The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Active learning ลดเวลาเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ketsarin.ytn, 2021-10-12 23:05:31

Active learning ลดเวลาเรียน

Active learning ลดเวลาเรียน

42

รปู แบบกจิ กรรม ไดแ้ ก่
1) การทากิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม (3- 5 คน) ตั้งคาถามหรือปัญหาหลายๆ ประเด็น เพ่ือให้

ร่วมกนั ทาในแตล่ ะกลุ่ม และใหห้ มุนเวยี นคาถามกันไปทัว่ ห้องเพ่ือหาคาตอบหรือถามคาถามใหม่ ต่อจากนั้นให้
นักเรยี นแสดงผลที่ได้กบั ท้ังหอ้ ง และใหน้ ักเรียนท้ังห้องไดอ้ ภปิ รายถงึ แนวทางทีเ่ ปน็ ไปได้ของคาตอบที่เสนอ

2) งานกลุม่ บนกระดานดา ให้นักเรียนทง้ั กลมุ่ แสดงวธิ แี กป้ ัญหาทคี่ อ่ นขา้ งยากบนกระดานดา
3) การทบทวน ให้นักเรียนในห้องเป็นกลุ่มๆ แก้ปัญหาร่วมกัน เพ่ือทบทวนความรู้ที่เรียนมา
(แทนการถามตอบปัญหาทั่วไป) เม่ือแก้ปัญหาภายในกลุ่มแล้วจึงให้ท้ังกลุ่มมาแก้ปัญหาหน้าชั้นเรียนและให้
เพือ่ นในกลุ่มร่วมกันอภปิ ราย
4) การทาแผนผังความคิด แผนผังแนวคิดเป็นวิธีการหนึ่งที่แสดงถึงการเชื่อมโยงระหว่าง
แนวคิดท่ีจะเรียนรู้ในห้องเรียน นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเชื่อมโยงแนวคิดท่ีสาคัญเข้าด้วยกันโดยท่ัวไปการ
เชอื่ มโยงระหว่างแนวคิดจะมีความซบั ซ้อนและเป็นไปได้หลายแนวทาง
5) Jigsaw Group ให้แต่ละกลุ่มศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งจนเข้าใจ แล้วแยกไปต้ังกลุ่มใหม่ท่ี
สมาชิกมาจากกลุ่มที่ไม่ซ้ากัน ต่อจากน้ันจึงให้สมาชิกแต่ละคนเผยแพร่ความรู้ที่มีแก่สมาชิกของกลุ่มท่ีรวมกัน
ใหม่จนครบทุกคน
6) การแสดงสถานการณ์สมมติ ให้นักเรียนแต่ละคนแสดงสถานการณ์สมมติที่เก่ียวข้องกับ
เนื้อหาทเ่ี รยี น ผลจากการแสดงจะชว่ ยให้นกั เรยี นเขา้ ใจแนวคิดและทฤษฎที ่เี กยี่ วข้อง
7.) การระดมความคิดดว้ ยการเขียน ให้สมาชิกของกลุ่มระดมความคิดและเขียนแนวคิดเรื่อง
ประเดน็ หรือหวั ข้อทไ่ี ดเ้ รียนมาแล้วลงบนกระดาษ โดยเขียนทีละคนและไม่ให้ซ้ากัน ผลท่ีได้จะแสดงถึงความรู้
และความเขา้ ใจในเรอื่ งนน้ั
8) การเลน่ เกม เป็นกิจกรรมทเ่ี หมาะสาหรับการเรยี นการสอนเรือ่ งท่เี ขา้ ใจได้ยากและมีหลาย
แนวคิดอยูด่ ว้ ยกัน
9) การอภิปรายแบบมีผู้นาเสนอ เป็นกิจกรรมที่เหมาะสาหรับการนาเสนอของกลุ่มใดกลุ่ม
หน่ึงในเรอื่ งทไี่ ดร้ ับหมอบหมายตอ่ เพ่ือนรว่ มห้อง
10) การโต้วาที เป็นวิธีการท่ีดีวิธีหน่ึงท่ีส่งเสริมให้ผู้แสดงออกได้คิดและนาเสนอข้อมูลที่จัด
กระทาแล้ว การโต้วาทจี ะมที ้ังฝ่ายเสนอทที่ าหนา้ ทีส่ นบั สนนุ และฝา่ ยโต้แยง้
ศักดา ไชกิจภิญโญ (2548, หน้า 14) กล่าวถึงกิจกรรมในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกว่ามีหลายรูปแบบ
ดงั ต่อไปน้ี
1) Think-Pair-Share ผู้สอนต้ังปัญหา ผู้เรียนคิดหาคาตอบด้วยตนเองก่อนสัก 4-5 นาที
ตอ่ มาจบั ค่กู บั เพ่อื น อภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เห็นกัน หลังจากนัน้ จงึ สุ่มเรียกมานาเสนอหน้าช้นั
2) Minute Paper หลังจากบรรยายไป 15 นาที ผูส้ อนสงั่ ใหผ้ ูเ้ รียนสรุปท่ีเรียนไป 2 ประโยค
ใน 1 นาที แล้วให้จบั คู่แลกเปล่ียนความคดิ เห็น ผ้สู อนอาจสมุ่ เรียกผ้เู รียนมานาเสนอหน้าชนั้
3) Jigsaw ผู้สอนเลือกเน้ือหาท่ีสามารถแบ่งออกเป็นส่วนๆ ได้ หรือเลือกบทความที่มีเนื้อหา
สอดคล้อง (ใกล้เคียง) 3-4 ชิ้น แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มเท่าๆ กับเนื้อหา ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมา 1 คน เลือก
เน้ือหาท่ีเตรียมไว้ ให้อ่านทาความเข้าใจร่วมกัน หรือหาคาตอบร่วมกันในกลุ่ม แล้วกลับไปสอนที่กลุ่มด้ังเดิม
ของตนจนทกุ คนได้สอนครบ
4) Round Table แบง่ ผเู้ รียนเป็นกลมุ่ เพ่ือตอบคาถาม โดยแต่ละกลุ่มได้รับกระดาษคาตอบ
1 แผ่น และปากกา 1 ด้าม ให้แตล่ ะกลุ่มเขยี นคาตอบลงกระดาษ และเวียนให้กล่มุ อน่ื ดูคาถามคาตอบของกลุ่ม
ผสู้ อนอาจสุม่ เรียกมานาเสนอหน้าช้ัน

43

5) Voting ให้ผู้เรียนยกมือเพื่อตอบคาถามของผู้สอนในลักษณะแสดงความคิดเห็นด้วยและ
ไม่เห็นดว้ ย หรอื แข่งกนั ตอบ

6) End of Class Query สามนาทีสุดท้ายก่อนหมดคาบการสอน ให้ผู้เรียนสรุปการเรียนรู้
โดยเขยี นออกมา 2 ประโยค หรอื ให้ซกั ถามกอ่ นจบการสอน

