บ้าน โนนสมบรู ณ์ หมู่ท่ี 5 ตำบล ภเู ขาทอง อำเภอ สุคริ นิ จังหวัดนราธวิ าส
บ้านโนนสมบูรณ์ แปลวา่ เนินเขาท่ีมคี วามอุดมสมบรู ณ์ ตามช่ือของนายสมบูรณ์
ประวตั ิความเปน็ มาของหมู่บา้ น
ในปี 2506 ได้มีการจัดตั้งนิคมสร้างตนเองภาคใต้ จังหวัดนราธิวาส มีการอพยพราษฎรที่มี
ฐานะยากจน และไม่มีที่ดินทำกินของตนเองจากท้องที่ต่าง ๆ เข้ามาประกอบอาชีพ ในวันที่ 1 มีนาคม 2520
กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจดั ตั้งก่งิ อำเภอสุคริ ิน อำเภอแวง้ จงั หวดั นราธิวาส และได้จดั สรรท่ดี ินทำกนิ ให้กับ
ประชาชน ลักษณะเปน็ พื้นที่เนนิ เขาสลับกบั ท่รี าบ ซง่ึ มีความอุดมสมบรู ณ์ โดยมีนายสมบรู ณ์ เป็นชาวบ้านที่มา
อาศยั อยบู่ นเนนิ เขา เปน็ คนแรก ก่อนมีการจัดตง้ั หมู่บา้ น ชาวบา้ นเรียกกนั วา่ บา้ นเนนิ สมบรู ณ์ ตามช่ือของนาย
สมบูรณ์ ตอ่ มามีการประกาศจดั ตั้งหม่บู ้านเป็นทางการ จึงได้ช่ือว่า บ้านโนนสมบรู ณม์ าจนปจั จุบนั
สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
บ้านโนนสมบูรณ์ประกอบไปด้วยสภาพพื้นที่เป็นภูเขาและสภาพพื้นที่เป็นเนินสูง ช่องว่าง
ระหว่างภูเขาทองมที ี่ราบลุม่ บ้างและมีลำน้ำไหลผ่าน จึงเป็นสภาพพื้นท่ีท่ีมคี วามเหมาะสมกับการทำการเกษตร
สภาพพน้ื ที่ที่ปกคลุมดว้ ยพน้ื ทปี่ า่ ไมแ้ ละมสี ภาพท่อี ุดมสมบรู ณ์
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับบ้านกะลูบี ,บ้านไอจือเราะตำบลมาโมง
ทิศใต้ ติดตอ่ กับบ้านไอปาโจ,บา้ นตน้ ทเุ รยี น ตำบลภเู ขาทอง
ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับบา้ นยาเด๊ะ ตำบลมาโมง
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กับบ้านไอตีมุง ตำบลมาโมง
การคมนาคม เสน้ ทางคมนาคมถนนลาดยางและถนนลูกรงั จากอำเภอถงึ หมู่บา้ น ระยะทาง 15 กโิ ลเมตร
สว่ นท่ี 1 ลักษณะทั่วไป
1.1 ความเป็นของโครงการ
เน่ืองจาก หม่บู ้าน บ้านโนนสมบรู ณ์ ไมม่ เี คร่ืองครัวประกอบอาหารจะต้องเช่าจากหมู่บ้านข้างเคียงเม่ือ
จดั ซ้อื เครื่องครัวแลว้ จะประหยัดค่าใช้จ่าย และเปน็ การชว่ ยบรรเทาความเดือดร้อนประกอบกับเป็นสิ่งที่ต้องการ
ของประชาชนหม่บู า้ นโนนสมบรู ณ์ อย่างแท้จริง
1.2ที่ตั้ง(แผนท่ีสงั เขป)
1.3ลกั ษณะภมู ิประเทศ(ภูมิอากาศ/ฤดกู าล)
ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากมหาสมุทรอินเดีย
ประกอบกับพื้นที่ทั่วไปเป็นเทือกเขาสูงชันและป่าทึบ จึงทำให้ฝนตกชุกเกือบตลอดทั้งปี ลักษณะภูมิอากาศ
เป็นแบบมรสุม มี 2 ฤดู คอื
1. ฤดรู อ้ น อยรู่ ะหวา่ งเดือนกุมภาพันธ์ ถงึ เดอื น เมษายน
2. ฤดูฝน แบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งพัดเอาความชื้นจากทะเล
อนั ดามันและมหาสมทุ รอนิ เดีย ทำให้ฝนตกชุกในช่วงเดอื นพฤษภาคม ถงึ เดอื น ตุลาคม อกี ชว่ งหนง่ึ คอื ช่วง
ที่รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดเอาความชืน้ จากอ่าวไทย ทำให้ฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง
เดอื น มกราคม
1.4 ประชากร
จำนวนครวั เรือน 109 ครัวเรอื น
