The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บ้าน ต้นทุเรียน หมู่ที่ 7

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pasiyah.63, 2021-09-01 13:32:49

บ้าน ต้นทุเรียน หมู่ที่ 7

บ้าน ต้นทุเรียน หมู่ที่ 7

บ้าน ต้นทเุ รยี น หมู่ท่ี 7 ตำบล ภเู ขาทอง อำเภอ สคุ ริ ิน จงั หวดั นราธวิ าส

บ้านตน้ ทเุ รียน แปลวา่ ต้นทเุ รยี น
ประวัตคิ วามเปน็ มาของหมู่บา้ น

ชาวบา้ นมาบกุ เบิกเพ่ือสรา้ งท่ีอยอู่ าศัยและทีท่ ำกินในพน้ื ที่ ได้พบต้นทุเรียนซงึ่ งอกขึน้ เอง
ตามธรรมชาติ จงึ เรยี กกันว่า บ้านต้นทุเรยี น และเมอ่ื ปี พ.ศ.2521 ทางการได้ประกาศจัดต้ังเป็น
หม่บู า้ น จึงให้ชอ่ื ว่า บ้านต้นทุเรียน ตามทชี่ าวบ้านเรยี กกัน และปัจจุบันนี้ยังคงมีต้นทุเรียนเหลืออยู่ประมาณ 5-
6 ต้น

สภาพทวั่ ไปของหมูบ่ า้ น
บ้านต้นทุเรียน เป็นที่ราบสูงมภี เู ขาลอ้ มรอบของหมู่บ้าน ถนนตัดผ่านระหวา่ งช่องเขาเช่ือมตอ่

ระหวา่ งหมู่บ้าน มีแม่นำ้ ไหลผา่ น กัน้ แบง่ เป็นเขตระหว่างหมบู่ า้ น
อาณาเขตติดตอ่

ทศิ เหนือ ติดต่อกับ บา้ นชุมทอง บ้านไอปาโจ ม.1 ตำบลภูเขาทอง
ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ บ้านโตะ๊ โมะ ม.3 ตำบลภูเขาทอง
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั บา้ นวังนำ้ เย็น ม.8 ตำบลภเู ขาทอง
ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั บ้านโต๊ะโม ม.3, บ้านชมุ ทอง ม.6 ตำบลภูเขาทอง
การคมนาคม เส้นทางการคมนาคมถนนลาดยางจากอำเภอถงึ หมู่บา้ น ระยะทาง 16.5 กิโลเมตร

สว่ นที่ 1 ลักษณะทั่วไป
1.1 ความเป็นของโครงการ
เนื่องจาก หมู่บ้าน บ้านต้นทุเรียน ยังไม่มีศาลาเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน เมื่อจะจัดกิจกรรมหรอื จะ

ประชุมชาวบา้ นไมม่ ีศาลาเอนกประสงค์ เม่อื สรา้ งศาลาเอนกประสงค์แลว้ จะเปน็ การชว่ ยบรรเทาความเดือดร้อน
ประกอบกบั เปน็ สง่ิ ท่ตี ้องการของประชาชนหม่บู า้ นตน้ ทุเรียน อยา่ งแทจ้ ริง

ทตี่ ง้ั (แผนที่สงั เขป)

1.2ลกั ษณะภูมิประเทศ(ภมู ิอากาศ/ฤดกู าล)

ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากมหาสมุทรอินเดีย
ประกอบกบั พ้ืนที่ท่ัวไปเป็นเทือกเขาสูงชนั และป่าทึบ จึงทำใหฝ้ นตกชุกเกือบตลอดทั้งปี ลักษณะภูมิกาศ เป็น
แบบมรสุม มี 2 ฤดู คอื

1. ฤดรู อ้ น อยรู่ ะหวา่ งเดอื นกุมภาพนั ธ์ ถึงเดอื น เมษายน

2. ฤดูฝน แบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งพัดเอาความชื้นจากทะเล
อันดามนั และมหาสมุทรอินเดยี ทำใหฝ้ นตกชกุ ในชว่ งเดือนพฤษภาคม ถึงเดือน ตุลาคม อีกช่วงหนึง่ คือ ชว่ ง
ที่รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดเอาความชืน้ จากอ่าวไทย ทำให้ฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง
เดือน มกราคม

1.3 ประชากร
จำนวนครัวเรือน 93 ครวั เรือน

• ชาย 113 คน
• หญิง 94 คน
• รวม 207 คน (มสุ ลมิ - คน พทุ ธ 207 8o

1.4 อาชีพ
• เกษตรกรรม
• สวนยางพารา
• สวนผลไม้

1.5ผลติ ภัณฑม์ วลรวมของหมูบ่ ้าน(Gross Village Produck:GVP)
รายไดเ้ ฉลย่ี /คน/ปี 38,130 บาท