7) Trade of Problem แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม ในแต่ละกลุ่มจะได้บัตรคาถามไม่เหมือนกันให้
แตล่ ะกลุม่ เขยี นคาตอบท่ีบัตรคาถามด้านหลัง เสร็จแล้วส่งให้เพ่ือนกลุ่มอ่ืน ในขณะเดียวกันกลุ่มตนเองก็ได้รับ
บัตรคาถามจากกลุ่มอื่น โดยยังไม่ให้ดูคาตอบ ให้สมาชิกในกลุ่มอ่านคาถาม และร่วมกันคิดหาคาตอบ เม่ือได้
คาตอบแลว้ ให้พลกิ ดูคาตอบของกลุ่มก่อนหน้านี้ ถ้าคาตอบตรงกันไม่ต้องเขียนอะไรเพิ่มเติม แต่ถ้าคาตอบของ
กลุ่มไม่เหมือนกับคาตอบกลุ่มอ่ืน ให้เขียนคาตอบลงหลังบัตรคาถามน้ันเป็นอีกคาตอบหน่ึง และให้ยื่นบัตร
คาถามส่งให้กลุ่มอื่นต่อไป ในขณะเดียวกันก็รับบัตรคาถามของกลุ่มอื่นมา ให้ทาเช่นเดียวกันนี้จนครบ ผู้สอน
รวบรวมบัตรคาถามท่ีมีคาตอบมากกว่าหนึ่งคาตอบ ให้ท้ังห้องร่วมอภิปรายหาคาตอบที่เป็นที่ยอมรับของทั้ง
ห้อง

8) Concept Map แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม แจกปากกาและแผ่นใสให้ ให้แต่ละกลุ่มเขียน
ประเด็นหลักที่ได้เรียนรู้ใส่ตรงกลางแผ่นใส พร้อมท้ังเขียนวงกลมล้อมรอบและเขียนประเด็นรองท่ีเกี่ยวข้อง
แลว้ วงกลมลอ้ มรอบเชน่ กัน แล้วเช่อื มโยงกับวงกลมประเด็นหลัก ซึ่งจะได้รูปร่างคล้ายลูกโซ่ต่อๆ กัน เป็นแบบ
ใยแมงมุมหรือเป็นรูปดาว ซงึ่ การดภู าพแบบแผนภูมเิ ช่นนจ้ี ะทาให้จดจาไดง้ ่ายหรือเขา้ ใจได้ง่าย

บญั ญตั ิ ชานาญกจิ (2551, หนา้ 6) ไดก้ ล่าวถงึ กลวธิ ที ที่ าใหเ้ กดิ การเรียนใฝ่รู้เชิงรกุ ดังนี้
1) ให้ผู้เรยี นเขียนสรปุ เรือ่ งทีผ่ ูส้ อนบรรยายหรือผเู้ รียนอภปิ รายท้งั ชั้น
2) ให้ผู้เรยี นอธิบายเร่อื งทตี่ นเองพูด
3) ให้ผู้เรียนผูกโยงปัญหาหรือเน้ือหากับความรู้ ประสบการณ์ของตนเอง พร้อมยกตัวอย่าง

ประกอบ
4) เขียนคาบรรยายของผู้สอนโดยใช้ถ้อยคาหรือสานวนของตนเอง พร้อมท้ังยกตัวอย่าง

ประกอบ
5) อธบิ ายทัศนะและมมุ มองของตนเองท่ีมองปญั หาน้นั แตกต่างจากคนอื่นในลักษณะมองต่าง

มุม
6) เขียนคาถามทต่ี นเองสงสยั และขอ้ งใจอยู่เพ่ือต้องการใหไ้ ด้คาตอบที่ชัดเจนหรือมเี หตผุ ล
7) ร่วมอภปิ รายในชั้นเรยี น

ณัฐพร เดชะ และสุทธาสินี เกสรประทุม (2550, หน้า 3-6) ได้กล่าวถึงกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิง
รกุ (Active Learning) ไวด้ ังนี้

1) กจิ กรรมเดยี่ ว
1.1) Minute Papers เป็นกิจกรรมการเขียนท่ีให้ระยะเวลาผู้เรียนในการเขียนตอบคาถาม

เป็นเวลา 1 นาที โดยกิจกรรมนี้สามารถใช้ได้ในทุกช่วงเวลาของการเรียนการสอนไม่ว่าจะเป็นก่อนเข้าสู่
บทเรยี น ระหวา่ งบทเรียน และท้ายบทเรียน เช่น ก่อนเริ่มเข้าสู่บทเรียน ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเขียนสรุปสิ่งที่ได้
เรียนไปเมอื่ ครง้ั ทแ่ี ล้ว ในช่วงระหวา่ งและท้ายบทเรยี นอาจถามว่าประเด็นสาคัญของหวั ข้อน้ีคืออะไร เปน็ ตน้

1.2) Writing Activities เป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการเขียนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเขียน
สรปุ เขียนรายงาน เขยี นตอบคาถาม เป็นต้น

44

1.3) Muddiest Point เป็นกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนเขียนในส่ิงที่ตนเองไม่เข้าใจ หรือยังไม่
กระจ่าง ซ่ึงกิจกรรมนี้จะเป็นประโยชน์สาหรับผู้สอน เพราะจะช่วยให้ผู้สอนในการเตรียมการสอนคร้ังต่อไป
เพราะจะทาใหท้ ราบว่าผสู้ อนยงั มีข้อสงสัยในจุดใดบ้าง เพอ่ื จะได้กลบั ไปเน้นยา้ ในจุดนน้ั อกี ครั้งหน่งึ

1.4) Affective Response เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเขียนแสดงความรู้สึกของตนเอง ท่ีมีต่อ
การเรียนการสอน หรือต่อรายวิชานั้นๆ เพ่ือทราบถึงสร้างทัศนคติ และสร้างทัศนคติท่ีดีให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
โดยการแสดงความรสู้ กึ นจ้ี ะไมม่ ีผลต่อคะแนน แตจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้สอนในการประเมนิ การสอนของตนเอง

1.5) Daily Journal ให้ผู้เรียนเขียนบันทึกกิจกรรมประจาวันของตนเอง โดยอาจใช้
เทคโนโลยเี พือ่ ช่วยเหลือในการทา คอื ให้ผู้เรียนใส่บันทึกของตนเองลงในอินเทอร์เน็ต หรือท่ีเรียกว่า การเขียน
Blog ซ่ึงจะเป็นการบูรณาการการสอนโดยการน าเทคโนโลยีมาใช้ ผู้สอนอาจใช้วิธีการให้ผู้เรียนเขียนแสดง
ความคิดเห็น หรือคิดวิเคราะห์เก่ียวกับหัวข้อท่ีได้เรียนไปในแต่ละครั้งลงใน Blog เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด
ทกั ษะในการคิด ไม่ว่าจะเปน็ การคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เป็นตน้

1.6) Reading Quiz กิจกรรมการอ่านประเภทต่างๆ เช่นการอ่านเพ่ือตอบคาถาม การอ่าน
เพ่ือสรุปใจความสาคญั

