยายามลดการสญู เสียทกุ ประเภท ความมสี านึกดงั กล่าวไดแ้ ก่ การชว่ ยกันประหยัดพลังงาน
ต่าง ๆ และค่าใชจ้ า่ ยการเคารพกฎระเบียบต่าง ๆ การมนี สิ ยั ตรงตอ่ เวลา การลดข้อผิดพลาด
ต่าง ๆ ในการทางาน และการใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ เปน็ ต้น

4.ความจาเป็นในการเพิม่ ผลติ ภาพในองคก์ าร

ในสภาพสงั คมและเศรษฐกิจของไทยปัจจบุ ันเปน็ สภาพท่ีอยู่ในภาวะวิกฤติทั้งในดา้ น
ทรัพยากรที่ลดลงอยา่ งมากจนขาดความสมดลุ จากนโยบายของรัฐบาลทผี่ ่านมาที่มุ่งส่งเสรมิ ให้
ประเทศไทยเปน็ ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ทาให้สง่ ผลกระทบต่อชีวิตความเปน็ อยขู่ องคนไทยเป็น
อย่างมาก ท้งั ปัญหาด้านส่ิงแวดลอ้ มท่เี กดิ จากผผู้ ลิตท่ีขาดจรรยาบรรณ ผลผลิตด้อยคณุ ภาพไม่เปน็ ท่ี
พอใจของผู้บรโิ ภคซง่ึ ถา้ ปล่อยใหเ้ ปน็ เช่นนี้ตอ่ ไปเรอื่ ย ๆ ก็จะก่อใหเ้ กิดความเสยี หายเปน็ อนั มากตอ่
เศรษฐกิจของประเทศ และมูลเหตสุ าคัญทีม่ ีความจาเปน็ จะต้องนาการเพม่ิ ผลิตภาพมาแกป้ ญั หาและ
สรา้ งคณุ ภาพของผลผลติ มีดังนี้

4.1 ทรัพยากรมีอยู่อยา่ งจากัด การเพ่ิมผลิตภาพจะเป็นเครอ่ื งมือทท่ี าใหม้ ีการใชป้ ระโยชน์จาก
ทรพั ยากรทม่ี ีอยู่อย่างจากดั ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ

4.2 การเพม่ิ ผลติ ภาพเปน็ เคร่ืองมือช่วยวางแผนทงั้ ในปัจจบุ ันและอนาคด เชน่ การกาหนดสัดส่วน
ของการผลิตทีเ่ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของลูกค้าเพ่ือไม่ให้มสี ว่ นเกิน ซง่ึ ถือเป็นความสูญเปลา่ ของ
ทรัพยากร

4.3 การแขง่ ขนั สงู ขน้ึ หน่วยงาน บรษิ ัท หรอื องค์การตา่ ง ๆ จะอยรู่ อด และสามารถแข่งขนั กบั คู่แขง่
ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศไดจ้ ะตอ้ งมีการปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และการเพิ่มผลิต
ภาพเปน็ แนวทางในการปรับปรงุ คุณภาพ และทาให้เปิดการลดตน้ ทนุ สามารถแขง่ ขันกับคู่แข่งไดจ้ ะ
เหน็ ได้ว่าผลติ ภาพเปน็ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนาปัจจยั การผลิตต่าง ๆ มาใช้รว่ มกนั เช่น แรงงาน

ทุน เทคโนโลยีปละการบริหารจดั การ ทกุ คนจึงตอ้ งตระหนักถงึ ความจาเป็นในการเพ่ิมผลติ ภาพเพระ
การเพิ่มผลิตภาพเป็นความรับผดิ ชอบของทุกคนในองค์การผบู้ ริหารต้องมีความเข้าใจในเร่ืองของการ
เพม่ิ ผลติ ภาพและให้การสนับสนนุ ในการดาเนินกจิ กรรมอย่างเตม็ ความสามารถและเพมิ่ ทกั ษะการ
ทางานใหส้ ูงขนึ้ และใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซงึ่ จะส่งผลใหผ้ ลิตภาพโดยรวมขององค์การ
เพ่ิมสูงขนึ้ และนาไปสู่การยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนในประเทศซง่ึ ก็คือเป้าหมาย
สูงสดุ ของการเพิ่มผลิตภาพ

5. ความสาคัญของการเพิม่ ผลติ ภาพในองค์การ

การเพ่ิมผลิตภาพเปน็ สิง่ ท่ีทุกคนในองค์การตอ้ งพยายามทาใหก้ ารผลิตขององคก์ ารดาเนินไป
ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เพราะทรัพยากรตา่ ง ๆ นับวนั จะขาดแคลนลงหรือลดน้อยลงไปทุกวัน ดังนน้ั
องค์การจงึ ต้องพยายามหาวธิ กี ารเพ่ิมผลติ ภาพในทุกวถิ ีทางเพ่อื ทจ่ี ะใชท้ รัพยากรที่มีอยู่อยา่ งจากดั ให้
เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุดในการทจ่ี ะทาใหก้ ารผลิตสินค้าเพยี งพอกับความต้องการของลูกค้า โดพยายาม
ทาให้เกดิ การสญู เสียน้อยท่สี ดุ หรือไม่มกี ารสญู เสยี ใดๆ เลยในกระบวนการผลิต ซงึ่ กจ็ ะเป็นการ
ประหยัดทรัพยากรที่มใี ห้ใช้ได้อย่างคุ้มคา่ ดังนน้ั การเพมิ่ ผลิตภาพจงึ มีความสาคัญดังน้ี

