The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บ้าน วังน้ำเย็น หมู่ที่ 8

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pasiyah.63, 2021-09-01 13:34:08

บ้าน วังน้ำเย็น หมู่ที่ 8

บ้าน วังน้ำเย็น หมู่ที่ 8

บา้ น วงั นำ้ เย็น หมทู่ ี่ 8 ตำบล ภูเขาทอง อำเภอ สุคริ ิน จงั หวัดนราธวิ าส

บา้ นวังน้ำเย็น แปลว่า วงั นำ้ ท่ีลกึ และเย็นมาก
ประวตั คิ วามเปน็ มาของหมู่บา้ น

หมบู่ า้ นวังนำ้ เย็น เป็นหมบู่ ้านเลก็ ๆ หมู่บ้านหนง่ึ ได้ แยกออกจากหมู่ท่ี 2 บา้ นภเู ขาทอง ซ่งึ หมบู่ า้ นวัง
น้ำเยน็ ห่างจากหมบู่ ้านภูเขาทอง ประมาณ 2 กิโลเมตร ก็ไดจ้ ดั ต้ังหมบู่ ้านตั้งแต่ปี พ.ศ.2531 ซงึ่ หมบู่ ้านวังน้ำเย็นมี
แหล่งนำ้ ลึกและน้ำก็เย็นมาก ทกุ คนที่เปน็ แกนนำของหมบู่ ้าน ก็ได้มีมติให้ชือ่ ว่า หมู่บ้านวังน้ำเย็น
สภาพทั่วไปของหมู่บา้ น

พนื้ ท่สี ว่ นใหญ่เปน็ ภูเขาสลบั กับทีร่ าบ และมแี ม่น้ำไหลผ่าน เหมาะแกก่ ารทำการเกษตร การตั้ง
บ้านเรอื นเรยี งไปตามถนน ตามบา้ นเลขท่ี ซ่ึงจะมบี า้ นเรยี งไปตามถนนสองฝง่ั ขา้ งทาง
อาณาเขตตดิ ต่อ

ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั บ้านต้นทเุ รียน ม.7 ตำบลภูเขาทองและบ้านยาเดะ๊ ม.2 ตำบลมาโมง
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับบ้านภูเขาทอง ม.2 ตำบลภเู ขาทอง
ทศิ ตะวันออก ติดต่อบ้านภูเขาทอง ม.2 ตำบลภเู ขาทอง
ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับบา้ นต้นทุเรยี น ม.7 และบา้ นโตะ๊ โม๊ะ ม.3 ตำบลภูเขาทอง
การคมนาคม เส้นทางการคมนาคมถนนลาดยางจากอำเภอถึงหมู่บ้าน ระยะทาง 21 กิโลเมตร

สว่ นท่ี 1 ลกั ษณะทั่วไป
1.1 ความเป็นของโครงการ
เนื่องจาก ถนนทางเข้าสำนักสงฆ์ ของบ้านวังน้ำเย็น ยังเป็นถนนดินแดง ซึ่งช่วงฤดูฝน ทางเข้าจะลื่นเป็นโคลน

ไม่สามารถขึ้นไป ทำกิจกรรมต่างๆได้ เช่น งานบวช งานศพ อื่นๆ หรือสัญจรไปมาได้แต่ไม่สะดวก การก่อสร้างถนนทาง
คอนกรีตเข้าสำนักสงฆ์ เป็นการชว่ ยบรรเทาความเดอื ดร้อนประกอบกับเป็นส่งิ ทตี่ ้องการของประชาชนหมู่บ้านวังน้ำเย็น
อย่างแทจ้ ริง

1.2ทต่ี งั้ (แผนที่สังเขป)

1.3ลกั ษณะภมู ิประเทศ(ภมู ิอากาศ/ฤดูกาล)
ได้รับอทิ ธิพลจากลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้ และมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือจากมหาสมุทรอนิ เดีย ประกอบกับ
พืน้ ทที่ ่ัวไปเป็นเทือกเขาสูงชันและป่าทึบ จึงทำใหฝ้ นตกชุกเกือบตลอดท้ังปี ลักษณะภมู กิ าศ เปน็ แบบมรสุม มี 2 ฤดู
คอื

1. ฤดรู อ้ น อยู่ระหวา่ งเดอื นกุมภาพนั ธ์ ถงึ เดอื น เมษายน

2. ฤดูฝน แบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงรับลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงใต้ ซึ่งพัดเอาความชื้นจากทะเลอันดามนั
และมหาสมุทรอินเดีย ทำให้ฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือน ตุลาคม อีกช่วงหนึ่งคือ ช่วงที่รับลมมรสุม
ตะวันออกเฉยี งเหนือซงึ่ พดั เอาความชน้ื จากอ่าวไทย ทำให้ฝนตกชกุ ในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน ถึงเดอื น มกราคม