1.7) Concept Maps การใหผ้ ู้เรยี นสรุปความรู้หรือแนวคิดท่ีตนเองได้รับออกมาในภาพรวม
ในรูปแบบของภาพวาด แผนภาพ หรือการทา mind mapping ซ่ึงวิธีการน้ีจะเป็นประโยชน์อย่างมาก
โดยเฉพาะกับผู้เรียนท่ีมีปัญหาในการถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นภาษาเขียน แต่อาจมีความสามารถในการ
ถา่ ยทอดความร้อู อกมาเปน็ ภาษาภาพ

1.8) Poste/Drawing/Display การให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีผลงานออกมาอย่าง
เป็นรปู ธรรม

2) กิจกรรมกลมุ่
2.1) Think-Pair-Share เป็นกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนร่วมกันคิด ร่วมกันแก้ไขปัญหาเป็นคู่ๆ โดย

วิธีการน้ีสามารถปรับเปลี่ยนไปได้หลายรูปแบบ เช่น การให้ผู้เรียนต่างคนต่างหาคาตอบจากน้ันค่อยมา
แลกเปลี่ยนคาตอบกัน แล้วร่วมกันสรุปคาตอบขึ้นใหม่เป็นต้น

2.2) Brainstorming การระดมสมองช่วยกันคิดเป็นกลุ่ม โดยสามารถร่วมกันระดมสมองทั้ง
ห้อง หรอื แบง่ กลุม่ แลว้ ใหช้ ว่ ยกนั คิดเฉพาะในกลุ่ม จากนั้นจงึ มาแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ กนั

2.3) Games การเล่นเกมต่างๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับเน้ือหา
2.4) Debates การโต้วาที โดยการให้หัวข้อในการอภิปรายและให้ผู้เรียนเป็นผู้ค้นคว้าหา
ข้อมูลด้วยตนเอง จากน้ันจึงหาเหตผุ ลของท้งั สองฝ่ายมาโต้กัน กิจกรรมนี้มีประโยชน์อย่างมากในการฝึกทักษะ
กระบวนการคิดขนั้ สงู (Metacognition) เชน่ การคดิ อยา่ งมีเหตุมผี ล การคดิ วิเคราะห์ และสังเคราะห์
2.5) Teaching การสอนหรือการบรรยายซึ่งวิธีการสอนดั้งเดิมแบบน้ีก็สามารถนามา
ประยุกต์ให้มีความเป็นการจัดการเรียนรู้เชิงรุกได้เช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น การสอดแทรกการสาธิตเข้าไป
ระหวา่ งการบรรยาย หรอื การใชก้ ิจกรรมการเขียน หรือการบรรยายที่เรียกว่า “Guided Lecture” ซึ่งให้เวลา
ผู้เรียนในการฟังการบรรยายเป็นเวลา 20-30 นาที โดยไม่ให้มีการจด เม่ือจบการบรรยายจึงเปิดโอกาสให้
ผู้เรียนจดส่ิงที่ตนเองสามารถจดจาได้โดยให้เวลา 5 นาทีหลังจากน้ันจึงผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ เพื่อ
แลกเปลย่ี นส่งิ ที่ตนเองจดจาได้กับเพื่อนในกลุ่ม แล้วจึงมีการสรุปโดยผู้สอนอกี ครั้งหน่งึ
2.6) Jigsaw กิจกรรมนี้มีรูปแบบคล้ายคลึงกับการต่อจ๊ิกซอว์ คือการให้ข้อมูลเพียงบางส่วน
กับผู้เรียน จากน้ันผู้เรียนต้องศึกษาข้อมูลส่วนท่ีตนเองได้รับและไปแลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้กับเพื่อนในกลุ่มอีก
ทอดหนง่ึ

45

2.7) Demonstrations การสอนแบบการสาธิตทีท่ าให้ผเู้ รียนได้เห็นถึงข้ันตอนและวิธีการทา
สิ่งต่างๆ อย่างแท้จริง ซึ่งจะตรงกับหลักการของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในแง่ท่ีว่าการเรียนการสอนแบบนี้จะ
เนน้ ใหใ้ ช้สง่ิ ท่มี อี ยจู่ ริงท่ผี ู้เรยี นจะสามารถพบเหน็ ได้จรงิ

2.8) Socratic Method เป็นวิธีการสอนซ่ึงเน้นท่ีการต้ังคาถาม โดยดึงเอาหลักแนวคิดของ
นักปราชญ์ชาวกรีกผู้มีช่ือเสียงคือโสเครตีส (Socrates) วิธีการสอนแบบน้ีเน้นให้เกิดกระบวนการคิดขั้นสูงกับ
ผเู้ รียนมากกวา่ การมุ่งเน้นทก่ี ารหาคาตอบของคาถามนนั้

2.9) Wait Time การเว้นจังหวะให้เกิดความเงียบเพื่อรอคาตอบของผู้เรียนหลังจากท่ีผู้สอน
ถามคาถาม หรือการเว้นจังหวะของผู้สอน หลังจากที่ผู้เรียนตั้งคาถาม ซ่ึงมีงานวิจัยที่ชี้ชัดว่าการเว้นจังหวะให้
นานข้ึนเปน็ 3-5 วินาทีจะเกิดผลดีตอ่ ผู้เรยี นเพราะจะทาใหผ้ ูเ้ รียนมีคาตอบที่หลากหลายและยาวมากขนึ้

2.10) Student Summary of Student Answer ให้ผู้เรียนสรุปคาตอบของเพื่อนร่วมชั้นท่ี
ไดก้ ลา่ ว หรอื เขียนไปแล้ว โดยวิธีการนี้สามารถใช้เป็นวิธีการท่ีตรวจสอบความสนใจของผู้เรียนในห้องเรียนได้
อกี ด้วย

2.11) Fish Bowl เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเขียนคาตอบใส่กระดาษไว้แล้วผู้สอน นามา
รวบรวมใส่ไว้ในโถจากน้ันจึงสุ่มเลือกคาตอบนั้นข้ึนมาอ่านโดยจะบอกช่ือหรือไม่ก็ได้ จากนั้นจึงแสดงความ
คดิ เห็นต่อคาตอบนน้ั หรือจัดแบ่งประเภทคาตอบของผู้เรียน โดยอาจให้ผู้เรียนช่วยกันคิดเพ่ือจัดประเภทหรือ
ลงคะแนนเสยี งเพื่อคัดเลือกคาตอบที่ดที ส่ี ดุ นอกจากนี้วิธกี ารนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยนได้หลายรูปแบบ เช่น ให้
ผู้เรียนเขียนคาถามแล้วผู้สอนสุ่มเลือกเพื่อตอบคาถาม หรือให้ผู้เรียนเป็นผู้สุ่มเลือกคาตอบจากโถแทนผู้สอน
เปน็ ตน้

