หน่วยท่ี 2
การบัญชสี ำหรบั ธรุ กจิ ซ้อื ขายสนิ คา้
สาระสำคญั
การบัญชขี องกิจการซื้อขายสินคา้ หรือท่ีเรยี กกันโดยทั่วไปว่า กจิ การซ้ือมาขายไป การบันทึกรายการ
ทางบัญชีจะเริ่มสลับชับซ้อนขึ้น มีการบันทึกรายการซื้อสินค้าและรายการที่เกี่ยวซ้องซึ่งได้แก่ ค่าขนส่งเข้า
ส่งคืนสินค้าและจำนวนที่ได้ลด ส่วนลดรับ ในขณะเดียวกันก็มีการบันทึกรายการขายสินค้าและรายการท่ี
เกี่ยวข้อง ได้แก่ ค่าขนสงออก รับคืนสินค้าและจำนวนที่ลดให้ ส่วนลดจ่ายรายการเหล่านี้จะบันทึกใ นสมุด
รายวนั ท่ัวไป ผ่านรายการไปบญั ชแี ยกประเภทที่เกีย่ วซ้อง หายอดคงเหลือดว้ ยดินสอ และจดั ทำงบทดลอง
รายการบัญชีที่กล่าวมาข้างตน้ เปนี รายการทางบัญชใี นกรณีทผ่ี ู้ประกอบการเปีนผจู้ ดทะเบียนเพ่ือเป็น
ผู้ประกอบการจดทะเบียน เนื่องมาจากผู้ประกอบการมีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการเกินกว่า 1.8
ล้านบาทต่อปี หรือเป็นผู้ประกอบการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมายแต่สมัครใจ จดทะเบียน
เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน
กิจการเจ้าของคนเดียวที่ประกอบธุรกิจซื้อมาขายไปหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพเป็นปกติ
ธรุ ะ หากมีรายรบั จากการขายสินค้าหรือให้บริการเกนิ กว่า 1.8 ลา้ นบาทตอ่ ปี กิจการต้องยืน่ คำขอจดทะเบียน
ภาษีมูลคา่ เพิม่ เพื่อเป็นผู้ประกอบการจดทะเบยี น
1. การบันทึกรายการซื้อสินค้า รายการที่เกี่ยวข้อง ในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท
ด้วยภาษาองั กฤษ
1.1 รายการซื้อสินค้ามี 2 กรณี คือ
1.1.1กรณีซ้ือสนิ คา้ เปน็ เงนิ สด มีหลกั การในการบนั ทึกรายการดังนี้
Debit Purchases (5) XXX
Purchase Tax (1) XXX
Credit Cash (1) XXX
1.1.2 กรณีซอื้ สนิ คา้ เปน็ เงินเช่ือ มีหลักการในการบันทึกรายการ ดังน้ี
Debit Purchases (5) XXX
Purchase Tax (1) XXX
Credit Accounts Payable (2) XXX
1.2 รายการค่าขนส่งเข้า เนื่องจากรายการค่าขนส่งเข้าที่ต้องจ่ายให้ผู้ประกอบการขนส่งสินค้านั้น กิจการ
ขนส่งเป็นกิจการท่ไี ดร้ บั การ ยกเว้น ภาษมี ูลคา่ เพมิ่ ตามมาตรา 81 ข้อที่ 7 การใหบ้ รกิ ารขนส่งในราชอาณาจักร
ดังนั้นการจ่ายค่าขนส่งสินค้า กิจการไม่ต้องจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มไม่วา่ เงื่อนไขในการขนส่งจะเป็นอย่างไร หรือผู้
ซ้ือ ผขู้ าย จา่ ยค่าขนส่งแทนกันอย่างไร การบนั ทึกบญั ชยี งั คงเป็นปกติไม่เก่ียวข้องกับภาษีมลู ค่าเพิ่ม มีหลักการ
ในการบันทกึ รายการดังนี้
Debit Freight in Expense (5) XXX
Credit Cash (1) XXX
1.3 รายการส่งคนื สินคา้ และจำนวนได้ลด การบันทกึ รายการสงคนื สินคา้ และจำนวนที่ไดล้ ดแบ่งออกเป็น 2 กรณี คอื
1.3.1 การสงคนื สนิ ค้าในกรณีซือ้ สนิ ค้าเป็นเงนิ สด มหี ลกั การในการบนั ทึกรายการดังน้ี
Debit Cash (1) XXX
Credit Purchases Returns and Allowances (5) XXX
Purchase Tax (1) XXX
1.3.2 การสง่ คืนสนิ ค้าในกรณีซื้อสินคา้ เปน็ เงนิ เชื่อ มหี ลักการในการบันทึกรายการดงั น้ี
Debit Accounts Payable (5) XXX
Credit Purchases Returns and Allowances (5) XXX
Purchase Tax (1) XXX
ตัวอย่าง
25x1 Jan. 1 Goods are purchased with a credit of 14,000 baht with its VAT. of 7% included
from A shop
(ซ้ือสินค้าเป็นเงินเช่ือจากรา้ น A จำนวน 14,000 บาท ภาษีมูลค่าเพ่มิ 7%)