1.4 ประชากร
จำนวนครัวเรอื น 84 ครัวเรือน

• ชาย 69 คน
• หญิง 83 คน
• รวม 197 คน (มุสลิม - คน พุทธ 197 คน)

1.5 อาชพี
• เกษตรกรรม
• สวนยางพารา
• สวนผลไม้

1.6ผลิตภณั ฑ์มวลรวมของหมบู่ ้าน(Gross Village Produck:GVP)
รายไดเ้ ฉลยี่ /คน/ปี 30,257 บาท

1.7ผลิตภัณฑช์ มุ ชน
-

1.8ศลิ ปะ/วัฒนธรรม/ภูมิปญั ญาบ้าน
การจักสาน ทอผ้า
ประเพณีบุญบั้งไฟ

1.9สถานทที่ อ่ งเทย่ี ว/สถานบรกิ าร
-

1.10 การคมนาคม(การเดนิ ทางจากอำเภอไปยังหมู่บา้ น)
ระยะทางการเดนิ ทางจาก 21 กิโลเมตร

1.11 ประเพณี/เทศกาลประจำปี
จัดงานประเพณบี ุญบ้ังไฟ
จดั งานประเพณีสงกรานต์
จดั กิจกรรมการบวชนาค

1.12 ทักษะ / ฝีมือ / แรงงานของหมู่บ้าน
ฝกึ อบรมและส่งเสรมิ กลมุ่ เพาะพันธ์ุยาง

ส่วนท่ี 2 เน้อื หา/กระบวนการขบั เคลือ่ น

จากการถอดบทเรียนของ หม่บู า้ นวงั นำ้ เยน็ ดังน้ี
จากการศึกษาวิเคราะห์ ตรวจสอบและประเมินสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกหมู่บ้าน โดยวิธีการ

วเิ คราะห์ “สวอท” หรือ “SWOT Analysis” หมบู่ า้ นไดท้ ำการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน เปน็ การวิเคราะห์จุดแข็ง
และจุดอ่อน ที่อยู่ในหมู่บ้าน โดยหมู่บ้านไม่สามารถควบคุมได้ในระยะสั้นได้แก่ โครงสร้าง วัฒนธรรม ทรัพยากร และ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โดยวิเคราะห์ปัจจัยตัวแปร 2 ตัวแปร คือ โอกาส และอุปสรรค ซึ่งอยู่ภายนอก
หมู่บ้านที่มีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด และมีผลกระทบเกี่ยวข้องกับหมู่บ้านโดยตรง ได้แก่ สภาพแวดล้อม
ทางเศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม การเมือง กฎหมาย และเทคโนโลยี

สรปุ ผลการวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในและภายนอก ดังน้ี

จุดแข็ง / จุดเดน่ ของชมุ ชน จดุ ออ่ น / จดุ ดอ้ ยของหมู่บา้ น

1.มอี งคก์ รหมบู่ า้ นทเ่ี ขม้ แข็ง 1. . ระบบการส่อื สารโทรศัพทไ์ มส่ ามารถติดต่อ
ระหว่างภายในและภายนอกหม่บู ้านได้
2. มีแหลง่ เงนิ ทนุ จากกองทนุ ชมุ ชนในหมู่บา้ น
2. ระบบชลประทานและแหล่งน้ำเพอ่ื การเกษตรไม่
3. มีสถานที่ปฏบิ ัติศาสนกิจทางศาสนา (วัด) ท่วั ถึงและบางส่วนยังไม่ได้ใช้ประโยชนเ์ ต็มท่ี

4. มคี วามกลมเกลยี วทางศาสนา ประเพณี และ 3. ระบบประปาภายในหมู่บ้านไม่ทั่วถึง
วัฒนธรรม
4. หมบู่ ้านอย่หู ่างไกลจากอำเภอและจงั หวดั และตลาด
5. เปน็ หมบู่ า้ นที่มีโครงการศิลปาชีพ การคมนาคมไม่สะดวก

6. มสี ภาพภมู อิ ากาศและดินเหมาะสมแกก่ ารทำ 5. ภัยธรรมชาติ น้ำท่วม ดินไหล ประจำทุกปี
การเกษตร เชน่ ยางพารา ไม้ผล
6. ไมม่ กี ารบรู ณาการกองทุนชุมชนในหมบู่ า้ น
7. มแี ร่ทองคำธรรมชาติ
7. ไม่มรี ถโดยสารประจำทางว่งิ ผา่ นเขา้ ออก
8. หมู่บา้ นมขี นาดเล็ก การติดต่อประสานงานสะดวก

9. เป็นหมูบ่ า้ นทไี่ ด้รับการประกาศเปน็ หมู่บา้ นสันติสุข

โอกาสจากภายนอกหมูบ่ า้ น อุปสรรคจากภายนอกหมูบ่ ้าน

1.มหี น่วยงานหลกั ในการสร้างความเข้มแขง็ ใหแ้ ต่ละ 1. . ผลกระทบจากปจั จัยภายนอกทีส่ ง่ ผลต่อเศรษฐกิจ