2.12) Finger Symbols การใช้สัญลักษณ์มือเพื่อส่ือความหมายหรืออารมณ์แทนการพูดซ่ึง
จะช่วยใหเ้ กิดความสนุกสนานและแปลกใหม่ในชนั้ เรยี น

2.13) Role Playing การแสดงบทบาทสมมติที่นอกจากจะช่วยให้เกิดความสนุกสนาน ยัง
กระตุน้ ให้ผ้เู รยี นเกดิ ความกลา้ แสดงออก

2.14) Panel Discussion การอภิปรายแบบกลุ่ม เช่นเดียวกับการโต้วาที วิธีการน้ีผู้เรียนจะ
ได้ฝึกทกั ษะกระบวนการคดิ ขั้นสูง (Metacognition) และเรียนรเู้ นอื้ หาไปพร้อมๆกัน

สรุปในการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ ผู้ควรใช้กิจกรรมในการจัดการเรยี นรู้ ดงั นี้
1) ตั้งคาถามส้ันๆ ครูตั้งคาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุก

คนได้คิดและตอบคาถาม
2) ทางานเป็นกลมุ่ ผเู้ รียนทางานเปน็ กลุ่มย่อยๆ ในงานทไ่ี ด้รับหมอบหมาย
3) ระดมความคิด ผู้เรียนทุกคนมีอิสระที่จะพูดและเสนอความคิดของตนกับกลุ่มที่แบ่งแล้ว

ให้ชว่ ยกันคิดเฉพาะในกลมุ่
4) นาเสนอหน้าช้ันเรียน เป็นการแสดงแนวความคิดท่ีได้ของกลุ่มจากการทางานกลุ่มและ

การระดมความคดิ
5) สรุปสิ่งท่ีเรียนด้วยตนเอง ก่อนหมดคาบการสอน ผู้สอนให้ผู้เรียนสรุปประเด็นสาคัญเพ่ือ

ตรวจสอบดวู า่ ผเู้ รียนเข้าใจมากน้อยเพยี งใด
6) ซกั ถามเมื่อเรียนจบ เมอื่ เรียนจบในแตล่ ะคาบ ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นซักถามสิ่งท่ีสงสัยและข้องใจ

เพอ่ื ให้ได้คาตอบที่ชัดเจนหรือมเี หตุผล

46

บทบาทของครใู นการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning)
Shenker; Goss and Bernstein (1996, pp. 20-22) กล่าวถึงบทบาทของผู้สอนในการนาการ

จัดการเรยี นรเู้ ชิงรุกไปใชใ้ นชัน้ เรียน ดังน้ี
1) การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเป็นการขยายทักษะการคิดวิเคราะห์ และการคิดอย่างมี

วิจารณญาณ ตลอดจนความสามารถของการประยุกต์เน้ือหาของผู้เรียน ดังนั้น จะต้องสื่อสาร การเรียนการ
สอนอย่างชดั เจน

2) การจัดการเรียนรู้เชิงรุกจะต้องส่งเสริมความรับผิดชอบในการค้นคว้า และส่งเสริมการ
เรียนรนู้ อกเวลาของผเู้ รียน รวมทัง้ การมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ

3) การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุกตอ้ งมุง่ เน้นให้ผูเ้ รียนคน้ หาคาตอบมากขนึ้ ดว้ ยตนเอง
4) การเรยี นแบบบรรยายในชั้นเรียนอาจจะครอบคลุมเน้ือหามากกว่า แต่เมื่อผู้เรียนออกจาก
ช้ันเรียนเนื้อหาท่ีมากจนไม่ชัดเจนจะทาให้ผู้เรียนลืม และไม่เข้าใจได้ ถึงแม้ว่าการจัดการ เรียนรู้อย่างมี
ชีวิตชีวาจะใช้เวลาสอนมากกว่า และเรยี นรู้มโนทัศน์ได้น้อยกว่า แต่ผู้สอนสามารถปรับแก้ได้โดยสอนมโนทัศน์
ท่ีสาคัญ และสื่อสารอย่างชัดเจนกับผู้เรียน ว่าผู้เรียนต้องเรียนรู้บางมโนทัศน์ด้วยตนเอง ซึ่งผู้เรียนทาได้ดี
เพราะผเู้ รียนมีความเข้าใจในมโนทัศนท์ ีไ่ ด้เรียนรแู้ ละสามารถนาไปใช้กับการเรยี นมโนทศั น์ใหมด่ ว้ ยตนเองได้
5) วิธีการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นฝ่ายรับความรู้ อาจทาให้ผู้เรียนมีมโนทัศน์ท่ีคลาดเคลื่อน ซ่ึง
เป็นผลจากการสอน ในขณะที่การจัดการเรียนรู้เชิงรุกช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหามากข้ึน เกิดความสนใจ
สนุกสนาน และเกดิ ทักษะในการวิเคราะห์ สามารถถ่ายโอนความรูค้ วามเขา้ ใจทเ่ี รียนได้
6) การจัดการเรียนรู้เชิงรุกวิธีการหนึ่งๆ ไม่ใช่วิธีการที่ดีที่สุดสาหรับผู้เรียนทุกคนผู้สอนต้อง
เลือกกลวิธีและกิจกรรมท่ีเหมาะสม ศึกษาข้อมูลท่ีผู้เรียนบางคนปฏิเสธ โต้เถียง และปรับกลวิธีการสอน ซึ่ง
การจัดการเรียนรเู้ ชิงรุกจะมคี วามยืดหย่นุ สงู สามารถปรับวิธกี ารใชก้ จิ กรรมและแหลง่ เรยี นรหู้ ลากหลาย ซ่ึงทา
ไดม้ ากกว่าการสอนแบบบรรยาย
Fink (1999, pp. 2-4) ได้เสนอการนาการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรกุ ไปใชใ้ นชนั้ เรียน ดังน้ี
1) ผ้สู อนสรา้ งสรรคก์ ิจกรรมหลากหลาย เพอ่ื ขยายประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนในการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก อีกทั้งผู้เรียนมีพื้นฐานและความสนใจต่างกัน ผู้สอนควรพิจารณากิจกรรมที่ส่งเสริม
ประสบการณ์ และการสนทนาส่อื สารให้มากข้ึน ตวั อยา่ งเช่น