• ชาย 161 คน
• หญงิ 166 คน
• รวม 327 คน (มสุ ลมิ 36 คน พุทธ 291 คน)
1.5 อาชพี
• เกษตรกรรม
• สวนยางพารา
• สวนผลไม้
1.6ผลิตภัณฑม์ วลรวมของหมูบ่ ้าน(Gross Village Produck:GVP)
รายได้เฉลย่ี /คน/ปี 38,311 บาท
1.7ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน
-
1.8ศลิ ปะ/วฒั นธรรม/ภมู ิปญั ญาบ้าน
การจกั สาน ทอผ้า
ประเพณีบุญบง้ั ไฟ
การจักสานยา่ นลเิ ภา
1.9สถานทที่ อ่ งเทีย่ ว/สถานบรกิ าร
-
1.10 การคมนาคม(การเดินทางจากอำเภอไปยังหม่บู า้ น)
ระยะทางการเดินทางจาก 15 กิโลเมตร
1.11 ประเพณี/เทศกาลประจำปี
จัดงานประเพณีบญุ บ้ังไฟ
จดั งานประเพณีสงกรานต์
จัดกจิ กรรมการบวชนาค
1.12 ทกั ษะ / ฝีมือ / แรงงานของหมู่บ้าน
ฝึกอบรมและส่งเสรมิ กลุ่มเพาะพันธ์ยุ าง
ส่วนท่ี 2 เนือ้ หา/กระบวนการขบั เคล่อื น
จากการถอดบทเรยี นของ หมูบ่ า้ นโนนสมบรู ณ์ ดังน้ี
จากการศึกษาวิเคราะห์ ตรวจสอบและประเมินสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกหมู่บ้าน โดย
วิธีการวิเคราะห์ “สวอท” หรือ “SWOT Analysis” หมู่บ้านได้ทำการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน เป็นการ
วิเคราะห์จุดแข็ง และจุดอ่อน ที่อยู่ในหมู่บ้าน โดยหมู่บ้านไม่สามารถควบคุมได้ในระยะสั้นได้แก่ โครงสร้าง
วัฒนธรรม ทรัพยากร และวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โดยวิเคราะห์ปัจจัยตัวแปร 2 ตัวแปร คือ โอกาส
และอุปสรรค ซึ่งอยู่ภายนอกหมู่บ้านที่มีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด และมีผลกระทบเกี่ยวข้องกับ
หมบู่ ้านโดยตรง ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม การเมอื ง กฎหมาย และเทคโนโลยี
สรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก ดังน้ี
จดุ แข็ง / จดุ เดน่ ของชุมชน จุดอ่อน / จดุ ด้อยของหมู่บ้าน
1. . มอี งคก์ รหม่บู า้ นท่ีเข้มแข็ง 1. . ระบบการส่ือสารโทรศพั ทไ์ มส่ ามารถตดิ ต่อ
2. มแี หล่งเงนิ ทุนจากกองทุนชมุ ชนในหมู่บา้ น ระหว่างภายในและภายนอกหมูบ่ ้านได้
3. มสี ถานทป่ี ฏิบตั ศิ าสนกิจทางศาสนา (วดั ) 2. ระบบชลประทานและแหลง่ นำ้ เพือ่ การเกษตรไม่
ท่วั ถึงและบางสว่ นยังไม่ได้ใช้ประโยชนเ์ ตม็ ที่
4. มคี วามกลมเกลยี วทางศาสนา ประเพณี และ
วฒั นธรรม 3. ระบบประปาภายในหมบู่ ้านไมท่ ่วั ถงึ
5. เป็นหม่บู ้านท่ีมีโครงการศิลปาชพี 4. หมู่บา้ นอยหู่ า่ งไกลจากอำเภอและจงั หวัดและตลาด
การคมนาคมไมส่ ะดวก
6. มีสภาพภูมิอากาศและดนิ เหมาะสมแกก่ ารทำ
การเกษตร เช่น ยางพารา ไม้ผล 5. ภยั ธรรมชาติ นำ้ ทว่ ม ดินไหล ประจำทุกปี
7. ความรัก ความสามคั คี เอื้ออากร ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและ 6. ไมม่ กี ารบรู ณาการกองทุนชมุ ชนในหมู่บ้าน
กนั ภายในหมูบ่ ้าน 7. ประชาชนมีหน้ีสินทง้ั ในและนอกระบบ
8. เป็นหมู่บ้านทีไ่ ดร้ ับการประกาศเป็นหมู่บา้ นสนั ติสขุ
โอกาสจากภายนอกหมบู่ า้ น อุปสรรคจากภายนอกหมบู่ า้ น
1. . มีหนว่ ยงานหลักในการสรา้ งความเข้มแข็งใหแ้ ต่ละ 1. . ผลกระทบจากปัจจยั ภายนอกท่ีสง่ ผลต่อเศรษฐกิจ