5.1 ระดบั หนว่ ยงานหรอื องค์การ

1. ลดตน้ ทุนในการผลิตสนิ คา้ หรือบรกิ ารใหห้ น่วยงานไดร้ ับผลตอบแทนในรปู ของกาไรที่
สงู ขน้ึ

2. ชว่ ยให้พนกั งานได้มสี ว่ นรวมในการปรบั ปรงุ วิธีการทางานของ ตนเองหรอื ของหนว่ ยงาน
ของตน

3. มกี ารนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เขา้ มาส้กู ระบวนการผลิต

4. ช่วยใหม้ กี ารพัฒนาทักษะในการปฏบิ ัตงิ านให้ดีขึน้

5. ลูกค้าไดใ้ ชสนิ ค้าทมี ีคุณภาพดีและราคาถูก

6. ทาให้พนักงานมีความมัน่ คงและมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ีขึ้น

7.องค์การสามารถแขง่ ขันกบั คู่แขง่ ในดา้ นคุณภาพและบริการได้

5.2 ระดับประเทศ

1. เพิม่ ผลติ ภัณฑม์ วลรวมของประเทศ (Gross National Product: GNT) ซง่ึ เป็นดชั นที ่ีชี้ถงึ
ฐานะทางเศรษฐกิจที่ดขี น้ึ ของประเทสนั้น ๆ

2. ลดอัตราเงนิ เฟ้อของประเทศ

3. เพ่ิมขีดความสามารถในดา้ นการแขง่ ขันในตลาดโลกดงั นัน้ การเพ่ิมผลติ ภาพจงึ มคึ วามสาคัญ
ตอ่ องคก์ ารทัง้ ในระดับองค์กรและระดบั ประเทศ โดยชว่ ยลดต้นทนุ การผลติ ทาให้สนิ คา้ ท่ี
ผลติ ได้ใช้ทรัพยากรอย่างค้มุ ค่า ลดการสูญเสยี ตา่ ง ๆ ในกระบวนการผลติ อีกท้ังชว่ ยให้
พนกั งานมีทศั นคติที่ดใี นการทางาน เป็นการเพ่ิมขวัญและกาลงั ใจในการทางาน เพราะ
พนักงานได้มสี ว่ นรว่ มในการทางาน มีการเรยี นรู้ในการใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ เป็นการเพิ่มทักษะ
ในการทางาน และความชานาญในหนา้ ทีข่ องตนเองซึ่งจะสง่ ผลดตี ่อองค์การ

6.องคป์ ระกอบของการเพมิ่ ผลิตภาพในองค์การ

องคป์ ระกอบในการเพิ่มผลติ ภาพในองค์การเปน็ สิ่งท่มี ีความสาคญั เป็นอยา่ งมาก ซ่งึ
ผูป้ ระกอบการต้องคานึงถึง เพราะส่งผลถึงภาพลกั ษณข์ ององค์การและเปน็ การทากาไรท่ยี ่งั ยืนปจั จุบัน
องค์การส่วนใหญค่ านงึ ถึงแตผ่ ลกาไรเพียงอย่างเดยี วม่งุ แตจ่ ะลดต้นทุนทาใหม้ ีการละเลยหรอื ไม่
ปฏบิ ตั ติ หรอื ไมป่ ฏิบัติตามจรรยาบรรณต่าง ๆ ทาให้เกิดผลเสยี ตอ่ พนักงานในองค์การและผบู้ ริโภค
ดังนัน้ เพื่อใหม้ ีการดาเนินการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาตโิ ดยส่วนรวม จงึ ควรปฏบิ ัติตาม
องค์ประกอขท้งั 7 ประการ คือ Q, C, D, S, M, E และ E ซง่ึ เป็นอักษรย่อที่ได้มาจาก Quality, Cost,
Delivery, Safety,morale,environmentและ ethics ซ่งึ มีรายละเอยี ดดังน้ี

6.1 คุณภาพ (Quality)

คณุ ภาพ (Qua lity: Q) คือ สง่ิ ทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการของลกู คา้ และสร้างความพึง
พอใจให้กับลูกค้าได้ เพราะความพงึ พอใจเปน็ เหตุผลสาคัญท่ชี ว่ ยให้การตัดสนิ ใจเลอื กซอื้ สินค้าหรอื
บริการร่ายข้นึ ผ้ปู ระกอบการจึงจาเปน็ ต้องให้ความสาคัญกบั คุณภาพของสินคา้ หรอื บริการ เช่น การ
สร้างความพีงพอไห้กบั ลูกคา้ การลดตน้ ทนุ การยกระดับความต้องการของลูกค้าการสง่ มอบไดต้ าม
เวลาคณุ ภาพของสินค้าและบริการสามารถแบง่ ออกได้เป็น 5 ประเภท ดงั นี้

1. คุณภาพด้านเทคนิค ไดแ้ ก่ ลักษณะทางกายภาพและความสามารถในการใช้งานทส่ี มั พนั ธ์
กบั คณุ ภาพของสินคา้ และบริการ เช่น ความแขง็ แรงทนทานของผลิตภัณฑ์ ระบบป้องกัน
ความปลอดภัยการใชง้ านตาม Function ของผลติ ภณั ฑน์ น้ั ๆ

2. คณุ ภาพด้านจิตวทิ ยาได้แก่ คุณลักษณะท่ีมผี ลตอ่ จิตใจของผ้บู ริโภคในการตดั สนิ ใจซอื้
สนิ ค้าหรอื ใช้บริการ เช่น ความสวยงามของการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ รูปรา่ ง ขนาด สสี นั
และภาพลักษณ์ของผลติ ภณั ฑ์

3. คุณภาพด้านความผูกพันต่อเนือ่ งหลังการขาย เช่น การให้บริการหลงั การขาย การ
รับประกันสินคา้ การซ่อมแชมและบารุงรักษา การตรวจเชก็ สภาพผลติ ภณั ฑ์