1.1) แบ่งกล่มุ ยอ่ ย ให้ตัดสินใจหรอื ตอบคาถามท่ีสาคญั เป็นช่วงๆ
1.2) ค้นหาวิธีที่จะให้ผู้เรียนเกิดการสนทนาตามสภาพจริงในชีวิตกับบุคคลอ่ืนๆ ท่ี
เก่ียวขอ้ ง เช่น ดงึ ประสบการณ์ของผ้เู รียนเขา้ มาเชื่อมโยง เพื่อกระต้นุ ความสนใจของกลมุ่
1.3) ให้ผู้เรียนบันทึกการเรียนรู้ สร้างแฟ้มสะสมงาน บรรยายส่ิงท่ีเรียนรู้ ความคิด
ความรู้สึกจากการเรยี นของผู้เรียน
1.4) คน้ หาวิธที ีจ่ ะชว่ ยให้ผู้เรียนสังเกต (โดยตรงและโดยออ้ ม) ในวชิ าทเ่ี รยี น
1.5) ค้นหาวิธีให้ผู้เรยี นลงมือกระทาทง้ั ทางตรงและโดยออ้ ม
2) นาวิธีการปฏิสัมพันธ์มาก่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ประสบการณ์ที่ได้รับจากการลงมือ
กระทา จากการสังเกตกับการสนทนาสื่อสารกับตนเองและผู้อ่ืน อันเป็นการพัฒนาคุณค่าในตัวเอง สามารถ
นามาใช้ให้มากขึน้ เพื่อเพม่ิ ความหลากหลาย และความสนใจของผู้เรยี น โดยการจดั ลาดับกจิ กรรมให้เหมาะสม
กับการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับกิจกรรม ตัวอย่างเช่น ให้ผู้เรียน
ส่ือสารกับตนเองโดยเขียนความคิดเห็นของตน ก่อนเข้ากลุ่มอภิปรายย่อย (ส่ือสารกับผู้อื่น) กลุ่มอภิปรายควร
จะไดข้ อ้ คิดเหน็ มากข้ึน การสังเกตปรากฏการณจ์ ะกอ่ ให้เกิดการเรยี นรูท้ ีม่ ากข้นึ และตามด้วยการลงมือกระทา

47

ระหว่างการลงมือกระทา ผู้เรียนจะรับสัมผัสได้ดีข้ึนว่าตนเองจาเป็นต้องทาอะไร สิ่งใดจาเป็นต้องเรียนรู้ ใน
ที่สุดหลังการลงมือกระทา ผู้เรียนจะเข้าสู่กระบวนการสร้างประสบการณ์โดยการเขียน (ส่ือสารกับตนเอง)
และ/หรืออภิปรายกับผู้อ่ืน จะทาให้เข้าใจสิ่งต่างๆ ชัดเจนข้ึน ลาดับของกิจกรรมเช่นน้ีจะทาให้ผู้สอนและ
ผเู้ รียนได้รบั ประโยชน์จากการมีปฏิสมั พันธ์กัน

3) สร้างศักยภาพระหว่างประสบการณ์กับการสนทนาสื่อสาร หลักการมีปฏิสัมพันธ์ข้างต้น
ช่วยสร้างศักยภาพ กล่าวคือ ประสบการณ์ใหม่ (ทั้งจากการลงมือกระทา และการสังเกต) มีศักยภาพท่ีจะให้
ผู้เรียนได้รับมุมมองใหม่ว่าสิ่งใดมีเหตุผลที่อธิบายได้หรือไม่ได้ มีศักยภาพที่จะช่วยผู้เรียนสร้างความหมายต่อ
การเรยี นรู้ทเี่ ปน็ ไปไดม้ ากมาย ทาใหผ้ ้เู รียนเกิดการรแู้ จง้ และรบั ประสบการณ์ใหม่เพิม่ ข้นึ และลกึ ซึ้งขึน้

Center for Teaching Excellence, University of Kansas (2000, pp. 1-3) กล่าวถึงแนวทางใน
การจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ดังนี้

1) ผสู้ อนเปน็ ผู้ชน้ี า
การเรียนเร่ิมต้นจากความรูเ้ ดิมของผ้เู รียน ไมใ่ ช่ความรูข้ องข้อมูล ผู้สอนมีหน้าที่รับผิดชอบใน
การส่งเสริมและกระตุ้นแรงจูงใจของผู้เรียน สนับสนุนและวินิจฉัยการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยต้องปฏิบัติต่อ
ผ้เู รียนอยา่ งใหเ้ กียรตแิ ละเท่าเทยี มกัน ใหก้ ารยอมรับและสนับสนุนความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
2) ผู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการกาหนดจดุ มงุ่ หมาย
ผู้สอนเป็นผู้จัดหาจุดมุ่งหมายท่ีสาคัญให้แก่ผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างหรือเลือก
จุดมุ่งหมายเพ่มิ เตมิ
3) บรรยากาศในช้ันเรียนมีลักษณะเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน และสนับสนุนช่วยเหลือกันอย่าง
ต่อเนอ่ื ง
ผู้เรียนทุกคนรู้จักกันเป็นอย่างดี และเคารพในภูมิหลัง สถานภาพ ความสนใจ และ
จุดมุ่งหมายของกันและกัน ผู้สอนจะใช้การสอนที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนอภิปราย ทางานกลุ่ม และ
รว่ มมอื กนั ปฏบิ ัติงานอย่างมีชวี ิตชีวา
4) กจิ กรรมการสอนยดึ ปญั หาเปน็ สาคัญและแรงขบั เคลื่อนไหวในการเรียนรเู้ กิดจากผูเ้ รยี น
การเรยี นเรม่ิ จากปญั หาที่แทจ้ ริงซ่งึ เกีย่ วข้องกับจุดมุ่งหมายและความสนใจของผู้เรียนผู้เรียน
มีความยืดหย่นุ ในการเลอื กปัญหา จดั ระบบการปฏิบตั งิ านและตารางเวลาเพ่ือความก้าวหน้าด้วยตนเอง ผู้สอน
จะเริม่ สอนต้ังแต่ปัญหาง่ายๆ เพื่อให้เกิดมโนทัศน์ รูปแบบของกิจกรรมต้องลดความซ้าซ้อนของภาระงานท่ีไม่
จาเปน็ ให้อยใู่ นระดบั ตา่ สดุ ส่งเสริมและกาหนดใหผ้ ูเ้ รียนปฏิบตั ิงานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่
5) สนับสนนุ ใหม้ ีการประเมินผลอยา่ งต่อเนื่องเพื่อพฒั นาผูเ้ รยี นในด้านการประเมินผลนั้นควร
ทาการประเมินผลอย่างต่อเนื่องระหว่างการเรียนการสอนโดนเน้นที่การป้อนข้อมูลย้อนกลับ การประเมินผล
ทั้งหมดควรอิงเกณฑ์มากกว่าอิงกลุ่ม และให้ครอบคลุมข้อเท็จจริง มโนทัศน์และการประยุกต์ใช้ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ เปน็ การประเมนิ ตามสภาพจริงอยา่ งสม่าเสมอ ผ้เู รยี นไดร้ ับอนญุ าตให้แก้ไขงาน ปรับปรุงงานใหม่
หากการปฏบิ ตั งิ านนน้ั ไม่ได้มาตรฐานโดยระดับผลการเรียน พิจารณาจากงานที่มีการปรับปรุงแก้ไขแล้วผู้สอน
เป็นผู้มีบทบาทในการช่วยให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จ เกิดความภาคภูมิใจในความสาเร็จและความสามารถ
ของตน ให้คาแนะนาโดยเนน้ ให้ผเู้ รยี นปรบั ปรุงงานให้ดขี ้ึนมากกว่าการระบุขอ้ ผดิ พลาดเพื่อกลา่ วโทษ
6) การสอนเป็นการพัฒนามากกว่าการช้ีนา หรือการนาเสนอการสอนเน้นที่ความเข้าใจและ
การประยุกต์ใช้ความรู้มากกว่าการจดจาและการทาซ้า โดยให้ความสาคัญกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ยอมรับ
คาตอบท่ีหลากหลายมากกว่าคาตอบท่ีถูกต้องเพียงข้อเดียว เน้นการใช้เทคโนโลยี สื่อ และวิธีการใหม่ๆ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนชี้นาตนเอง และมีความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนเป็นผู้มีความ

