The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ตำราสัญญาณชีพ

ตำราสัญญาณชีพ

การวดั สัญญาณชีพ และการเชด็ ตัวลดไข้

ขอบเขตการสอน
1. ความสาคัญของสัญญาณชพี
2. องค์ประกอบของสัญญาณชีพ : อุณหภมู ิ/ชพี จร/การหายใจ/ความดันโลหิต/ระดบั ความปวด/ค่าความ

อม่ิ ตวั ของออกซิเจนในกระแสเลอื ด
3. อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการวดั สญั ญาณชีพ
4. วธิ ีการวดั /การแปลผล
5. การบันทึกสญั ญาณชีพ
6. การเช็ดตวั ลดไข้
7. กลไกการควบคุมอุณหภูมิและปัจจัยท่มี ผี ลต่ออณุ หภูมิ
8. กลไกการเกิดไข้ สาเหตุ ชนดิ และระยะของไข้
9. อุปกรณ/์ วธิ ีการเชด็ ตวั ลดไข้
10. การดแู ลผู้ปว่ ยมไี ข้

การวดั สญั ญาณชีพ
(Obtaining the Vital Signs)
วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ผูเ้ รียนสามารถ
1. อธิบายความสาคัญของการวัดสญั ญาณชพี ไดถ้ ูกต้อง
2. ประเมิน และวางแผนก่อนการปฏบิ ัติการพยาบาลในการวัดสัญญาณชพี ผู้ใชบ้ ริการได้ถูกต้อง
3. ปฏิบัติการพยาบาลในการวัดสัญญาณชีพผู้ใช้บริการได้ถูกต้อง และบันทึกรายงานการวัดสัญญาณชีพได้
ถกู ต้อง

การวัดสัญญาณชีพ เป็นการปฏิบัติการพยาบาลที่มีความสาคัญ ค่าของสัญญาณชีพจะช่วยในการ
ประเมินการเปล่ยี นแปลงภาวะสขุ ภาพของผ้ใู ชบ้ ริการ และสามารถนามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการประเมินภาวะ
สขุ ภาพได้ สัญญาณชีพประกอบด้วย อุณหภมู ิของร่างกาย ชีพจร การหายใจ ความดันโลหิต ความปวด และค่า
ความอม่ิ ตัวของออกซเิ จนในฮีโมโกลบิน การวดั สญั ญาณชีพ ตอ้ งปฏิบตั ิดว้ ยความรอบคอบ เพื่อให้ได้ค่าสัญญาณ
ชีพท่ถี ูกต้อง เท่ียงตรงทีส่ ดุ และยงั ตอ้ งคานึงถึงความปลอดภัย และสุขสบายของผู้ใชบ้ ริการดว้ ย

อุณหภูมิร่างกาย หมายถึง ความแตกต่างระหว่างความร้อนที่ร่างกายผลิตข้ึน กับปริมาณการสูญเสีย
ความร้อนไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก ซ่ึงมีกระบวนการควบคุมโดยไฮโปธาลามัส (hypothalamus) มีหน่วยเป็น
องศาเซลเซียส หรอื องศาฟาเรนไฮต์

ชพี จร หมายถึง จงั หวะการหดรัดตัว และคลายตัวของหลอดเลอื ดแดงกระทบไปยงั ผนังหลอดเลือดแดง
ซ่งึ สมั พันธก์ ับเลือดท่ีออกจากหัวใจตามแรงส่งทอี่ อกมาจากหัวใจหอ้ งล่างซ้ายโดยนับจานวนสัมผัสกระทบภายใน
1 นาที เป็นอัตราการเต้นของชีพจร (pulse rate) มีหน่วยเป็นครั้งต่อนาที ทั้งนี้ควรสังเกต และบันทึกจังหวะ
(Rhythm) ความแรง (strength) รปู แบบการเต้น (pattern)

อัตราการหายใจ หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยนออกซิเจนกับคาร์บอนไดออกไซด์ของร่างกาย
ระหว่างเซลล์ กับสิง่ แวดลอ้ ม ซง่ึ เกดิ ขนึ้ โดยอัตโนมตั ิ และอยนู่ อกอานาจจิตใจ การประเมินอัตราการหายใจด้วย
การนบั จานวนคร้ัง (rate) ความลกึ (depth) และจงั หวะ (rhythm)

ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันของเลือดที่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย ทาให้มีปริมาณ
เลือดเข้าสู่ Aorta กระทบกับผนังหลอดเลือดแดง เกิดเป็นความดันสูงสุด คือ ความดัน ซีสโทลิก (systolic
pressure) และความดันต่าสูดขณะหัวใจคลายตัว คือ ความดัน ไดแอสโทลิก (diastolic pressure) มีหน่วย
เป็นมิลลเิ มตรปรอท (millimeters of mercury : mmHg)

ระดับความปวด หมายถงึ ความรสู้ ึก หรือประสบการณ์เฉพาะบุคคลในช่วงเวลาหน่ึงๆ ซึ่งการประเมิน
ระดับความปวดต้องใช้การสังเกต ซักถามจากผู้ใช้บริการโดยตรง ในปัจจุบันนับความปวดเป็นสัญญาณชีพตัวที่
5 จึงต้องมีการประเมินตาแหน่งท่ีปวด ระดับความรุนแรง ลักษณะของความเจ็บปวด ความถ่ีในการปวด
ช่วงเวลา และระยะเวลา อาจประเมินเป็นระดบั คะแนน 0-10

ค่าความอ่ิมตัวของออกซิเจนในกระแสเลือด หมายถึง ค่าร้อยละของฮีโมโกลบินท่ีจับกับออกซิเจน
(oxygenated hemoglobin) ใช้เครื่องมือท่ีเรียกว่า Pulse oximetry ซึ่งจะมีแสงจับ (photosensors) ส่อง
ออกมา และฮีโมโกลบินท่ีจับตัวกับออกซิเจนจะดูดแสงน้ีไว้ และสะท้อนกลับมายังเคร่ือง เป็นค่า pulse
oxygen saturation (SaO2) หน่วยวัดเปน็ เปอร์เซ็นต์

การประเมินก่อนการปฏบิ ัติการพยาบาล
การประเมินสภาพผูใ้ ช้บรกิ าร
1. ตาแหน่งในการวัด
1.1 ตาแหน่งในการวดั อุณหภมู ิ แบง่ ออกไดด้ งั น้ี
1.1.1 การวัดอุณหภมู ทิ างปาก ผู้ใช้บริการต้องมีสตสิ มั ปชัญญะสมบรู ณ์ ใหค้ วามร่วมมอื ในการ

ปฏิบัติ ไม่เป็นผู้วิกลจริต สามารถหุบปากได้สนิท ไม่มีบาดแผลในปาก หรือทาผ่าตัดในช่องปาก และไม่
รับประทานอาหาร ดื่มน้าอุ่นหรือน้าเย็น เค้ียวหมากฝร่ังหรือสูบบุหรี่ภายใน 30 นาที ก่อนการวัดอุณหภูมิ ถ้า
เปน็ เด็กต้องมอี ายุเกนิ 6 ปี สามารถเขา้ ใจคาพูด และสอ่ื สารไดถ้ กู ตอ้ ง

1.1.2 การวัดอุณหภูมิทางรักแร้ ผู้ใช้บริการต้องไม่ทาผ่าตัด หรือมีแผลบริเวณรักแร้ สามารถ
หบุ รกั แรไ้ ด้สนทิ และไมม่ เี หงื่อออกมาก

1.1.3 การวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก ผู้ใช้บริการต้องไม่มีบาดแผลบริเวณทวารหนัก ไม่ถ่าย
อจุ จาระเหลวบอ่ ยคร้ัง ในผู้ใชบ้ ริการทรี่ ู้ตวั ดี ไมค่ วรวดั อณุ หภูมทิ างทวารหนัก เพราะทาใหร้ ู้สกึ เขนิ อาย

1.2 ตาแหน่งในการจับชีพจร บริเวณท่ีจับชีพจร ไม่ควรมีบาดแผล การอักเสบ เจ็บปวด แผลเป็น
หรือ พกิ าร ซึ่งตาแหน่งท่ีใชใ้ นการจับชีพจร จะเป็นบรเิ วณผวิ หนงั ท่มี ีสว่ นบาง และสามารถรับสัมผัสการเต้นของ
หวั ใจจากหลอดเลอื ดแดง (arteries) ได้อยา่ งชัดเจน ได้แก่