4. คุณภาพดา้ นเวลา เช่น อายกุ ารใชง้ านของผลิตภณั ฑ์ ความยากง่ายในการบารงุ รักษา
ความรวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ าร การขนส่งสินค้า

5. คณุ ภาพดา้ นจรยิ ธรรม เช่น ความถูกต้องตรงตามมาตรฐานการผลิต ความจริงใจในการ
ให้บริการ

6.2 ตน้ ทนุ (Cost)

ต้นทนุ (Cost: C) หมายถงึ ค่าใชจ้ ่ายที่ใช้ไปเพ่ือดาเนินการผลติ สินคา้ หรอื บรกิ ารเร่ิมตงั้ แต่
การออกแบบการผลติ การตรวจสอบ การจดั เก็บ การขนสง่ และการสง่ มอบลูกค้า เรยี กว่า เปน็ ตน้ ทุน
การดาเนินงานซ่ึงประกอบดว้ ย

1.ต้นทนุ วัตถดุ ิบ (Material Cost) เป็นคา่ วัตถดุ ิบทีซ่ ้ือมาจากหน่วยงานภายนอก เพ่อื นาไป
ผลติ สินค้าหรือบริการ ตลอดจนคา่ วัสดุตา่ ง ๆ ท่ีจาเปน็ ต้องใชใ้ นการปฏิบัติงาน เช่น คา่ อุปกรณ์
สานักงานค่าถ่ายเอกสาร และค่าโทรศัพท์ต่าง ๆ

2. ตน้ ทนุ ด้านแรงงาน (Labor Cost) เปน็ คา่ จา้ งพนักงานเพื่อทาหนา้ ที่ตา่ ง ๆ ใน
กระบวนการทางานขององค์การ

3.ตน้ ทุนการทางานของเครอื่ งจักร (Machine Operating Cost) เปน็ ค่าใชจ้ ่ายตา่ ง ๆ ที่
เกี่ยวขอ้ งกับเคร่ืองจักรทใี่ ชใ้ นการผลติ สนิ ค้า โดยไมค่ านึงว่าเครอ่ื งจักรนน้ั กาลังทางานอยู่หรือไม่ เช่น
คา่ เช้ือเพลงิ หรอื พลังงานทีใ่ ช้ในการขับเคลอ่ื นเครือ่ งจักร ค่าซอ่ มบารุงรกั ษา คา่ ชน้ิ สว่ นและอะไหล่
ต่าง ๆของเครื่องจักร

6.3 การส่งมอบ (Delivry)

การส่งมอบ (Delivery: D) หมายถึง การส่งมอบสินคา้ หรือบรกิ ารใหก้ ับลูกค้าได้
อยา่ งตรงเวลามจี านวนครบถ้วน และมคี ณุ สมบัตติ รงตามท่ีลกู คา้ กาหนด เปน็ การชว่ ยให้องค์การ
ได้เปรียบในการแข่งขนั ทั้งน้ีต้องข้นึ อยู่กบั ระบบการสง่ มอบทด่ี ภี ายในหนว่ ยงานขององค์การด้วย
อปุ สรรคของการสง่ มอบคือความสูญเสียต่าง ๆ มีผลกระทบตอ่ การส่งมอบสนิ คา้ เชน่

1.วัตถดุ บิ ขาด ไมเ่ พยี งพอต่อความตอ้ งการของฝ่ายผลิต

2.เสียเวลารอคอยขอ้ มูล เพ่ือใชใ้ นการออกแบบ

3.กาลงั การผลติ ไมเ่ พียงพอต่อการผลติ

4.เครอื่ งจักรเสีย

5.ผลติ ชิน้ งานแตล่ ะชิ้นเสยี เวลานานเกินไป

6.พนกั งานมวี ิธกี ารทางานไม่เหมาะสม

6.4 การสง่ มอบ (Delivry)

ความปลอดภยั (Safety: S) หมายถึง การสร้างสภาพแวดล้อมในการทางานให้มี
ความปลอดภัยไมเ่ ป็นอันตรายกบั พนักงานหรือหมายถงึ การปอ้ งกนั การสูญเสยี จากอบุ ตั เิ หตุ คอื การ
บาดเจบ็ เจบ็ ป่วยทรัพยส์ นิ เสียหายและความสูญเสียเน่ืองจากกระบวนการผลติ ถา้ หากองค์การหรือ
หน่วยงานมีสภาพการทางานท่ปี ลอดภยั และพนักงานทุกคนทางานด้วยความปลอดภยั จะเกิดประโยชน์
ดังนี้

1.ผลผลติ เพิ่มขึ้น เม่ือองค์การมสี ภาพแวดล้อมทดี่ ี มีอปุ กรณ์ป้องกนั อันตราย พนกั งานก็
ทางานไหเ้ ต็มที่ ส่งผลใหผ้ ลผลติ เพิม่ ขึน้

2.ตนั ทนุ การผลติ ลดลง คือ ตันทนุ การผลติ เน่ืองจากความสญู เสียตา่ ง ๆ ที่ทาใหเ้ กิดอบุ ัตเิ หตุ
เช่นคา่ รกั ษาพยาบาล เงินทดแทน และค่าบาตเจบ็ ลดลง ต้นทนุ การผลิตจึงลดลง

3.ทาให้องค์การเกิดผลกาไรมากขึน้ ถ้ามกี ารทางานอย่างปลอดภยั ทาใหผ้ ลผลติ สงู ข้ึน ต้นทนุ
ตา่ ลง สามารถแข่งขันกบั คแู่ ข่งได้ ส่งผลใหอ้ งคก์ ารมีกาไรมากขึน้