48

กระตือรือร้น ในการส่งเสริมความรู้ มิใช่ผู้รับข้อมูลข่าวสารเพียงฝ่ายเดียว ผู้สอนเป็นผู้จัดหาแนวทางหรือ
แหล่งข้อมูลให้กับผู้เรียน รวบรวมข้อมูลและนาข้อมูลจากการเรียนรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ
รปู แบบและวิธีเรียนและช่วยผู้เรยี นแกป้ ัญหาดา้ นการเรียนรู้ของแตล่ ะบคุ คล ผู้สอนจึงเป็นผู้แนะแนวทาง ไม่ใช่
ผกู้ าหนดขนั้ ตอนกจิ กรรมให้ผูเ้ รียนปฏิบตั ติ ามทุกข้นั แต่ต้องเนน้ และให้ผ้เู รียนเกิดความคดิ เชงิ วเิ คราะห์

Lorenzen (2001, p. 5) กล่าวถึง บทบาทของครใู นการจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รุก ดงั นี้
1) พดู คุยกบั นักเรยี นในระหว่างการจัดการเรยี นรู้
2) จัดหอ้ งเรยี นให้เหมาะสมกับการมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้
3) ให้มีการอภิปราย การต้ังคาถาม และการเขยี นเพ่ือใหน้ ักเรยี นมสี ว่ นร่วม
4) ให้เวลานกั เรียนในการค้นหาคาตอบ ไม่เรง่ เรา้ เอาคาตอบจากนักเรียน
5) ใหร้ างวลั แกน่ ักเรียนที่มสี ่วนร่วมเพือ่ สรา้ งแรงจูงใจ
6) ใหเ้ วลากับนักเรยี นในช่วงท้ายคาบเพือ่ ใหน้ ักเรยี นถามคาถาม

ลาวลั ย์ พลกล้า (2553, หน้า 3) กล่าวถึงบทบาทของครูในการประสบการณแ์ บบปฏบิ ัตกิ าร ดงั น้ี
1) ต้องให้นักเรียนเข้าถึงบทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้แบบนี้ว่าต้องทาตามข้อปฏิบัติการ

ตอบและการสรุปต้องอาศัยการคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล
2) ต้องมีการเตรียมบทเรียนอย่างดี ให้มีความยากง่ายเหมาะกับความสามารถของนักเรียน

ระวงั อยา่ ให้นักเรยี นผดิ หวงั ตืน่ ตระหนกต่อความล้มเหลวของตนเอง ครูต้องให้เวลากับนักเรียนเพ่ือปรับตัวให้
คุน้ เคยกับวธิ ีการจดั การเรียนรูเ้ ชงิ รุก

3) การจัดการเรียนรูเ้ ชงิ รุกเปน็ การสอนท่เี น้นกระบวนการเรยี นรู้มากกว่าการรู้เน้ือหาหรือผล
คาตอบ ซึ่งต่างกับการจัดการเรียนรู้แบบดั้งเดิมท่ีมุ่งเน้ือหาและคาตอบ ถึงแม้ว่ากระบวนการเรียนรู้เป็นส่ิง
สาคญั อย่างหนงึ่ แต่เนอ้ื หาของคณติ ศาสตร์ตามหลักสูตรคณิตศาสตร์ก็ยงั มีความสาคัญท่ีจะต้องคานงึ ถึง

4) การทางานรายบุคคลและแบบกลุ่มย่อยต้องมุ่งให้นักเรียนรู้จักการระดมความคิด การหา
เหตผุ ล เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจเนอื้ หา

บุหงา วัฒนะ (2546, หน้า 32) กล่าวถึงบทบาทของครูในการดาเนินการที่จะทาให้เกิดบรรยากาศของ
การจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ดงั น้ี

1) การเตรยี มตัวใหพ้ ร้อมทจ่ี ะสอน หรอื ศึกษาขอบเขตและกรอบในการทางาน
2) ศกึ ษาฝ่ายผเู้ รียน วิเคราะห์จุดอ่อนจดุ แข็ง
3) จดั ระบบการเรยี นการสอน ซึง่ จะเน้นให้ผ้เู รยี นมสี ว่ นรว่ มมากท่ีสุด
4) รวบรวมทรพั ยากรและผลติ ขึ้นเพ่มิ เติม โดยเฉพาะส่ือต่างๆ
5) ดาเนนิ การพัฒนาผู้เรยี นและพัฒนางาน
6) ประเมนิ ผล-สรปุ ผล และพัฒนางาน
ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (2551, หน้า 3) กล่าวว่าการจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนเชิงรุก ผู้สอน
ควรมบี ทบาทดังน้ี
1) จัดให้ผู้สอนเป็นศูนย์กลางของการเรียน กิจกรรมหรือเป้าหมายที่ต้องการต้องสะท้อน
ความตอ้ งการทจ่ี ะพัฒนาผู้เรียน และเนน้ การนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ จริงของผู้เรียน
2) สรา้ งบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
ทีด่ ีกับผสู้ อน และเพื่อนในช้นั เรียน

49

3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมท่ี
สนใจรวมท้ังกระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียน กิจกรรมท่ีเป็นพลวัต ได้แก่ การฝึกแก้ปัญหา
การศึกษาด้วยตนเอง เป็นตน้

4) จัดสภาพการเรียนรู้แบบรว่ มมอื (Collaboratory Learning) สง่ เสริมใหเ้ กิดการร่วมมือใน
กลุ่มผเู้ รยี น

5) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนที่
หลากหลายมากกวา่ การบรรยายเพยี งอย่างเดียว แมร้ ายวิชาท่เี น้นทางด้านการบรรยายหลกั การและทฤษฎีเป็น
หลักก็สามารถจัดกิจกรรมเสริม อาทิ การอภิปราย การแก้ไขสถานการณ์ท่ีกาหนดเสริมเข้ากับกิจกรรมการ
บรรยาย

6) วางแผนในเร่ืองของเวลาการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในเรื่องของเน้ือหา และกิจกรรมในการ
เรียนท้ังนี้เน่ืองจากการจัดการเรียนรู้ท่ีกระตือรือร้นจาเป็นต้องใช้เวลาการจัดกิจกรรมมากกว่าการบรรยาย
ดังน้ันผู้สอนจาเป็นต้องวางแผนการสอนอย่างชัดเจน โดยสามารถกาหนดรายละเอียดลงในประมวลรายวิชา
เป็นต้น

7) ใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเห็นที่ผูเ้ รยี นนาเสนอ
จากแนวคดิ ดงั กล่าวของนกั การศกึ ษา สรุปได้วา่ บทบาทของครใู นการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ มดี งั นี้

1) จัดกิจกรรมให้หลากหลาย เร้าใจ และท้าทายความสามารถของผเู้ รียน
2) จัดหาสอ่ื การสอนที่เป็นรปู ธรรม และเหมาะสมกับเนือ้ หาทสี่ อน
3) สร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรียนการสอน
4) จดั กจิ กรรมใหผ้ ้เู รียนมีปฏสิ มั พันธก์ บั ผ้สู อนและเพ่ือนในชนั้
5) สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนไดม้ ีการค้นคว้า และระดมความคดิ
6) ผู้สอนต้องมใี จกว้าง ยอมรับความสามารถของผเู้ รยี น
7) ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเกิดความร่วมมอื กนั
8) วางแผนเวลาในการจัดการเรยี นรู้
9) ผู้สอนตอ้ งส่ือสารให้ชดั เจน
ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ (2550) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
แนวทางของ Active Learning ดังนี้
1) จัดให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการใน
การพัฒนาผเู้ รียนและเน้นการนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตจรงิ ของผูเ้ รยี น
2) สรา้ งบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
ท่ดี ีกับผสู้ อนและเพอ่ื นในช้นั เรยี น
3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม
รวมทง้ั กระตุ้นให้ผเู้ รยี นประสบความสาเรจ็ ในการเรียนรู้
4) จดั สภาพการเรยี นรแู้ บบร่วมมอื สง่ เสรมิ ให้เกิดการรว่ มมือในกลุม่ ผู้เรียน
5) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนท่ี
หลากหลาย
6) วางแผนเก่ียวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของเนื้อหาและ
กิจกรรม
7) ครผู ้สู อนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดของผเู้ รยี น

50

สรุป เทคนิคการการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง ที่ครูผู้สอน
วิชาต่างๆ ทุกคน จะตอ้ งศึกษาใหเ้ กิดความรู้และความเข้าใจในการท่ีจะนาไปสู่การปฏิบัติจริงในห้องเรียน
ให้มากทีส่ ุด เพราะการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เชิงรุก(Active Learning) เปน็ สิง่ จาเป็นในสังคมยคุ ปจั จบุ ัน

51

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2553). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครง้ั ที่2.
กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .

กาญจนา เกยี รตปิ ระวตั ิ. (2554). วิธสี อนทัว่ ไปและทกั ษะการสอน. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานชิ .
กิตตคิ ุณ รตั นเดชกาจาย. (2545). การสอนเป็นคณะกบั การนเิ ทศแบบรว่ มมือ ใน วารสารวชิ าการ 5(5), หน้า

36-38
กุลยา ตนั ติผลาชวี ะ. (2543). การสอนแบบจิตปัญญา. กรุงเทพฯ: เอิดสิ ัน เพรสโปรดกั ส์.
คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนเพลนิ พฒั นา. (2551). การจดั การเรยี นการสอนในศตวรรษที่ 21. เอกสาร

ประกอบการอบรมพัฒนาศักยภาพครโู รงเรียนเพลินพัฒนา. กรงุ เทพฯ: โรงเรยี นเพลนิ พฒั นา.
ณัชนัน แกว้ ชยั เจริญกิจ. (2550). ภาวะผ้นู าและนวตั กรรมทางการศึกษา: บทบาทของครูกับ Active

Learning. วันทค่ี น้ ขอ้ มูล 22 มีนาคม 2558. เขา้ ถึงได้จาก http://www.pochanukul.com
ณัฐพร เดชะ และสทุ ธาสนิ ี เกสรประทุม. (2550). Active Learning. รายงานการสรุปกจิ กรรมระหว่างวนั ที่

15-21 ตุลาคม 2555, หนา้ 1.
ดษุ ฎี โยเหลา และคณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ทไ่ี ด้จากโครงการสรา้ ง ชดุ ความรเู้ พอ่ื

สรา้ งเสริมทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ของเดก็ และเยาวชน: จากประสบการณ์ความสาเรจ็ ของโรงเรยี น
ทวีวัฒน์ วฒั นกลุ เจรญิ . (2551). การพฒั นารปู แบบการวดั ประเมินตามสภาพจรงิ จากการเรียนอิเล็กทรอนกิ ส์

ท่ีใชว้ ิธีการเรียนตามสถานการณ์ ทส่ี ง่ ผลตอ่ การรบั รู้ความสามารถของตนเองของผู้เรยี น ใน
สถานศึกษาระดับอุดมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
ไทย. กรุงเทพฯ: หจก. ทพิ ยวิสทุ ธิ
บัญญัติ ชานาญกิจ. (2551). เอกสารประกอบการอบรมเรื่อง Active Learning. นครสวรรค์: มหาวิทยาลยั
ราชภัฏนครสวรรค์
บหุ งา วฒั นะ. (2546). Active Learning ใน วารสารวิชาการ 6(9), หนา้ 30-34.
ประพิณพร เย็นประเสรฐิ . (2548). การพัฒนาแบบฝกึ การอ่านจบั ใจความภาษาไทย โดยใช้ส่ือทอ้ งถิน่ นนทบรุ ี
สาหรับนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3. กรงุ เทพฯ: สาขาการจดั การเรยี นรู้ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระ
นคร.
ปราวณี ยา สุวรรณณัฐโชต.ิ (2558). รปู แบบการสอนทเ่ี นน้ การเรียนรู้เชิงรุกตามวธิ กี ารสอนแบบห้องเรียนกลับ
ด้านเพ่ือส่งเสรมิ ความสามารถในการคิดวิเคราะหแ์ ละการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร
สาหรบั นิสิตครู. กรุงเทพฯ:ศูนย์นวตั กรรมการเรยี นรู้ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
ปรชี าญ เดชศรี. (2555). การเรยี นรู้แบบ Active Learning: ทาไดอ้ ยา่ งไร ใน การศึกษาวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี, 30(116), 53-55.
. (2555). ประกาศผลการประเมิน TIMSS. วนั ทค่ี ้นข้อมูล 17 มนี าคม 2558 เข้าถึงไดจ้ าก
http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9550000150408
พรเทพ รู้แผน. (2549). KM กับ Active Learning: ประสบการณในมหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ ใน
วารสารการจดั การความรู้มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์, 1(1), หน้า 1-5.
ลาวัลย์ พลกล้า. (2553). การสอนคณิตศาสตร์แบบปฏบิ ัติการ. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

52

วนดิ า บุษยะกนิษฐ์. (2552). ผลของการจัดประสบการณแ์ บบปฏบิ ตั ิการกับแบบปกติที่มีตอ่ ทักษะการ
เปรียบเทียบของเด็กปฐมวยั . ปรญิ ญานิพนธ์การศกึ ษามหาบัณฑติ . สาขาการศึกษาปฐมวัย, บัณฑิต
วิทยาลยั , มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.