หมบู่ ้าน เช่น พัฒนาชุมชน สาธารณสุข ปศสุ ัตว์ ประมง เช่น นำ้ มันราคาแพง ฯลฯ
เกษตร และนิคมฯ
2. ราคาผลผลิตการเกษตรมีความผันผวน
2. เงินกองทุนหมู่บา้ น, SML
3. ต้นทุนการผลติ สงู ข้นึ จากภาวะราคานำ้ มัน
3. โครงการพระราชดำริ ดา้ นศิลปาชีพ
4. ปจั จัยการผลิตมีราคาสูงขึ้น เช่น ปยุ๋
4. โอกาสเข้าเฝา้ รบั เสด็จฯ
5. สถานการณค์ วามไมส่ งบในพื้นท่ี 3 จงั หวัดชายแดน
ภาคใต้
จากการถอดบทเรียนโครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชนระดบั หมู่บ้าน ประจำปี 2551
โครงการ ตอ่ เติมและปรบั ปรุง/ซ่อมแซมประปาหมบู่ า้ น บา้ น โนนสมบรู ณ์ ดังนี้
2.1วิธีการขับเคลอื่ น (SWOT)
- จุดแข็ง (Strength)
(1)เปน็ โครงการทท่ี ำให้คุณภาพชวี ิตและสขุ ภาพ ของชาวโนนสมบูรณ์ดขี นึ้
(2)มกี ารประสานการทำงานของผู้ประสานโครงการและหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง เปน็ อย่างดี
(3)คณะกรรมการมกี ารประชาสมั พนั ธ์โครงการที่ได้ดำเนนิ การให้ชาวบา้ นไดท้ ราบ
(4)ประชาชน(ชาวโนนสมบูรณ์)มีการตรวจสอบการดำเนินการโครงการฯของคณะกรรม
ผ้บู ริหารโครงการ ตลอด
(5)โครงการดงั กล่าว เป็นความต้องการของประชาชนอยา่ งแท้จริง
(6)โครงการดังกล่าวถือว่าเป็นการได้ใจประชาชนอย่างแท้จริง เนื่องจากเป็นการแสดงถึง
ความหว่ งใย ของหน่วยงานราชการ ต่อการดำเนนิ ชวี ิตของประชาชน
- จุดออ่ น(Weakness)
งบประมาณยงั ไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน
- โอกาส(Opportunity)
(1)การดำเนินโครงการดังกล่าว ประชาชนมีการร่วมแรง แรงใจ ในการช่วยทำงาน
เพ่ือชุมชนของตนโดยไมม่ กี ารรับค่าแรงใดๆ ถอื เปน็ การสร้างจิตสำนกึ รกั บ้านเกิดและ
เป็นการเสียสละเพ่ือสว่ นรวม/ชุมชนของตน
(2)ประชาชนไดเ้ กิดการทำงานรว่ มกนั ในชมุ ชนเพ่ือประโยชนข์ องชุมชนอย่างแท้จริง
(3)จากโครงการดังกล่าวถือเป็นการแสดงถึงความห่วงใยของหน่วยงานราชการท่ีมีต่อ
วถิ ีชวี ติ ของประชาชน
(4)ทำให้ประชาชนไว้วางใจหน่วยงานราชการมากขึ้นและกล้าเข้าหาข้าราชการมาก
ข้นึ
- ข้อจำกดั (Threat)
(1)งบประมาณยังไมเ่ พียงพอต่อการดำเนนิ งาน
2.2ปจั จยั แห่งความสำเร็จ(Key Success Fact : KSF)
(1)ประชาชนในหมู่บา้ นมคี วามสามคั คี และเสียสละ
(2)หน่วยงานราชการที่ลงพื้นที่กับประชาชนในหมู่บ้านมีการประสานงานและให้คำปรึกษา
ต่อการดำเนนิ โครงการดงั กล่าว ตลอดและเป็นอย่างดี
2.3ปัจจยั แหง่ การนำไปสู่ความย่ังยนื
(1) ประชาชนในหมบู่ ้านมคี วามสามคั คี และเสียสละ
(2) หน่วยงานราชการที่ลงพื้นที่กับประชาชนในหมู่บา้ นมีการประสานงานและให้คำปรึกษา
ตอ่ การดำเนินโครงการดงั กลา่ ว ตลอดและเปน็ อยา่ งดี
(3) ข้าราชการ และประชาชน มีการประสานการทำงาน/ให้คำปรึกษา เป็นอย่างดี ทำให้รู้จัก
และเข้าใจ เกดิ การไวว้ างใจ กันมากข้นึ
2.4ขอ้ เสนอแนะ
-
2.5ปญั หา อปุ สรรค
(1) งบประมาณยังไมเ่ พียงพอต่อการดำเนนิ งาน
................................................................................................................