1.6ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน
-

1.7ศลิ ปะ/วฒั นธรรม/ภูมิปญั ญาบ้าน
การจักสาน ทอผ้า

ประเพณบี ญุ บง้ั ไฟ

1.8สถานทที่ ่องเทย่ี ว/สถานบริการ
-

1.9 การคมนาคม(การเดนิ ทางจากอำเภอไปยงั หมบู่ ้าน)
ระยะทางการเดินทางจาก 16.5 กโิ ลเมตร

1.10 ประเพณ/ี เทศกาลประจำปี
จัดงานประเพณบี ุญบ้ังไฟ

จัดงานประเพณสี งกรานต์

จัดกจิ กรรมการบวชนาค

1.11 ทกั ษะ / ฝีมือ / แรงงานของหมู่บา้ น
ฝกึ อบรมและส่งเสรมิ กลมุ่ เพาะพนั ธย์ุ าง

ส่วนที่ 2 เนอ้ื หา/กระบวนการขบั เคล่ือน

จากการถอดบทเรยี นของ หม่บู า้ นกะลูบี ดงั นี้

จากการศึกษาวิเคราะห์ ตรวจสอบและประเมินสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกหมู่บ้าน โดย
วิธีการวิเคราะห์ “สวอท” หรือ “SWOT Analysis” หมู่บ้านได้ทำการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน เป็นการ
วิเคราะห์จุดแข็ง และจุดอ่อน ที่อยู่ในหมู่บ้าน โดยหมู่บ้านไม่สามารถควบคุมได้ในระยะส้ั นได้แก่ โครงสร้าง
วัฒนธรรม ทรัพยากร และวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โดยวิเคราะห์ปัจจยั ตัวแปร 2 ตัวแปร คือ โอกาส
และอุปสรรค ซึ่งอยู่ภายนอกหมู่บ้านที่มีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด และมีผลกระทบเกี่ยวข้องกับ
หมู่บา้ นโดยตรง ได้แก่ สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม การเมอื ง กฎหมาย และเทคโนโลยี

สรปุ ผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก ดังน้ี

จดุ แข็ง / จดุ เด่นของชมุ ชน จดุ อ่อน / จดุ ดอ้ ยของหมู่บ้าน

1.มีองค์กรหมบู่ า้ นท่เี ข้มแข็ง 1. . ระบบการส่อื สารโทรศพั ท์ไมส่ ามารถติดต่อ

2. มีแหลง่ เงินทุนจากกองทุนชมุ ชนในหมู่บ้าน ระหวา่ งภายในและภายนอกหมู่บา้ นได้

3. มสี ถานทปี่ ฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ทางศาสนา (สำนักสงฆ)์ 2. ระบบชลประทานและแหลง่ นำ้ เพื่อการเกษตรไม่
ทว่ั ถึงและบางส่วนยังไม่ไดใ้ ช้ประโยชนเ์ ตม็ ที่
4. มีความกลมเกลียวทางศาสนา ประเพณี และ
วฒั นธรรม 3. ระบบประปาภายในหมูบ่ ้านไมท่ ว่ั ถงึ

5. เปน็ หมู่บา้ นทมี่ ีโครงการศิลละปาชีพ 4. หมบู่ ้านอยหู่ ่างไกลจากอำเภอและจงั หวัดและตลาด
การคมนาคมไมส่ ะดวก
6. มีสภาพภูมอิ ากาศและดินเหมาะสมแก่การทำ
การเกษตร เชน่ ยางพารา ไม้ผล 5. ภยั ธรรมชาติ น้ำท่วม ดนิ ไหล ประจำทุกปี

7. มแี รท่ องคำธรรมชาติ 6. ไม่มกี ารบรู ณาการกองทนุ ชมุ ชนในหมบู่ า้ น

8. มีความสามัคคี ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั ภายในหมู่บ้าน 7. ไมม่ ีรถประจำทางวิง่ ผา่ นเข้าออก

9. เป็นหมบู่ ้านท่ีได้รบั การประกาศเป็นหมบู่ า้ นสันตสิ ขุ

โอกาสจากภายนอกหม่บู ้าน อปุ สรรคจากภายนอกหมบู่ า้ น

1.มีหน่วยงานหลักในการสรา้ งความเข้มแข็งให้แตล่ ะ 1. . ผลกระทบจากปจั จัยภายนอกทีส่ ่งผลต่อเศรษฐกจิ
หมบู่ ้าน เชน่ พัฒนาชุมชน สาธารณสุข ปศสุ ัตว์ ประมง เช่น นำ้ มนั ราคาแพง ฯลฯ
เกษตร และนิคมฯ
2. ราคาผลผลติ การเกษตรไม่แน่นอน
2. เงนิ กองทุนหมู่บา้ น, SML
3. ตน้ ทุนการผลิตสูงขึน้ จากภาวะราคานำ้ มนั
3. โครงการพระราชดำริ ดา้ นศิลปาชพี
4. ปจั จยั การผลติ มีราคาสูงข้ึน เชน่ ปุ๋ย
4. โอกาสเขา้ เฝา้ รับเสดจ็ ฯ
5. สถานการณค์ วามไมส่ งบในพื้นที่ 3 จังหวดั
5. เงนิ มูลนิธิ CCF ชายแดนภาคใต้