4.สงวนทรัพยากรมนษุ ยใ์ ห้แก่ประเทศชาติ อุบัตเิ หตทุ ่ีเกดิ ขึ้นแตล่ ะคร้งั จะทาใหพ้ นักงาน
บาดเจ็บพิการ ทพุ พลภาพ หรือเสียชีวิตลงได้ ซง่ึ เป็นการสญู เสียทรพั ยากรมนษุ ย์ที่สาคัญไป

5.เป็นปจั จัยในการจูงใจในการทางาน การจดั สภาพการทางานใหป้ ลอดภยั จะทาใหเ้ ป็น
แรงจงู ใจให้พนกั งานเกดิ ความต้องการและร้สู กึ สนใจในงานมากขึน้

6.5 ขวญั และกาลงั ใจในการทางาน (Morale)

ขวญั และกาลังใจในการทางาน(Morale: M)องค์การท่ีปฏบิ ัติงานอยขู่ วัญและกาลังใจสมารถทาให้หนกั
งานมคี วามกระตือรือรนั ในการทางาน อันจะนาไปส่จู ุดมุ่งหมายทีอ่ งคก์ ารกาหนดไว้ ดั้งนั้นผบู้ ริหาร
องค์การจงึ ต้องใหค้ วามสาคญั กับปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ ขวญั และกาลงั ใจของพนกั งานดังนี้

1.คุณสมบัติและลักษณะของผบู้ งั คับบัญชาเป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้บงั คบั บญั ชาและ
ผู้ใต้บังคบั บัญชา

2.ความพึงพอใจในการปฏบิ ัติงาน ความรสู้ กึ โดยรวมในการปฏบิ ตั งิ าน รายไดพ้ ่ีได้รบั เพอื่ น
ร่วมงาน

3.รางวลั ผลตอบแทน ผลประโยชนจ์ ากกาไร

4.แผนและนโยบายขององค์การ

5.สภาพแวดล้อมในการปฏบิ ัติงานและบรรยากาศในการทางาน

6.สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ของผู้ปฏบิ ัตงิ าน

ดงั นนั้ การจดั ระดบั ขวญั และกาลงั ใจ สามารถจัดไดเ้ ปน็ รายบคุ คลวา่ มีระดับขวัญและกาลังใจ
มากน้อยเพียงใด โดยใช้แบบทดสอบแบบอตั นยั และแบบปรนยั การตรวจสอบขวัญและกาลงั ใจ
สามารถใชก้ ารสงั เกตการณ์ สมั ภาษณ์ เกบ็ ประวัตแิ ละออกแบบสอบถาม เป็นต้น

7.จรรยาบรรณต่อหนว่ ยงานราชการ (Government) ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายใหค้ วามร่วมมือ
และสนับสนุนมที ศั นคตทด่ี ีตอ่ หนว่ ยงานราชการ

8.จรรยาบรรณตอ่ สังคม (Society) ไมโ่ ฆษณาเพ่ือหลอกลวงขายสนิ ค้าและบริการในราคาท่ไี ม่
เหมาะสมไมข่ นส่งเกินน้าหนัก

9.จรรยาบรรณตอ่ สิ่งแวดล้อม (Environment) ไมป่ ล่อยของเสียตา่ งๆ สูส่ ิ่งแวดลอ้ มที่ทาให้
เกดิ มลภาวะและทาลายสง่ิ แวดลอ้ ม เช่น การปล่อยน้าเสยี ลงในแมน่ า้ ลาคลอง การปลอ่ ยก๊าซพิษจาก
กระบวนการผลติ การทิ้งขยะมูลฝอย

โดยองค์ประกอบของการเพ่มิ ผลติ ภาพทั้ง 7 ประการ สามารถแยกออกได้ดงั นี้

Q. C. D เปน็ การเพิ่มผลผลติ เพอ่ื ลูกค้า

S. M เป็นการเพม่ิ ผลผลิตเพื่อพนักงาน

E,E. เป็นการเพิม่ ผลผลิตเพอื่ สงั คม

สรุป

ในการเพ่ิมผลิตภาพนั้นจะต้องลดตน้ ทุนในการผลิตให้ตา่ ลง ซ่งึ ต้องทาควบคู่ไปกบั การบริหาร
คณุ ภาพด้วย โดยการพยายามลดความสูญเสยี และค่าใช้จา่ ยตา่ ง ๆ ทีไ่ มจ่ าเปน็ ออกไป ขณะเดียวกันก็
ตอ้ งประหยัดพลังาน แรงาน และทรัพยากรตา่ ง ๆ ท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั ดงั น้นั การเพ่ิมผสติ ภาพของ
องค์การจงึ ต้องคานึงถงึ องค์ประกอบ 7 ประการ ดงั นี้

1 ) คณุ ภาพ (Quality)

2) ตน้ ทนุ

3) การสง่ มอบ (Delivery)

4) ความปลอดภยั (Safety)

5) ขวัญและกาลังใจในการทางาน (Morale)

6) สงิ่ แวดล้อม (Environmient)

7) จรรยาบรรณในการดาเนินธรุ กจิ (Ethics)