5 On January of 1st, purchased return with amount of 2,000 baht with it’s VAT.
of 7% Included are sent back because of defective goods.
(ส่งคืนสินค้าที่ซื้อมาเมื่อวันที่ 1 มกราคม เนื่องจากสินค้าชำรุดจำนวน 2,000 บาท
ภาษมี ูลค่าเพิ่ม 7%)
10 Goods are purchased with a credit of 21,400 baht with the included VAT. of 7%
from B shop.
(ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจากร้าน B จำนวน 21,400 บาท เป็นราคาที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม7% ไว้
เรยี บรอ้ ยแลว้ )
15 On January of reduce of price with the amount of 1,000 baht with its VAT. of
7% Included because of ordering wrong sample.
(ผูข้ ายลดราคาสนิ ค้าให้เนอ่ื งจากสนิ ค้าท่ีซ้ือเม่ือวนั ท่ี 10 มกราคม ผดิ ตวั อย่างแตไ่ ม่ต้องส่งคืน
สนิ คา้ จำนวน 1,000 บาท ภาษีมูลค่าเพม่ิ 7%)
Recorded in the general journal are as follow.
(บันทึกรายการในสมดุ รายวันทั่วไปดงั น้ี)
ผา่ นรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เก่ยี วข้อง ดงั นี้
ในกรณที ่ีมกี ารส่งคนื สินค้าใหผ้ ู้ขายหรือผู้ขายยอมลดราคาใหโ้ ดยไม่ต้องส่งคืนสินค้ากรณีซ้ือสินค้าเป็น
เงินเชื่อ Purchase Tax จะลดลงด้านเครดิต และกิจการจะลดยอด Accounts Payable ลงตามมูลค่าของ
สินค้าที่ส่งคืนหรือผู้ขายลดราคาให้บวก Purchase Tax 7% ของมูลค่าสินค้าที่ส่งคืนหรือที่ผู้ขายลดราคาให้
ดา้ นเดบติ ตามตวั อย่างในวนั ท่ี 5 และวนั ที่ 15 มกราคม ขา้ งต้น
1.4 รายการส่วนลดรับ
1.4.1 สว่ นลดการค้า เปน็ สว่ นลดที่ไม่ปรากฏในบญั ชี เม่อื เวลาคำนวณภาษีซ้ือ ใหค้ ำนวณจากยอดซื้อ
สนิ คา้ ทห่ี ักสว่ นลดการค้าเรียบรอ้ ยแล้ว
1.4.2 ส่วนลดเงินสด เป็นส่วนลดรับที่ปรากฎในบัญชี ในการคำนวณส่วนลดรับต้องคำนวณจากยอด
ซอื้ สนิ คา้ ไมร่ วมภาษีซอ้ื ดังตัวอย่างตอ่ ไปนี้
ตวั อย่าง
25x1 Jan. 1 Goods are purchased with a cash of 15,000 baht with a discounts of 2% besides,
the VAT. of 7% included.
(ซือ้ สินคา้ เปน็ เงนิ สดราคา 15,000 บาท ผขู้ ายลดให้ 2% ภาษีมลู คา่ เพ่ิม 7%)
3 In terms of 2/10, n/30, goods with the price of 10,000 baht and its VAT of 7%
included are purchased from A shop.
(ช้ือสินคา้ จากรา้ น A ราคา 10,000 บาท ภาษมี ลู คา่ เพ่มิ 7% เงื่อนไข 2/10, n/30)
5 Goods purchased with a credit of 20,000 baht with a discount of 3%besides,
the VAT. of 7% included from B shop.