1. Temporal ขมบั
2. Carotid ขา้ งคอ
3. Apical ยอดของหัวใจ
4. Brachial ข้อพบั แขน
5. Radial ขอ้ มอื ด้านนวิ้ หัวแม่มือ เป็นตาแหนง่ ทน่ี ิยมจับชพี จร
6. Femoral ขาหนบี
7. Popliteal ข้อพับใต้หวั เข่า
8. Dorsalis Pedis หลงั เทา้
9. Posterior Tibialis ตาตมุ่

ในกรณีผูใ้ ช้บรกิ ารอยู่ในวัยทารก ตงั้ แต่แรกเกิด ถงึ 2-3 ขวบ หรอื ผู้ใหญ่ทมี่ ชี ีพจรบรเิ วณหลอดเลอื ด
สว่ นปลายผิดปกติ หรือผู้ปว่ ยโรคหวั ใจ และไดร้ บั ยาที่มีผลต่อการเต้นของหวั ใจ มักใช้การคลา และนบั ชพี จร
บรเิ วณยอดอก (apical pulse) ซ่ึงจะไดค้ า่ ทีช่ ดั เจน และเทีย่ งตรง

1.3 ตาแหนง่ ในการนบั การหายใจ จะสงั เกตจากลกั ษณะการเคล่ือนไหวของทรวงอก หรือ
หนา้ ท้องทส่ี ามารถมองเห็นได้ชดั เจน

1.4 ตาแหนง่ ในการวัดความดันโลหติ สภาพของแขน และขาของผู้ใช้บริการปกติ ไม่มี
บาดแผลบริเวณข้อพับแขน หรอื ขา บริเวณท่จี ะวดั ไมม่ กี ารใหเ้ ลือด การให้สารละลายเขา้ ทางหลอดเลือดดา
หรอื การผ่าตัดต่อหลอดเลอื ดในบรเิ วณดังกลา่ ว

1.5 ความปวด ตาแหน่งความปวดจะขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของโรค ความปวดเป็นความร้สู กึ
หรือประสบการณส์ ว่ นบุคคลทีจ่ ะบอกความปวดของตนเองได้ การประเมนิ ความปวดประกอบด้วย ตาแหนง่ ที่
ปวด ระดับความรนุ แรง ลักษณะของความปวด ความถี่ในการปวด และระยะเวลาในการปวด

1.6 ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในกระแสเลือด ตาแหนง่ ท่ีวดั คา่ oxygen saturation
(SaO2) จะเป็นบริเวณผิวหนังบรเิ วณทมี่ เี ลอื ดไปเลยี้ งเพยี งพอ มลี ักษณะไมซ่ ดี ขาว ตาแหนง่ ทีน่ ยิ มวัดได้แก่ นิ้ว
มือ นิ้วเทา้ ตง่ิ หู ปลายจมูก ฯลฯ

2. ช่วงเวลาในการในการวดั สญั ญาณชพี วดั ตามนโยบายของสถานพยาบาลโดยท่ัวไปจะวัดเมอื่ แรกรับ
ที่เข้ารักษาในสถานพยาบาล หรอื ตามอาการของผ้ใู ช้บรกิ าร ผใู้ ช้บรกิ ารทีม่ อี าการหนัก หรืออาการ
เปลีย่ นแปลงรวดเร็ว ผู้ใชบ้ ริการกอ่ น หรือหลงั ผา่ ตัด จะวดั บอ่ ยขึน้ ตามความเหมาะสม

3. ประวตั ิการเจ็บปว่ ย และยาทีไ่ ดร้ บั เน่ืองจากยาบางชนดิ มีผลตอ่ ค่าของสญั ญาณชีพ
4. คา่ ของสัญญาณชพี ปกติของผใู้ ชบ้ รกิ าร เพ่ือการพิจารณาเปรียบเทยี บ
5. ความสุขสบาย และปลอดภัย เช่น การจัดท่า สภาพของเตียง และท่นี อน รวมทง้ั ความร้สู กึ และ
อารมณ์ของผใู้ ช้บรกิ าร

อุณหภูมิของร่างกาย (Body Temperature)
เครือ่ งมอื ที่ใชว้ ดั อณุ หภมู ิร่างกาย

1. ปรอท ( Clinical Thermometer )
- ชนดิ ท่ใี ช้วัดทางปาก และรกั แร้

- ชนิดท่ีใชว้ ัดทางทวารหนัก

2. เคร่ืองวัดอุณหภูมขิ องร่างกายชนดิ อน่ื ๆ เช่น
- เคร่ืองวัดอุณหภมู ิทางหู / หน้าผาก