7.แนวทางการเพ่มิ ผลิตภาพในองค์การ

การลดตนั ทุนเป็นท้ังศาสตร์และศิลป์สาหรับการดาเนนิ กิจการในเวดวงอุตสาหกรรม เพราะ
ต้นทุนทีผ่ ู้ประกอบการสามารถลดลงได้ ยอ่ มหมายถงึ กาไรทเ่ี พิ่มขึ้น ทวา่ สิ่งท่ยี ากยงิ่ กวา่ การลดต้นทุน
เพื่อให้ได้กาไรทม่ี ากขนึ้ ก็คือ การลดตน้ ทุนทส่ี ามารถเพ่ิมผลผลติ ใหส้ ูงขน้ึ ไดน้ นั่ เอง การนา้ แนวทางการ
เพิม่ ผลิตภาพมาใช้เป็นเคร่ืองมอื สาหรบั วเิ คราะห์เพ่ือหาแนวทางในการเพม่ิ ประสิทธภิ าพของผลผลิต
และเป็นสว่ นหนงึ่ ทท่ี าให้กระบวนการผลิตสามารถลดตน้ ทุนลงไดไ้ ม่มากกน็ ้อย อยา่ งไรก็ตาม การนา
แนวทวงการเพิ่มผลิตภาพไปประยุกตใ์ ช้ จาเปน็ ต้องมีความร้แู ละความเขา้ ใจในกระบวนการผลิตเปน็
อยา่ งดี แม้ว่ท่ายทสี่ ุดแล้วการเพ่มิ ผลติ ภาพนนั้ ถือเปน็ หนา้ ที่ความรับผิดชอบที่ทกุ คนต้องมสี ่วนร่วมก็
ตาม เพราะไมว่ ่าจะเป็นการลดต้นทุนหรอื การเพิ่มผลติ ภาพ ก็ลว้ นแตเ่ ปน็ กญุ แจนาสู่ความสาเรจ็ ทั้งสิ้น
ซึง่ แนวทางการเพ่ิมผลิตภาพในองค์การท่ีใช้อยู่สามารถแบ่งออกเป็น 5 แนวทาง ดงั นี้

7.1 การใชป้ จั จัยการผลิต (Input)เทา่ เดมิ ในขณะเดียวกันทาใหผ้ ลผลติ (Output)เพ่ิมขนึ้

แนวทางนีน้ าไปใช้ในการเพิม่ ผลติ ภาพในสภาวะเศรษฐกจิ อยูใ่ นสภาพปกติ คือ เม่ือพนักงานมี
เทา่ เดมิ ต้องการให้ผลติ ผลมากขนึ้ กห็ าวิธีการปรับปรุงงานด้วยการนาเทคนิควิธกี ารปรับปรงุ การเพ่ิม
ผลติ ภาพเขา้ มาช่วย เชน่ ปรับปรุงวธิ กี ารทางาน ฝกึ อบรมทักษะในเรื่องการทางานใหม้ ีทักษะคณุ ภาพ
กิจกรรม5 ส กจิ กรรม OCC เปน็ ต้น จะเป็นการเพ่มิ ผลติ ภาพใหม้ ีคา่ สูงขึ้น โดยไมเ่ พ่ิมปจั จัยการผลิต

7.2 การใชป้ จั จัยการผลิต (Input) ลดลงในขณะเดียวกันทาใหผ้ ลผลิต (Output) เพิ่มข้นึ

แนวทางนสี้ ามารถนามาใช้เพ่ือชว่ ยใหก้ ารเพ่ิมผลติ ภาพมีคา่ สงู สดุ มากกวา่ วิธอี น่ื ๆ เป็น
แนวทางทนี่ าเอาแนวทางท่ี 1 และแนวทางท่ี 4 เข้าด้วยกัน ผู้ปฏิบัตติ ้องใช้ความพยายามอยา่ งมากใน
การปรบั ปรุงกระบวนการผลติ วิธกี ารทางานทั้งหมด จนไม่มีการสูญเสียในกระบวนการผลิต แนวทางน้ี
จะเป็นวธิ กี ารเพิ่มผลติ ภาพหรือเพิ่มประสทิ ธิภาพด้วยตน้ ทนุ ตา่ " ใชท้ รัพยากรที่มอี ยู่ในองค์การอยา่ ง
ค้มุ คา่ หรือมปี ระสทิ ธภิ าวะสงู สดุ โดยเฉพาะการเพิ่มผลติ ภาพจากพนกั งานใหส้ งู ขึ้นและใหล้ ดความ
สูญเสยี ทเ่ี กิดจากตรวั ไหล" ตา่ ง ๆ ให้มากทส่ี ดุ ประหยัดได้ต้องประหยดั ลดกนั ทุกจุดที่ทาได้ ก็เท่ากับล
ตตน้ ทนุ

7.3 การใชป้ ัจจัยการผลติ (Input) เพิม่ ขึน้ ในขณะเดียวกนั ทาให้ผลผลิต(Output)
เพิ่มขึน้ ดว้ ย

แตก่ ารเพิ่มขนึ้ ของปัจจัยการผลติ (Input) จะต้องเพ่ิมในอัตราที่ต่ากว่าการเพ่ิมขนึ้ ของผลิตผล
(Output)มาทางนน้ี าไปใชใ้ นสภาวะเศรษฐกจิ กาลงั เติบโตต้องการขยายกจิ การและขยายธุรกิจให้ใหญ่
ขึ้น มีทนุ พอทจี่ ะจัดซ้ือเคร่ืองจกั รมาเพ่ิมข้นึ จา้ งแรงงานเพิ่ม ใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ ชว่ ยในการผลติ ลงทนุ ใน
ด้านปัจจยั การผลติ เพ่ิมขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับผลผลติ ทเ่ี พ่ิมข้นึ แล้วอตั ราสว่ นของผลผลติ ท่เี พิ่มจะ
มากกวา่ การเพิ่มของปจั จยั การผลิต