(ซ้ือสินคา้ จากร้าน B ราคา 20,000 บาท ผู้ขายลดให้ 3% ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)
10 The entrepreneur paid all the debts of A shop.
(ชำระหน้ีให้ร้าน A ทั้งจำนวน)
15 The entrepreneur paid all the debts of B shop.
(ชำระหน้ใี หร้ ้าน B ทงั้ จำนวน)
Recorded in the general journal are as follow.
(บนั ทึกรายการในสมดุ รายวนั ท่ัวไปดังน)ี้
ผา่ นรายการไปบญั ชีแยกประเภทที่เก่ยี วข้อง ดังน้ี
2. การบันทึกรายการขายสินค้า รายการที่เกี่ยวข้องในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านรายการไปบัญชีแยก
ประเภทดว้ ยภาษาอังกฤษ
2.1 รายการขายสินค้า มี 2 กรณี คือ
2.1.1 กรณขี ายสินค้าเปน็ เงนิ สด มีหลกั การในการบนั ทึกรายการดงั น้ี
Debit Cash (1) XXX
Credit Sales (4) XXX
Sale Tax (2) XXX
2.1.2 กรณีขายสินค้าเป็นเงนิ เชอื่ มหี ลกั การในการบันทึกรายการดงั นี้
Debit Accounts Receivable (1) XXX
Credit Sales (4) XXX
Sale Tax (2) XXX
2.2 รายการค่าขนส่งออก กิจการขนส่งเป็นกิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มดังนั้นการจ่ายค่าขนส่ง
สินค้าให้ลูกค้าไม่วา่ เงื่อนไขในการขนส่งจะเป็นอย่างไร การบันทึกรายการค่าขนส่งสินคา้ ไม่มภี าษีมูลค่าเพิ่ม มี
หลกั การในการบนั ทกึ รายการ ดงั นี้
Debit Freight Out Expense (5) XXX
Credit Cash (1) XXX
2.3 รายการรบั คืนสินคา้ และจำนวนที่ลดให้ การบันทกี รายการรับคนื สินคา้ และจำนวนทีล่ ดให้แบ่งออกเป็น 2 กรณี คอื
2.3.1 การรับคนื สนิ คา้ ในกรณีขายสนิ คา้ เปน็ เงินสด มีหลักการในการบันทึกรายการดังน้ี
Debit Sales Returns and Allowances (4) XXX
Sale Tax (2) XXX
Credit Cash (1) XXX
2.3.2 การรับคนื สนิ ค้าในกรณีขายสนิ คา้ เป็นเงินเชื่อ มีหลักการในการบันทึกรายการ
Debit Sales Returns and Allowances (4) XXX
Sale Tax (2) XXX
Credit Accounts Receivable (1) XXX
2.4 รายการส่วนลดจา่ ย
2.4.1 สว่ นลดการคา้ เปน็ สวนลดทไี่ มป่ รากฎในบัญชี เมอ่ื คำนวณภาษขี ายใหค้ ำนวณจากยอดขาย
สินคา้ ที่หกั สว่ นลดการค้าเรียบรอ้ ยแล้ว
2.4.2 สว่ นลดเงนิ สด ดา้ นผขู้ ายสนิ คา้ เป็นส่วนลดจา่ ยทีป่ รากฎในบญั ชี ในการคำนวณสว่ นลดจ่าย
ตอ้ งคำนวณจากยอดขายสินค้าตามใบกำกบั สินค้าไม่รวมภาษีขายดังตวั อย่างต่อไปนี้
ตวั อยา่ ง
25x1 jan. 10 Goods are sold with a cash of 30,000 baht with a discount of 2% be the VAT.
of 7% included.
(ขายสนิ ค้าเป็นเงนิ สดราคา 30,000 บาท ลดให้ 2% ภาษมี ูลคา่ เพิ่ม 7%)
13 In term of 2/10,n/30, goods with the price of 24,500 baht and its VAT of 7%
included are sold to RK shop.
(ขายสนิ ค้าเปน็ เงินเชื่อใหร้ า้ น RK ราคา 24.,500 บาท ภาษมี ูลคา่ เพมิ่ 7% เงือ่ นไข2/10,n/30)
15 Goods are sold with a credit of 40,000 baht with a discount of 3% besides, the
VAT. of 7% included to RR shop
(ขายสินค้าเปน็ เงนิ เชอื่ ให้ร้าน RRราคา 40,000 บาท ลดให้ 3%ภาษมี ูลคา่ เพ่มิ 7%)
23 RK shops' debt sold on January of 13 th, are all paid back.
(รับชำระหนจ้ี ากรา้ น RK ท้ังจำนวน)
31 RR shops' debt sold on January of 15 th, are all paid back.
(รับชำระหนจ้ี ากรา้ น RR ทง้ั จำนวน)
Recorded in the general journal are as follow.