- เครือ่ งวัดอณุ หภูมแิ บบอนิ ฟาเรด

- แผ่นวดั อุณหภมู ิ ลักษณะคลา้ ยแผน่ ฟิล์มบางๆ สดี า

การวัดอณุ หภมู ิของร่างกาย ท่ีนิยมวัดได้ 3 ทาง คือ

1. ทางปาก
- เป็นวธิ สี ะดวก นยิ มใช้มากท่ีสดุ และค่าที่ได้ใหผ้ ลใกลเ้ คียงกับอุณหภูมิของรา่ งกาย
- การวดั ทางปากใชก้ บั ผ้ใู หญ่และเด็กท่ีมีอายุ มากกวา่ 6 ปี
- หา้ มใชใ้ นผู้ปว่ ยที่หมดสติ วกิ ลจริต ผ้ปู ว่ ยท่หี อบ ไอบ่อย ผทู้ ่ตี อ้ งหายใจทางปาก ปากเปอื่ ย

เปน็ แผลหรอื ผ่าตัดทางปาก
- ไมค่ วรวัดในผ้ปู ว่ ยท่เี พงิ่ ดมื่ น้า รับประทานอาหารที่ร้อน เยน็ จัด หรือสูบบุหร่ี
- วัดนาน 2 – 3 นาที
2. ทางรักแร้
- ได้คา่ ไม่ค่อยเท่ียงตรง ไมน่ ิยม นอกจากรายท่ีไมส่ ามารถวัดทางปากได้ การวดั ทางรักแร้

จะได้ค่าตา่ กว่าวัดทางปาก
- วัดนาน 5 นาที
3. ทางทวารหนกั
- ใชว้ ัดในทารกและเด็กเล็ก หรอื ผู้ปว่ ยทีห่ มดสติ ค่าทไ่ี ดจ้ ะสูงกวา่ วดั ทางปาก ประมาณ

0.5 องศาเซลเซียส ( C )
- ไมค่ วรใชใ้ นผู้ป่วยที่เป็นโรคหรอื ผา่ ตดั เกยี่ วกับทวารหนกั หรอื ภาวะท้องร่วงอยา่ งแรง
- วดั นาน 1 – 2 นาที

อุปกรณ์ / เคร่ืองใช้
1. ถาดพร้อมภาชนะบรรจุของใช้ตา่ งๆ ดังน้ี
- ภาชนะสาหรับใสป่ รอทสะอาด
- ภาชนะใส่นา้ ยาฆ่าเช้อื เชน่ ไอโอดีน 0.2 % ในแอลกอฮอล์ 70 %
- อบั ใสส่ าลสี ะอาด
- ภาชนะใสส่ าลีทีใ่ ชแ้ ล้ว
- วาสลนี 1 หลอด ( สาหรับวัดทางทวารหนัก )
2. นาฬกิ าที่มีเข็มบอกวินาที
3. กระดาษรายชอื่ ผปู้ ่วยสาหรบั จดบันทกึ ผลการวดั สญั ญาณชีพ

ขนั้ ตอนการปฏิบัตกิ ารวัดอณุ หภูมิ เหตุผล
ขนั้ ตอนการปฏิบัติ
- เพื่อลดจานวนเชอ้ื โรคซ่งึ อาจนาไปสผู่ ปู้ ่วย
1. ลา้ งมือใหส้ ะอาด - เพอื่ ใหผ้ ้ปู ่วยใหค้ วามร่วมมือ
2. บอกใหผ้ ปู้ ว่ ยทราบ