หมบู่ ้าน เชน่ พฒั นาชุมชน สาธารณสขุ ปศสุ ัตว์ ประมง เช่น น้ำมนั ราคาแพง ฯลฯ

เกษตร และนิคมฯ 2. ราคาผลผลติ การเกษตรไม่แนน่ อน

2. เงนิ กองทุนหมู่บา้ น, SML 3. ตน้ ทนุ การผลติ สูงขน้ึ จากภาวะราคาน้ำมนั

3. โครงการพระราชดำริ ด้านศลิ ปาชีพ 4. ปจั จยั การผลิตมีราคาสงู ข้ึน เช่น ปุย๋

4. โอกาสเข้าเฝ้ารับเสด็จฯ 5. สถานการณค์ วามไม่สงบในพน้ื ที่ 3 จงั หวดั

ชายแดนภาคใต้

จากการถอดบทเรียนโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ประชาชนระดับหม่บู ้าน ประจำปี 2551

โครงการ ก่อสร้างคอนกรตี เสรมิ ไม้ไผเ่ ข้าสำนกั สงค์ บา้ นวงั น้ำเย็น ดงั นี้

2.1วธิ กี ารขับเคล่อื น (SWOT)
- จดุ แข็ง (Strength)
(1)เปน็ โครงการท่ที ำใหค้ ุณภาพชีวติ และสขุ ภาพ ของชาววงั น้ำเยน็ ดีขึ้น

(2)มีการประสานการทำงานของผปู้ ระสานโครงการและหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง เปน็ อย่างดี

(3)คณะกรรมการมกี ารประชาสัมพันธ์โครงการที่ได้ดำเนนิ การใหช้ าวบ้านไดท้ ราบ

(4)ประชาชน(ชาววังน้ำ)มีการตรวจสอบการดำเนินการโครงการฯของคณะกรรมผู้บรหิ ารโครงการ
ตลอด

(5)โครงการดงั กลา่ ว เปน็ ความต้องการของประชาชนอย่างแทจ้ รงิ

(6)โครงการดังกล่าวถือว่าเป็นการได้ใจประชาชนอย่างแท้จริง เนื่องจากเป็นการแสดงถึงความ
หว่ งใย ของหนว่ ยงานราชการ ต่อการดำเนนิ ชวี ิตของประชาชน

- จุดอ่อน(Weakness)
งบประมาณยังไม่เพยี งพอต่อการดำเนินงาน

- โอกาส(Opportunity)
(1)การดำเนนิ โครงการดังกล่าว ประชาชนมกี ารรว่ มแรง แรงใจ ในการชว่ ยทำงาน เพือ่ ชุมชน
ของตนโดยไม่มีการรับค่าแรงใดๆ ถือเป็นการสร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิดและเป็นการเสียสละ
เพอื่ ส่วนรวม/ชมุ ชนของตน

(2)ประชาชนได้เกดิ การทำงานรว่ มกันในชมุ ชนเพอ่ื ประโยชนข์ องชมุ ชนอยา่ งแทจ้ รงิ

(3)จากโครงการดังกล่าวถือเป็นการแสดงถึงความห่วงใยของหน่วยงานราชการที่มีต่อวิถีชีวิต
ของประชาชน

(4)ทำใหป้ ระชาชนไวว้ างใจหน่วยงานราชการมากข้นึ และกลา้ เข้าหาข้าราชการมากข้ึน

- ข้อจำกดั (Threat)
(1)งบประมาณยังไมเ่ พียงพอตอ่ การดำเนนิ งาน

2.2ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ (Key Success Fact : KSF)
(1)ประชาชนในหมู่บ้านมีความสามคั คี และเสียสละ

(2)หน่วยงานราชการที่ลงพื้นที่กับประชาชนในหมู่บ้านมีการประสานงานและให้คำปรึกษา ต่อการ
ดำเนินโครงการดงั กล่าว ตลอดและเปน็ อยา่ งดี

2.3ปัจจยั แหง่ การนำไปสู่ความย่ังยืน
(1) ประชาชนในหมบู่ า้ นมคี วามสามัคคี และเสยี สละ

(2) หน่วยงานราชการที่ลงพืน้ ที่กับประชาชนในหมู่บ้านมีการประสานงานและให้คำปรึกษา ต่อการ
ดำเนินโครงการดงั กลา่ ว ตลอดและเป็นอยา่ งดี

(3) ข้าราชการ และประชาชน มีการประสานการทำงาน/ให้คำปรึกษา เป็นอย่างดี ทำให้รู้จัก และ
เข้าใจ เกดิ การไวว้ างใจ กันมากข้ึน

2.4ขอ้ เสนอแนะ
-

2.5ปัญหา อุปสรรค
(1) งบประมาณยงั ไม่เพยี งพอต่อการดำเนินงาน


Click to View FlipBook Version