(บันทกึ รายการในสมดุ รายวันทัว่ ไปดงั น้ี)
ผา่ นรายการไปบญั ชีแยกประเภทที่เก่ยี วข้อง ดังน้ี
3. การขายสนิ คา้ โดยรับชำระด้วยบตั รเครดิต (Credit Card Sales)
การขายสินค้าโดยลูกค้าชำระค่าสินค้าด้วยบัตรเครดิต บันทึกการขายสนิ ค้าตามปกติ บันทึกภาษีขาย
และบันทึกส่วนลดจ่ายบัตรเครดิต การผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปบัญชีแยกประเภท รายการยืนยัน
ตอ้ งอา้ งสมุดรายวันทว่ั ไป โดยแบง่ ออกเป็น 2 กรณดี ังนี้
กรณีที่ 1 ธนาคารผู้ออกบัตรเครดิต หรือธนาคารเจ้าของบัตรเครดิตที่ลูกค้านำไปเช่น บัตรเครดิต
ธนาคารกสกิ รไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงเทพจำกัด เป็นต้น ถ้าลูกค้านำบัตรประเภทน้ีมาซื้อสินค้า
หรอื บรกิ าร กจิ การผู้ขายสินค้าจะถือว่า ขายสนิ ค้าเป็นเงินสด เนือ่ งจากผู้ขายสนิ ค้าสามารถนำหลักฐานการใช้
บัตรไปเรียกเก็บจากธนาคารเจ้าของบัตรได้ทันที โดยนำฝากเข้าบัญชีของกิจการที่เปิดไว้กับธนาคารเจ้าของ
บัตรเครดติ มหี ลกั การในการบันทกึ รายการดงั นี้
Debit Cash in Bank (1) XXX
Credit Card Discounts (4) XXX
Credit Sales (4) XXX
Sale Tax (2) XXX
ตัวอยา่ ง
25x1 Mar. 1 Goods, which are paid by Visa Card are sold with the amount of 12,000
baht\with its VAT. of 7% included. A discount of 2% is charged by this
company.
(กจิ การขายสินค้าจำนวน 12,000 บาท ภาษีมลู คา่ เพิม่ 7% ลกู ค้าชำระค่าสนิ ค้าดว้ ยบัตร
เครดิต Visa Card โดยธนาคารผู้ออกบัตรคิดสว่ นลดรอ้ ยละ 2)
Recorded in the general journal are as follow.
(บนั ทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปดงั นี้)
กรณีที่ 2 ผู้ออกบัตรเครดิตไม่ใช่ธนาคาร ในกรณีผู้ออกบัตรเครดิตให้สมาชิกไม่ใช่ธนาคาร เช่น บัตร
เครดิต American Express บัตรเครดิต AEON บัตรเครดิต First Choice เป็นต้น ถ้าลูกค้านำบัตรเครดิต
ประเภทนีม้ าซือ้ สินค้า กิจการจะถือว่า กิจการขายสินค้าเป็นเงนิ เชือ่ และจะนำหลักฐานการใช้บัตรเครดิตของ
ลูกค้า ส่งไปเรียกเก็บจากผู้ออกบัตรในวันส้ินเดือนหรือแล้วแต่เงื่อนไขที่ตกลงกัน มีหลักการในการบันทึก
รายการดงั น้ี
Debit Accounts Receivable - Credit Card Entrepreneur (1) xxx
Credit Card Discounts (4) xxx
Credit Sales (4) xxx
Sale Tax (2) xxx
4. การปดิ บญั ชภี าษซี ื้อ บญั ชภี าษขี าย และผ่านรายการไปบญั ชแี ยกประเภทด้วยภาษาอังกฤษ
กิจการเจ้าของคนเดียวท่ีเปน็ ผู้ประกอบการจดทะเบียน จะทำการปิดบัญชีภาษีซื้อและบัญชีภาษีขาย
ทกุ วันสนิ้ เดอื น ซง่ึ เรียกว่า เดือนภาษี เพอ่ื ให้ทราบว่ากจิ การจะต้องเสยี ภาษเี พิ่มหรือจะต้องขอคนื ภาษี โดยยื่น
แบบแสดงรายการภาษีมลู คา่ เพ่ิม (ภ.พ.30) ตอ่ กรมสรรพากรเขตพ้ืนที่ที่กิจการตั้งอยภู่ ายในวนั ท่ี 15 ของเดือน
ถัดไป การปดิ บัญชภี าษีซือ้ และบญั ชีภาษขี ายนน้ั มี 2 วธิ ีคอื