7.4 การใชป้ ัจจัยการผลิต (Input) ลดลงในขณะเดียวกันทาใหผ้ ลผลติ (Output) เท่าเดมิ

แนวทางนไ้ี ม่เพิ่มยอดการผลิต นัน่ คอื การใช้ปัจจัยการผลติ ที่มอี ยใู่ ห้เกิดประโยชน์สงู สดุ
เหมาะท่ีจะใช้กบั ช่วงทภี่ าวะเศรษฐกจิ ถดถอย ความต้องการของตลาดมีไมม่ ากนกั เช่น การประหยดั
นา้ ประหยดั ไฟขจัดเวลาท่สี ญู เสียตา่ ง ๆ การประหยดั ทรพั ยากรท่มี ีอยใู่ หใ้ ช้อยา่ งจากัดและลดความ
ฟุม้ เฟือยต่าง ๆ หาจุดไหลในการผลิตและลดจดุ ร่ัวน้นั ๆ

7.5 การใชป้ จั จัยการผลติ (Input) ลดลงในขณะทท่ี าให้ผลผลิต (Output) ลดลงดว้ ย

แต่การลดลาของปจั จยั การผลิต (Iกput) จะต้องลดลงในอัตราท่ีสูงกว่าการลดลงของผลติ ผล
(Output) แนวทางนี้ใชใ้ นภาวะทีค่ วามต้องการของสินคา้ หรือบรกิ ารในตลาดน้อยลง เช่น สภาวะที่
เศรษฐกจิ ถดถอย คนไม่มกี าลงั ซอื้ สนิ ค้าพุ่มเฟือยไม่มคี วามจาเป็นตอ่ การดารงชวี ิต เช่น รถยนต์
นา้ หอม เสือ้ ผา้ เคร่อื งประดับ สนิ คาเหล่าขายไมไ่ ด้มาก บริษัททผี่ ลิตต้องลดปริมาณการผลิตลง และ
พยายามลดปจั จัยการผลติ ให้มากกว่าดว้ ยเพ่ือใหก้ ารเพิม่ ผลิตภาพมีค่าสงู ข้นึ

แนวทางการเพ่ิมผลิตภาพในองค์การท้ัง 5 แนวทางท่กี ลา่ วมาจะไม่สามารถบอกไต้อย่างแนช่ ดั ว่า
แนวทางใดจะเหมาะสมกบั สภาวะเศรษฐกจิ อยา่ งไรได้ทง้ั หมด เพราะต้องพจิ ารณาทั้งผลิตผลและ
ปจั จัยการผลิตรว่ มกนั เพื่อหาแนวทางทเ่ี หมาะสมกบั องคก์ ารหรือหนว่ ยงานนน้ั ๆ แตโ่ ดยหลักการ
พนื้ ฐานแลว้ สามารถพิจารณาได้ดงั น้ี

1.หากดว้ ยงเพมิ่ ผลิตผลหรอื Output สงู นั้น เหมาะกับสภาวะเศรษฐกิจที่ตลาดขยายตวั
ผบู้ รโิ ภคกาลงั ซือ้ สงู สินค้กาลงั เปน็ ทตี่ ้องการของตลาด

2.หากลดผลิตผลลงหรือ Output ลดลง เหมาะกับสภาวะเศรษฐกิจถดถอย ซบเซา ตลาดหด
ตัวสินค้าไมเ่ ปน็ ทต่ี ้องการของตลาดขณะนนั้

3.หากเพิม่ ปจั จัยการผลติ นัน่ หมายถงึ ต้องการลงทุนเพ่ิมในช่วงเศรษฐกจิ เติบโต ตอ้ งม่นั ใจวา่
สินคา้ ท่ผี ลิตออกมาแล้วเป็นท่ีตอ้ งการของตลาด

4.หากลดปจั จัยการผลติ กจ็ ะหมายถึง ลดปจั จัยการผลติ ได้ในทกุ สภาวะเศรษฐกจิ เพราะเปน็
การแสดงให้เหน็ ถึงการใชท้ รัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่า

สรุป

จากแนวทางการเพ่ิมผลิตภาพดงั กลา่ วข้างตน้ หลายองค์การต่างกพ็ ยายามหาวธิ ีการเพิ่มผลติ
ภาพใหส้ ูงขน้ึ โดยเลือกใช้แนวทางใดแนวทางหน่ึงทสี่ อดคล้องกบั ปัจจัยการผลติ ขององค์การและ
เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกจิ โดยใหค้ วามสาคัญกับการใช้ทรัพยากรทม่ี ีอย่อู ยา่ งจากดั ใหเ้ กดิ
ประสิทธภิ าพสูงสดุ ในการท่จี ะทาให้การผลิตสนิ คา้ เพยี งพอกบั ความต้องการของลูกค้า และทาให้เกิด
การสญู เสียน้อยท่ีสุด โดยมแี นวทางการเพิม่ ผลิตภาพ 5 แนวทาง คอื