ศกั ดา ไชกิจภิญโญ. (2548). สอนอยา่ งไรให้ Active Learning ใน วารสารนวัตกรรมการเรยี น การสอน. 2(2),
หน้า 12-15.

ศิรพิ ร มโนพเิ ชฐวฒั นา. (2547). การพัฒนารูปแบบการจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ แบบบรู ณาการท่เี นน้
ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการเรียนรูท้ ก่ี ระตือรือรน้ เร่อื งร่างกายมนษุ ย์. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์และทาปกเจรญิ
ผล.

ศนู ยพ์ ฒั นาการนิเทศและเร่งรัดคณุ ภาพการศึกษาขน้ั พื้นฐาน. (2559). แนวทางการนเิ ทศการจดั กจิ กรรมการ
เรยี นรู้เพ่อื พฒั นา 4H. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก.

สัญญา ภัทรากร. (2552). ผลของการจดั การเรียนรู้อย่างมชี ีวติ ชวี าทีม่ ตี อความสามารถในการแก้ปัญหาและ
การส่ือสารทางคณติ ศาสตร์ของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เร่ือง ความน่าจะเป็น.ปริญญาการศึกษา
มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการมธั ยมศกึ ษา, บัณฑิตวทิ ยาลยั , มหาวทิ ยาลัย ศรีนครินทรวโิ รฒ.

สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2553). แนวทางการจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร
แหง่ ประเทศไทย จากัด.
. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสตู ร ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย
จากดั .
. (2554). เพื่อนคู่คิด มิตรคู่ครู แนวทางการจัดการเรยี นรู้ประวัติศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุม
สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .
. (2557). แนวปฏิบตั ิการวดั ผล และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. พิมพค์ รง้ั ท่ี 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่
ประเทศไทย จากัด.
. (2558). แนวการจัดการเรยี นร้ปู ระวตั ิศาสตร์เพ่ือสรา้ งสานกึ ความเปน็ ไทย. พิมพ์คร้ังท่ี 2.
กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.
. (2559). คู่มือบริหารจดั การเวลาเรยี น “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้”. (อัดสาเนา).

สุชาดา แกว้ พิกลุ . (2555). การพฒั นากจิ กรรมคณิตศาสตร์ท่ใี ช้การจัดการเรียนการสอนอยา่ งกระตือรอื รน้
(Active Learning) โดยเนน้ การเรียนเป็นครู่ ว่ มกบั การบรหิ ารสมองเพือ่ สง่ เสริมผลสัมฤทธ์ิทาง
การเรยี นคณิตศาสตรแ์ ละความสุขในการเรียนของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ทมี่ ีผลสัมฤทธท์ิ าง
การเรียนต่า. ปริญญาการศกึ ษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการมัธยมศึกษา, บัณฑิตวทิ ยาลัย,
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

สุชาดา นทตี านนท์. (2550). ผลการจัดประสบการณแ์ บบปฏบิ ตั ิจริงทมี่ ตี ่อความคิดสร้างสรรคข์ องเด็กปฐมวัย.
ปรญิ ญานพิ นธ์. การศึกษามหาบณั ฑิต, สาขาการศึกษาปฐมวัย, บณั ฑิตวทิ ยาลัย, มหาวิทยาลยั
ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

อรทัย มูลคา และคณะ. (2542). วธิ จี ัดการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาความรูแ้ ละทักษะ. กรุงเทพฯ: ดวงกมล.
Baldwin J, and Williams H,. (1988). Active Learning: A Trainer’s Guide. England: Blackwell

education.

53

Bonwell Charles, C. and Eison James A. (1991). Active Learning: Creative Excitement in the
Classroom. Retrieved May 21, 2015 from http://www.ntlf.com/htlm/lib/bib/91-
9dig.htm.

Buffalo Educational Technology Center. (2001). Instructional Support Services State
University of New York. New York: Buffalo.

Campbell, E. & Piccinin, S. (1999). Active learning. Teaching Options, Teaching Technologies
in Center for University Teaching, University of Ottawa, 3 (1).

Center for Teaching and Learning. (1993). Action research. The Hong Kong University of
Science & Technology. Retrieved May 17, 2015 from http://celt.ust.hk/teaching-r
esources/action-research/ [15 August 2013]

Center for Teaching Excellence, University of Kansas. (2000). Problem-based learning. Virginia
Commonwealth University. Retrieved May 17, 2015 from
http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm 100

Copeland, R. W., (1974). How children learn mathematics: Teaching implications of Piaget’s
research. 2nd ed. New York, NY: Macmillan Publishing.

Cratty, B.J (1985). Active Learning. Houghton-Miffin. Retrieved May 17, 2015 from
http://hydro4.sci.fan.edu/~rjordan/active_learning.htm

Fink, Dee, L. (1999). Active Learning Handbook. Institute for Excellence in Teaching and
Learning, Faculty Development Center, Webster University.

Johnson, D. W.; et al. (1991). Active Learning: Cooperation in the College Classroom. Edina,
Mn: Interraction Book Company.

Krathwohl, D. R. (2002). “A Revision of Bloom’s Taxonomy : An Overview.” Theory
intoPractice. 41 No. 4. 212 – 218. [Cited 2016 Sept 8.] Available From :
http://www.unco.edu/ cetl/sir/stating_outcome/ documents/Krathwohl.pdf.

Kittisunthorn, C. (2003). Standards-based curriculum: The first experience of Thai teachers.
Doctoral Dissertation, Jamia Islamia University, Delhi, India.

Lorenzen, M. (2001). Active Learning and Library Instruction. Retrieved June 16, 2015 from
http://www.libraryinstruction.com.active.html

Marks, J, L. (1970). Teaching Elementary School Mathematics. New Yoek: McGraw- Hill, Inc.
Marlowe, W, L. and Page, C. (2005). The Sysmatic Design of Instruction. 6th. Boston: Allyn

Bacon.
Meyers, C., & Jones, T. B. (1993). Promoting active learning: Strategies for the college

classroom. SanFrancisco: Jossey-Bass.
Moore, B, N. (1994). Critical Thinking Evaluating Claims and Arquments in Everyday Life.

California: Mayfield.
Petty G. (2004). Active Learning Work: the evidence. Retrieved July 5, 2015 from

http://www.geoffpetty.com

54

Shenker, J, I.; Goss, S, A, and Bernstein, D, A. (1996). Instructor’s Resource Manual for
Psychology: Implementing Active Learning in the Classroom. Retrieved May 17, 2015
from http://s.psych/uiuc,edu/~jskenker/active.html

Silberman, M. (1996). Active Learning. Boston: Allyn&Bacon.
Staff of Center for Teaching & Learning at Carolina. (2001). Alternative Strategies and Active

Learning. Retrieved July 5,2015,from http://www.unc.edu/depts/ecl/fye2.html.


Click to View FlipBook Version