4.1 เปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นบัญชีพัก บันทึกการปิดบัญชีภาษีซื้อด้านเครดิตเข้าบัญชีภาษีมูลค่าเพ่ิม
ปิดบัญชีภาษีขายด้านเดบิตเข้าบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม แล้วเปรียบเทียบภาษีมูลค่าเพิ่มทางด้านเดบิตและด้าน
เครดิต และปิดเข้าบัญชีลูกหนี้ – กรมสรรพากรหรือเจ้าหนี้ - กรมสรรพากร มีหลักการในการบันทึกรายการ
ดงั น้ี
4.2 ปดิ บญั ชีภาษีซื้อและบญั ชีภาษีขายเขา้ บัญชีลกู หนหี้ รอื เจา้ หนก้ี รมสรรพากร
โดยปดิ บัญชีภาษซี อื้ ซงึ่ เดิมมยี อดดา้ นเดบิตออกดา้ นเครดิตและปิดบญั ชีภาษขี ายซง่ึ เดิมมียอดด้านเครดติ ออก
ดา้ นเดบติ แลว้ หาผลต่าง ถา้ ผลต่างภาษซี ื้อมากกวา่ ภาษีขายใหบ้ ันทกึ ผลต่างไวด้ า้ นเดบิตเป็นลูกหน้ี-
กรมสรรพากร ถ้าผลต่างภาษีขายมากกว่าภาษซี ้ือใหบ้ นั ทึกผลตา่ งไว้ด้านเครดิตเปน็ เจ้าหน้ี - กรมสรรพากร มี
หลกั การในการบนั ทกึ รายการ ดงั นี้
การปดิ บัญชภี าษีซื้อและภาษีขายทงั้ 2 วิธี ถ้าบนั ทึกไว้เปน็ ลูกหน้ี -กรมสรรพากร กจิ การจะต้องขอคืน
ภาษีจากกรมสรรพากร แต่ถา้ ผลตา่ งบันทึกไวเ้ ป็นเจ้าหนี้-กรมสรรพากร แสดงวา่ กิจการจะตอ้ งเสียภาษเี พิ่มเติม
ท่ีกรมสรรพากร ดังตวั อย่างต่อไปนี้
ตวั อย่าง
Miss N is a sole proprietor by the name of N Trading. shop that operate garmenttrading
the entrepreneur registered as a VAT, taxpayer identification number 1 46084524 8.
The trade transaction during in December 25x 1 are as follows:
(นางสาว N ดำเนินกิจการเจ้าของคนเดียวชื่อ N Tading ดำเนินกิจการซื้อขายเสื้อผ้าสำเร็จรูปจด
ทะเบยี นเป็นผปู้ ระกอบการภาษีมูลค่าเพ่ิมมีเลขประจำตวั ผเู้ สยี ภาษีเลขที่ 1 46084524 8รายการคา้ ในระหวา่ ง
เดือนชันวาคม 25x1 มดี ังนี)้
25x1 Dec. 1 Goods are purchased with a cash of 20.000 baht and its VAT. of 7%included,
Tax-invoice No. 0072/03
(ซือ้ สินค้าเป็นเงินสดราคา 20,000 บาท ภาษีมูลคา่ เพิ่ม 7% ใบกำกับภาษีเลขท0่ี 072/03)
2 Goods are sold with a cash of 35,000 baht and its VAT, of 7% included,Tax-
invoice No. 001/03
(ขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ สดราคา 35,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิม่ 7% ใบกำกับภาษเี ลขท่ี 001/03)
5 In term of F.O.B. Destination, and payment 2/10,n/30, goods are sold with
amount of 27,500 baht with its VAT. of 7% Included are sold for Mr.A Tax-
invoice No. 001/02
(ขายสินค้าให้นาย A ราคา 27,500 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เงื่อนไข 2/10, /30 F.O.B
Destination ใบกำกับภาษเี ลขที่ 001/02)
6 In terms of F.O.B. Destination date on December of 5th, A cash of 2,500 baht is
paid for freight out expense.