1) ปัจจยั การผลิตเท่าเตมิ ผลผลิตเพ่ิมขึ้น

2) ปัจจยั การผลิตลดลงผลผลิตเพิม่ ขน้ึ

3) ปัจจยั การผลิตเพิ่มขึ้นแต่เพ่ิมน้อยกว่าการเพมิ่ ของผลผลิต

4) ปัจจัยการผลิตลดลงผลติ ผลเทา่ เดมิ

5) ปจั จยั การผลิตลดลงแต่ลดลงมากกว่าการลดลงของผลผลิต

8.ความสญู เสยี ในการเพิ่มผลติ ภาพในองค์การ

ในปัจจบุ ันองค์การที่จะอยรู่ อดไดห้ รือแขง่ ขันได้ ต้องแสวงหาวธิ ีการในการปรบั ปรงุ การผลิต
การบรกิ าร เพอื่ เพิม่ คณุ ภาพ ลดต้นทนุ สง่ มอบทนั เวลา และมคี วามสามารถในการทากาไรและดาเนิน
กจิ การต่อไปใด้อย่างยง่ั ยืน การเพ่ิมผลติ ภาพและการลดตน้ ทนุ เปน็ แนวทางการพยายามลดความ
สญู เสยี ทกุ รปู แบบในกระบวนการทางานทกุ สายงาน ดังนั้นทุกคนในองคก์ ารจึงจาเป็นตอ้ งมีความรู้ มี
จติ สานึกการสังเกด คน้ หาสาเหตุของความสูญเสีย และหาแนวทางแก้ไข ป้องกัน ซึง่ เป็นหนทางทีใ่ ชใ้ น
การปรับปรงุ ผลิตภาพ เพื่อความอยูร่ อดขององค์การในระยะยาวตอ่ ไป ซ่ึงลกั ษณะความสูญเสยี
(Waste) สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 7 ประการ ดังนี้

8.1ความสูญเสียจากการผลิตมากเกนิ ไป(Over Production)

การผลติ ท่ีมากเกนิ ไปจึงต้องมีการเพ่ิมตนั ทุน วัตถุดบิ และคลังเกบ็ จนเกดิ ปัญหาเงินทุนจม

เสียเวลาในการผลติ เพราะฉะน้นั การผลิตต้องพอดแี ละเหมาะสมกบั ความต้องการของตลาด

8.2ความสูญเสยี ทเ่ี กดิ จากการรอคอย (Waste of Walting)

ความสูญเสียทเ่ี กดิ จากการรอคอย (Waste of Walting) อันเกิดจากการขาดความสมดลุ อนั
เนื่องมาจากการวางแผนการไหลของวัตถดุ ิบในกระบวนการผลิตทไ่ี ม่ลงตวั หรอื ไมด่ ีพอ ไม่ว่าจะเปน็
จากความไม่สมดลุ ความเรว็ ในการผลติ ความล่าข้าในการผลิต ระยะทางระหวา่ งกระบวนการผลิตที่
ห่างไกลกนั การเติมวตั ถุดิบในคลังสินค้า ความไม่สัมพันธ์ของเคร่อื งจักรอตั โนมัติกบั พนกั งานที่ทางาน
แบบ Manual หรอื แมก้ ระทง่ั จากความสามารถของพนักงานเก่ากับพนกั งานใหมใ่ นการส่งมอบงานตอ่
กัน เปน็ ต้น

8.3ความสูญเสียท่เี กดิ จากของเสยี มากเกนิ ไป(Waste of Defect)

ความสญู เสยี ทเี่ กดิ จากของเสียมากเกินไป (Waste of Defect) มักเกดิ จากการผลิตท่ี
ผดิ พลาด การผลิตเป็นจานวนมาก (Mass Production) การซ่อมหรือการปรบั แตง่ เครื่องจกั รท่ยี งั ไม่
ลงตัวหรอื เกิดจากการตรวจนับของเสยี ที่ผิดพลาด รวมถงึ จากการนางานเกา่ มาแก้ไขใหม่อีกดว้ ย

8.4ความสูญเสียที่เกิดจากการขนส่ง(Waste of Transportation)

ซ่ึงมอี ยหู่ ลายจะมาจาการเดินทางหรอื การเคลื่อนย้ายวตั ถดุ ิบทั้งก่อน ระหว่าง หรือหลงั
กระบวนการผลิต การจัดเกบ็ คลังสนิ คา้ /สินค้าคงคลงั การขนยา้ ยไปไว้ช่วั คราว ณ แห่งใดแห่งหน่ึง หรอื
การขนส่งวัตถดุ บิ /สนิ คา้ ก่งึ สาเร็จระหวา่ งโรงงาน เป็นต้น

8.5ความสูญเสียที่เกิดจากการคลงั สินค้าและสินคา้ คงคลงั (Waste of Warehouse
andInventory)

ความสญู เสียที่เกดิ จากการคลังสินคา้ และสินค้าคงคลงั (Waste of Warehouse
andInventory) คลงั สินค้าและสินค้าคงคลังมักเป็นการทางานคกู่ นั โดยจะต้องประสานกันในเรือ่ งของ
วัตถุดบิ ในการผลิต วัตถุดบิ ระหว่างการผลิต สินค้ากึ่งสาเร็จรปู หรอื สนิ ค้าสาเรจ็ รปู โดยจะตอ้ งไม่ใหม้ ี
การเกบ็ ไวม้ ากเกนิ ความจาเป็น หรือการใชใ้ นกระบวนการการผลิต รวมถึงการกาหนดพื้นท่ีในการเก็บ
รกั ษาและอุปกรณใ์ ชใ้ นการวางเรยี งจัดเกบ็ ภายในคลังสินค้า หากละเลยการใช้วัตถดุ ิบและสินคา้ ถึง
สาเร็จรูป หรือสาเรจ็ รปู ไวใ้ นสต๊อกนานจนเกดิ ความเสียหายจะจัดเปน็ ของเสยี

8.6 ความสูญเสียทเ่ี กิดจากการเคลอ่ื นไหวมากเกนิ ไป (Waste of Motion)

มักจะพบไดภ้ ายในโรงงานทั่วไปโดยเกดิ จากการออกแบบสภาพการทางานท่ีไม่เหมาะสม และ
ขาดมาตรฐานในการทางานส่งผลใหค้ ุณภาพของงานที่ออกมาไม่มคี วามสม่าเสมอ หรือต้องใชเ้ วลาใน
การทางานมากขึ้น

8.7 ความสญู เสียท่ีเกดิ จากกระบวนการการผลิตและกระบวนการทางานมากเกินไป (Wasteof
Processing)