จากการถอดบทเรยี นโครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ ประชาชนระดบั หมบู่ ้าน ประจำปี 2551

โครงการ สร้างศาลาเอนกประสงค์หม่บู ้าน บ้าน ตน้ ทเุ รียน ดงั น้ี

2.1วธิ ีการขบั เคลื่อน (SWOT)
- จดุ แข็ง (Strength)

(1)เป็นโครงการท่ที ำให้คณุ ภาพชีวติ และสุขภาพ ของชาวต้นทเุ รยี นดีขน้ึ

(2)มกี ารประสานการทำงานของผปู้ ระสานโครงการและหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง เป็นอยา่ งดี

(3)คณะกรรมการมีการประชาสมั พันธโ์ ครงการทีไ่ ด้ดำเนนิ การใหช้ าวบ้านไดท้ ราบ

(4)ประชาชน(ชาวกต้นทุเรียน)มีการตรวจสอบการดำเนินการโครงการฯของคณะกรรม
ผบู้ รหิ ารโครงการ ตลอด

(5)โครงการดังกล่าว เปน็ ความตอ้ งการของประชาชนอย่างแท้จริง

(6)โครงการดังกล่าวถือว่าเป็นการได้ใจประชาชนอย่างแท้จริง เนื่องจากเป็นการแสดงถึง
ความหว่ งใย ของหน่วยงานราชการ ตอ่ การดำเนินชวี ิตของประชาชน

- จุดออ่ น(Weakness)
งบประมาณยังไม่เพยี งพอต่อการดำเนนิ งาน

- โอกาส(Opportunity)
(1)การดำเนินโครงการดังกล่าว ประชาชนมีการร่วมแรง แรงใจ ในการช่วยทำงาน
เพอื่ ชุมชนของตนโดยไม่มกี ารรบั ค่าแรงใดๆ ถือเปน็ การสรา้ งจติ สำนึกรกั บ้านเกิดและ
เป็นการเสียสละเพ่ือสว่ นรวม/ชมุ ชนของตน

(2)ประชาชนได้เกิดการทำงานรว่ มกันในชมุ ชนเพ่อื ประโยชน์ของชมุ ชนอย่างแท้จรงิ

(3)จากโครงการดงั กล่าวถอื เป็นการแสดงถึงความหว่ งใยของหน่วยงานราชการทีม่ ีต่อ
วิถชี วี ติ ของประชาชน

(4)ทำให้ประชาชนไว้วางใจหน่วยงานราชการมากขึ้นและกล้าเข้าหาข้าราชการมาก
ขึน้

- ข้อจำกดั (Threat)
(1)งบประมาณยังไมเ่ พยี งพอต่อการดำเนนิ งาน

2.2ปัจจัยแหง่ ความสำเร็จ(Key Success Fact : KSF)
(1)ประชาชนในหม่บู า้ นมีความสามคั คี และเสยี สละ

(2)หน่วยงานราชการที่ลงพื้นที่กับประชาชนในหมู่บ้านมีการประสานงานและให้คำปรึกษา
ต่อการดำเนินโครงการดังกลา่ ว ตลอดและเป็นอย่างดี

2.3ปจั จัยแหง่ การนำไปสคู่ วามย่ังยืน
(1) ประชาชนในหมู่บา้ นมคี วามสามัคคี และเสียสละ

(2) หน่วยงานราชการที่ลงพื้นที่กับประชาชนในหมู่บา้ นมีการประสานงานและให้คำปรึกษา
ตอ่ การดำเนินโครงการดงั กลา่ ว ตลอดและเปน็ อยา่ งดี

(3) ข้าราชการ และประชาชน มีการประสานการทำงาน/ให้คำปรึกษา เป็นอย่างดี ทำให้รู้จัก
และเข้าใจ เกดิ การไวว้ างใจ กันมากข้นึ

2.4ขอ้ เสนอแนะ
-

2.5ปญั หา อปุ สรรค
(1) งบประมาณยังไมเ่ พียงพอต่อการดำเนนิ งาน

................................................................................................................


Click to View FlipBook Version