(จา่ ยค่าขนส่งสินค้าให้ลูกคา้ จากการขายเมือ่ วนั ที่ 5 มกราคม ตามเงื่อนไข2,500 บาท)
7 In terms of F.O.B. Shipping point, and payment 2/10,n/30, goods with
theamount of 25,680 baht with its included VAT. of 7% are purchased from
Mr.B, Tax- invoice No. 078/12.
(ซื้อสินค้าจากนาย B ราคา 25.,680 บาท ซึ่งเป็นราคาที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%ไว้แล้ว
เงอื่ นไข 2/10, n/30 F.O.B Shipping point ได้รบั ใบกำกบั ภาษีเลขท่ี 078/12)
8 In terms of F.O.B. shipping point date on December of 7th, A cash of3,000 baht
is paid for freight in expense.
(จา่ ยค่าขนสง่ สนิ คา้ ที่ซอ้ื เมือ่ วนั ที่ 7 มกราคม ตามเงอ่ื นไขจำนวน 3,000 บาท)
9 On December of 5th, sale return with amount of 3,500 baht with of 7%
Included are refunded because of its defective in transit, Credit note No. 021/1.
(รับคืนสินค้าที่ขายให้ นาย A เมื่อวันที่ 5 มกราคมจำนวน 3,500 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
เนอ่ื งจากสินคา้ ชำรดุ ระหว่างการขนสง่ ออกใบลดหน้ี (CreditNote) เลขที่ 021/1 ให)้
10 On December of 7th, purchased return with amount of 2,000 baht with itsAT.
of 7% Included are sent back for Mr.B because of orderingsize, credit note No.
201/4.
(ส่งคืนสินค้าให้ นาย B จากการซื้อเมื่อวันที่ 7 มกราคม จำนวน 2,000 บาท ภาษีมูลค่าเพ่ิม
7% เนือ่ งจากผิดขนาดที่ส่งั ซอ้ื นาย B ได้ออกใบลดหนเี้ ลขที่ 201/4 มาให)้
12 Decoration are purchased with a cash of 50,000 baht and its VAT,of 7% included
are Purchased from S shop, Tax-invoice No. 0123/45.
(ซื้อเครื่องตกแต่งสำนักงานเป็นเงินสดจากร้าน S ราคา 50,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
ใบกำกบั ภาษเี ลขที่ 0123/45)
15 Mr.A's debts are all repaid.
(รับชำระหนจี้ าก นาย A ทั้งจำนวน)
17 The entrepreneur paid all the debts of Mr.B.
(จา่ ยชำระหนใี้ ห้ นาย B ทงั้ จำนวน)
31 The entrepreneur are closed purchase tax and sale tax in the end of mounth.
(กิจการปดิ บัญชีภาษซี ือ้ และภาษีขายในวันสน้ิ เดอื นภาษี)
Recorded in the general journal are as follow.