มักจะมีการออกแบบกระบวนการผลติ /การทางานท่มี ีข้ันตอนมากเกินความจาเป็นจนนาไปสู่
ความชา้ ชอ้ นในการทางาน ความไมส่ ะดวกสาหรบั พนักงานในการทางาน รวมถงึ มีการตรวจสอบทุก ๆ
จุดกระบวนการทางาน ดงั นั้นการตรวจสอบกระบวนการผลิต การทางานท่ไี ม่ก่อใหเ้ กดิ ผลผลิตที่
เพิ่มขึ้นจึงเปน็ สงิ่ ทีค่ วรนามาทบทวนตลอดเวลา

สรปุ

ในกระบวนการผลติ มักจะพบวา่ มคี วามสญู เสียตา่ ง ๆ แฝงอยู่ไม่มากก็น้อยเป็นภาพและ
ประสิทธิผลของกระบวนการผลติ ต่ากวา่ ทีค่ วรจะเป็น เชน่ มกี ารผลติ ใช้เวลารอคอยนาน มีของเสยี มาก
เกนิ ไป มีความสูญเสียจากการขนส่ง มีมากเกินความจาเป็น ใชเ้ วลาในเคลอ่ื นไหวหรือเวลาทางานมาก
เกินไป กระบวนการผลติ ยงุ่ ยากทาใหต้ น้ ทุนสงู ซ่ึงทุกองคก์ ารตา่ งก็พยายามหาทางลดความสญู เสียต่าง
ๆ เหลา่ นท้ี ี่เกิดข้ึน การเพ่ิมผลติ ภาพทส่ี ามารถลดต้นทนุ และส่งมอบไดท้ ันเวลา จะสามารถทาให้
องค์การลดความสูญเสยี ทุกรูปแบบในกระบวนการทางานทุกสายงาน

9.เทคนิคการเพิ่มผลิตภาพในองค์การ

การเพิ่มผลิตภาพในองค์การน้ันสามารถท่จี ะทาการเพิ่มผลติ ภาพไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ การลด
เวลาในการผลติ (Cycle Time) การลดตน้ ทนุ ของวัตถุดบิ (Material COst) การลดจานวนของเสยี
(Defect Reduction) และอ่ืนๆซึ่งในหนว่ ยน้จี ะขอยกตวั อย่างเทคนิคในการเพม่ิ ผลติ ภาพในองค์การ
พอสังเขป ดังนี้

9.1เทคนิคการเพ่ิมผลติ ภาพด้านงาน

โดยพิจารณาจากการทางานที่ใชว้ ิธีการต่าง ๆ มาทาการวิเคราะห์การทางาน เช่น การศึกษา
การทางาน การวิเคราะห์ผลงาน การออกแบบระบบงาน การประเมนิ งานและผลงาน การวางแผนการ
ผลติ และหลกั การยศาสตร์ (Ergonomics)

9.2เทคนคิ การเพม่ิ ผลติ ภาพดา้ นเทคโนโลยี

เปน็ การนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทางาน เช่นการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรช์ ่วยในการ
ออกแบบ (Computer-Aided Design: CAD) ชว่ ยการผลิต (Computer-Aided Manufacturing:
CAM) ชว่ ยในการออกแบบวางแผนและควบคมุ กระบวนการผลิต ใชโ้ ปรแกรม Simulation Program
มาวิเคราะห์การทางานของผลติ ภณั ฑ์ และห่นุ ยนต์เขา้ มาช่วยในการผลติ เปน็ ต้น

9.3 เทคนิคการเพ่มิ ผลติ ภาพดา้ นรูปแบบการมีส่วนรว่ มของพนักงาน

ซ่ึงเก่ียวกับการใช้กิจกรรมกลุ่ม เช่น กลมุ่ ควบคมุ คณุ ภาพ (QCC) เขา้ มาชว่ ยลดจานวนของ
เสีย กจิ กรรม 5 ส ระบบการผลิตแบบโตโยต้า และระบบเสนอแนะ

9.4 เทคนิคการเพิม่ ผลิตภาพด้านคณุ ค่าและรปู แบบของผลิตภณั ฑ์

เป็นการใชเ้ รอ่ื งวศิ วกรรมคุณคา่ (Value Engineering) การใชท้ รพั ยากรให้คุม้ คา่ ที่สุด

การใชผ้ ลิตภณั ฑ์มาตรฐานในการผลิต ระบบการลอกเลยี นแบบความน่าเชื่อของผลติ ภัณฑ์ และการ
วจิ ัยและพฒั นา เป็นต้น

9.5 เทคนคิ การเพม่ิ ผลติ ภาพด้านวสั ดุ

เป็นการจดั การระบบของวสั ดุระบบวางแผนความองคก์ ารการบรหิ ารวัสดุ การควบคมุ วัสดุ
(Material RequirementPlanning: MRP) การควบคุมสนิ ค้าคุณภาพและระบบทนั เวลาพอ(Just in
Time: JIT) เปน็ ต้น

9.6 เทคนิคการเพม่ิ ผลติ ภาพดา้ นพนกั งาน

ซงึ่ เปน็ เรื่องเก่ียวกบั การให้เงินจงู ใจรายตัว รายกลุ่ม

สวสั ดกิ าร การเลอื่ นขั้น การหมุนเวียนเปล่ยี นงาน การมสี ว่ นรว่ มของพนกั งาน การบริหารโดย
วตั ถปุ ระสงค์การฝกึ อบรมการลงโทษ ของเสยี เป็นศูนย์ การบรหิ ารเวลา เสน้ โค้งการเรียนรงู้ าน เปน็ ต้น


Click to View FlipBook Version