The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-27 06:36:48

จัดทำโดย

จัดทำโดย

จัดทำโดย

นางสาว สุดารัตน์ ปฐมกานต์กุล
ม. 6/2 เลขที่ 43

นำเสนอ

คุณครู ทัศณี วิฑูรชาตรี

ลิมิต limit ลำดับ อนันต์

เมื่อ n มีค่ามากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด พจน์ที่ n ของลำดับมีค่ามากขึ้นไม่เข้าใกล้
จำนวนจริงใดจำนวนหนึ่ง ลำดับนี้จึงไม่มีลิมิตและไม่เป็นลำดับลู่เข้า เรียกลำดับ

อนันต์นี้ว่า ลำดับลู่ออก
ถ้า a1 , a2 , a3 , …, an , … เป็นลำดับอนันต์เรียกลำดับนี้ว่า ลำดับลู่ออก

ถ้า an ไม่ลู่เข้าสู่จำนวนจริงใด หรือมีค่ามากขึ้นหรือน้อยลงไม่มีขอบเขต
(1) ถ้า an ไม่ลู่เข้าสู่จำนวนจริงใด เมื่อ n มีค่ามากขึ้นแล้ว ลำดับอนันต์นี้ไม่มี

ลิมิต
n
8
8

8888
(2) ถ้า an มีค่ามากขึ้นไม่มีขอบเขต เมื่อ n เขียนแทนด้วย
lim an = +

n

3) ถ้า an มีค่าน้อยลงไม่มีขอบเขต เมื่อ n เขียนแทนด้วย lim an =

-

1. เมื่อ a1, a2, a3, …, an เป็นลำดับจำกัด เรียกผลบวกของทุก

พจน์ของลำดับในรูป a1+ a2+ a3+ … + an ว่า อนุกรมจำกัด

2. เมื่อ a1, a2, a3, …, an, … เป็นลำดับอนันต์ เรียกผลบวกของ
ทุกพจน์ของลำดับในรูป a1+ a2+ a3+ … + an+ … ว่า อนุกรมอนันต์
กำหนด a1+ a2+ a3+ … + an+ … เป็นอนุกรมอนันต์

ตัวอย่าง

1) จงหา lim 32x2+ 4x -5
x2 - x
x 8 3x2+ 4x -5
8
วิธีทำ

เมื่อ x จะได้ว่า lim x 2 - x

x 88
8
= โดยเอา x2หารตลอด

จะได้ lim 83x2+ 4x -5 = lim 3Xx2+ 4Xx2- 5
x2 - x x2 X2
x

2 X2
X

2
XX

3+4x - 5
= lim lim x2

( )x x
8
8

1

1- x

= 3 + 0 +0
1 -0

=3

ตัวอย่าง

2) จงหา lim x2- 3x + 9

x 2x3- 5x
88
88

8
วิธีทำ เมื่อ x จะได้ว่า lim x2- 3x +9
x 3

2x - 5x
3
เท่ากับ ดังนั้นควรหารด้วย x

8lim x2- 3 +9 = lim8 x3 x3 x3

x 2x - 5x33 x 2x - 5x3
x3 x 3

1_3+9

= lim x x 2 x 3

x 8

2- 5
x2

= 0-0+0

2-0

=0

2

=0

อนุกรม

ผลบวก ของลำดับ เช่น a1 + a2 + a3 + a4 + ...

อนุกรมเลขคณิ ต





ให้ sn เป็นผลบวก n พจน์แรกของลำดับเลขคณิต ดัง

นั้น sn = a1 + a2 + a3 + ... + an




- -s n=n n
2 (2 a+ n1) d ) หรือ Sn= 2 (a 1+ an )
1

อนุกรมเรขาคณิ ต



บทนิยาม อนุกรมที่ได้จาก ลำดับเรขาคณิต เรียกว่า
อนุกรมเรขาคณิต และ อัตราส่วนร่วมของลำดับ

เรขาคณิต จะเป็นอัตราส่วนร่วมของ อนุกรมเรขาคณิต
ด้วย

กำหนด a1, a1r, a1r2, …, a1r n-1 เป็นลำดับ
เรขาคณิต

จะได้ a1 + a1r + a1r2 + … + a1r n-1 เป็นอนุกรม
เรขาคณิต

ซึ่งมี a1 เป็นพจน์แรก และ r เป็นอัตราส่วนร่วมของ
อนุกรมเรขาคณิต

อนุกรมอนั นต์

นิยาม อนุกรมอนันต์ คือ อนุกรมที่มีจำนวนพจน์ไม่
จำกัด ; a1 + a2 + a3 + … + an + …
ถ้า
s1 = a1
s2 = a1 + a2
s3 = a1 + a2 + a3
:
:
sn = a1 + a2 + a3 + … + an
แล้ว s1 , s2 , s3 , … , sn แต่ละจำนวนเราเรียกว่า
“ ผลบวกย่อย “

ของอนุกรม a1 + a2 + a3 + … + an +
… และ เรียก s1 , s2 , s3 , … , sn ว่า

“ ลำดับผลบวกย่อยของอนุกรม “

ตัวอย่าง

1) จงหาผลบวกของ 1 + 2+ 3+ ...200

วิธีทำ a1 =1 , an= 200 , n = 200

s =
n2 ( a+ a )
n 1n

s = 200 ( 1+ 200 )
n 2

= 100 + 201
= 20,100

ตัวอย่าง

2) จงหาพจน์ที่ 15 ของลำดับ -5,-1, 3, 7, 11 ,...

วิธีทำ

an = a+ ( n-1 )d

1

a 1 = - 5 , n = 15 , d = -1-(-5)

= -1 + 5
=4

ดังนั้น a = -5 + (15 -1 )



= -5 + (14x4)



= -5 + 56

พจน์ที่15 ของลำดับ = 51


Click to View FlipBook Version