(บันทกึ รายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไปดงั น)ี้
การผ่านรายการปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มจากสมุดรายวันไปบัญชีแยกประเภทวิธีที่ 1 (เปิดบัญชี
ภาษมี ลู ค่าเพม่ิ เป็นบัญชพี กั )
การผ่านรายการปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพ่ิมจากสมุดรายวันไปบญั ชีแยกประเภทวิธีที่ 2 (ปิดบัญชีภาษซี ้ือ
ภาษขี ายเขา้ บญั ชีลูกหนห้ี รือเจ้าหน้ีกรมสรรพากร)
การปิดบัญชีภาษีซื้อภาษีขายตามวิธีที่ 2 (ปิดบัญชีภาษีซื้อภาษีขายเข้าบัญชีลูกหนี้หรือเจ้าหนี้
กรมสรรพากร
5. งบทดลองรปู แบบภาษาอังกฤษ
5.1 การหายอดคงเหลือด้วยดินสอ ในบทนจี้ ะแสดงการหายอดคงเหลือด้วยดนิ สอเฉพาะรายการทีเ่ ก่ียวข้อง
กบั การซ้ือสนิ ค้า การขายสินค้าและรายการทเี่ กีย่ วกับภาษซี ื้อและภาษีขายเพราะรายการบญั ชอี ่นื ๆ ทเ่ี ก่ียวกบั
สินทรพั ย์ หน้ีสนิ และสว่ นของเจ้าของ มีวิธหี ายอดคงเหลือ เชน่ เดยี วกับทเ่ี คยเรียนมาในบทท่ี 1 ของการบัญชี
สำหรับธรุ กจิ บรกิ าร
บัญชีแยกประเภททีเ่ กี่ยวข้องกบั รายการซ้ือขายสนิ ค้าและรายการท่เี กี่ยวกบั ภาษีซ้ือและภาษีขายทจ่ี ะ
แสดงเปน็ ตัวอยา่ งการหายอดคงเหลือดว้ ยดนิ สอนัน้ เปน็ บัญชีแยกประเภท ดังต่อไปนี้
การปิดบญั ชีภาษซี ื้อภาษีขายตามวธิ ที ี่ 2 (เปิดบญั ชีภาษมี ูลคา่ เพิ่ม) ในกรณที ี่ภาษีซื้อมากกวา่ ภาษขี าย
5.2 การจัดทำงบทดลอง การจัดทำงบทดลองได้เรียนมาแล้วในหนว่ ยที่ 1 การบัญชีสำหรับธรุ กิจบริการ แต่
หน่วยนี้จะแสดงยอดจำนวนเงินตามตัวอย่างที่หายอดคงเหลือด้วยดินสอเรียบร้อยแล้ว จากเนื้อหาข้อที่ 5.1
เฉพาะบญั ชีที่เกีย่ วข้องกับการซอ้ื ขายสินค้าและบญั ชภี าษีมลู ค่าเพ่มิ เท่านั้น การแสดงยอดคงเหลือของบัญชีอ่ืน
ในงบทดลองมีวธิ ีการจัดทำดงั ตอ่ ไปนี้
5.2.1 งบทดลองจากยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทตามเนื้อหาข้อที่ 5.1 ในกรณีภาษีซื้อมากกว่า
ภาษขี าย (ลูกหนี้ - กรมสรรพากร)
5.2.2 งบทดลองจากยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทตามเนื้อหาข้อที่ 5.1 ในกรณีภาษีขายมากกว่า
ภาษซี ้อื (เจ้าหน้ี -กรมสรรพากร)
6. การจดั ทำรายงานเก่ียวกบั ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ด้วยภาษาอังกฤษและการยน่ื แบบแสดงรายการ
กิจการที่เข้าระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่จัดทำรายงานเกี่ยวกับ
ภาษีมูลคา่ เพิ่ม 3 ประเภท คอื รายงานภาษขี าย รายงานภาษีซื้อ และรายงานสินค้าและวัตถุดิบแต่ในบทเรียน
นจ้ี ะแสดงไวเ้ พียงแค่ 2 ประเทเทา่ นั้น คอื รายงานภาษีขายและรายงานภาษีซ้ือ ส่วนรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
นักเรยี นจะไดเ้ รียนในระดบั ทีส่ งู ข้ึน
6.1 รายงานภาษีขาย ตัวอย่างจะใช้ข้อมูลจากตัวอย่างที่ 15 ของนางสาว N ซึ่งได้บันทึกรายการลงในสมุด
รายวันทัว่ ไปและผ่านรายการไปบญั ชีแยกประเภทจนถึงการปิดบญั ชภี าษีซื้อและภาษีขายเรยี บร้อยแล้ว ดังน้ี
6.2 รายงานภาษซี อ้ื
ในวันสิ้นเดือนวันที่ 31 ธันวาคม 25x1 นางสาว N จะต้องแสดงยอดรวมของมูลค่าของสินค้าหรือ
บริการ ภาษีขาย และภาษีซื้อทั้งหมด ที่บันทึกไว้ตามรายงานภาษีขายและรายงานภาษีชื้อ และนำยอดรวม
ดงั กลา่ วไปบันทกึ ในแบบแสดงรายการภาษีมูลคา่ เพ่ิม ภ.พ. 30 เพื่อย่ืนต่อกรมสรรพากร
6.3 การยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อเสียภาษี ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะต้องยื่นแบบ ภ.พ.30
เพื่อเสียภาษีภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ณ สำนักงานสรรพากร ในเขตพื้นที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
โดยกรอกรายการตามแบบแสดงรายการภาษมี ลู คา่ เพ่ิมตามประมวลรัษฎากร