3. นาปรอทสะอาดออกจากภาชนะจับใหม้ ัน่ คง - เพอื่ ใหค้ ่าท่ีแน่นอน
สลดั ปรอทใหล้ งต่าถึง 35 C โดยการสลัดขอ้ มือ
4. เลือกตาแหนง่ ในการวดั อุณหภมู ิให้เหมาะสม - เพื่อวดั อณุ หภมู ิของร่างกายไดแ้ น่นอนยิ่งขน้ึ
4.1 การวัดทางปาก ให้ผู้ปว่ ยอมปรอทไว้ใต้ล้ิน เพราะใตล้ ้นิ มหี ลอดเลือดเปน็ จานวนมาก
หุบปากให้สนิท นาน 2 – 3 นาที
4.2 วัดทางทวารหนกั - วาสลนิ ชว่ ยหลอ่ ลน่ื ให้สอดปรอทได้งา่ ยขึ้น
สาหรับผใู้ หญ่ ใหน้ อนตะแคงและงอเข่า ไม่ระคายเคอื งตอ่ เยื่อบุ
คลุมผา้ ห่มให้เรียบร้อย ทาวาสลินท่ี
ปลายปรอท ใชม้ อื ดึงกน้ ด้านบนขึ้น - ให้กล้ามเน้ือหูรูดคลายตวั สอดปรอทไดง้ ่าย
เปิดให้เหน็ ทวารหนกั ให้ผู้ปว่ ยหายใจ
เข้าออกลึก ๆ ชา้ ๆ แล้วสอดปรอทเข้าไป - เพ่อื ใหไ้ ด้คา่ อุณหภมู ทิ ่แี น่นอน
ในทวารหนัก ประมาณ 0.5 – 1 นว้ิ
ทง้ิ ไว้ 1 – 2 นาที และตอ้ งอยู่กับผู้ปว่ ย - เพื่อประหยัดเวลา
ตลอดเวลา - ลดส่ิงสกปรก เช่น นา้ ลาย เมือก หรือเศษ
การวัดอณุ หภมู ิทารก ใหส้ อดปรอท อุจจาระ และลดเชื้อโรคก่อนอ่านคา่
1.5 – 2 ซม. โดยจับขาท้งั 2 ขา้ งขึน้ - ให้อา่ นคา่ ได้ถูกต้อง

4.3 วัดทางรักแร้ ให้เช็ดรกั แร้ให้แหง้ สอด
ปรอทให้อยใู่ นอ้งุ รกั แรแ้ ละหนบี รกั แร้ใหแ้ นน่
ทิ้งไว้ 5 นาที
5. ระหวา่ งวัดอุณหภูมคิ วรนับชพี จร/หายใจด้วย
6. เมอ่ื เอาปรอทออก ใชส้ าลเี ช็ดปรอทสว่ นใต้
มือจบั ลงไปทางปลาย โดยหมนุ บิดไปมา
7. อา่ นค่าอุณหภูมจิ ากปรอทโดยถือปรอทตาม
แนวนอนระดบั สายตาและแช่ปรอทในนา้ ยาฆา่
เชื้อ

ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ เหตุผล

8. ล้างมอื ใหส้ ะอาด - ลดการแพร่เชือ้ โรค
9. บันทึกผลการวดั อณุ หภูมิ ชพี จร การหายใจ - เพ่ือใหส้ ามารถใหก้ ารดูแลที่ตอ่ เน่ือง
10. การทาความสะอาดปรอท - เพื่อลดการแพรก่ ระจายเช้ือโรค

10.1 หลงั จากใช้ปรอทแลว้ แช่ดว้ ยนา้ ยาฆ่า
เชอ้ื โรค เชน่ ไอโอดีน 0.2 % ในแอลกอฮอล์ 70
%
นาน 15 นาที

10.2 ลา้ งนา้ ยาออกด้วยน้าสะอาด
10.3 เชด็ ใหแ้ ห้งและเก็บเข้าทใ่ี หเ้ รยี บร้อย
10.4 ผปู้ ่วยตดิ เช้อื ควรแยกปรอทเฉพาะ
ราย

ชีพจร (Pulse)

ตาแหนง่ ในการจบั ชพี จร
1. Temporal ขมบั
2. Carotid ขา้ งคอ
3. Apical ยอดของหวั ใจ
4. Brachial ข้อพบั แขน

5. Radial ข้อมอื ด้านนวิ้ หวั แม่มอื เปน็ ตาแหน่งทีน่ ยิ มจบั ชีพจร
6. Femoral ขาหนีบ
7. Popliteal ขอ้ พบั ใต้หวั เขา่
8. Dorsalis Pedis หลังเท้า
9. Posterior Tibialis ตาตมุ่

สิง่ ทตี่ ้องสังเกตในขณะจบั ชีพจร ครั้งต่อนาที
1.อตั ราความเรว็ ของชพี จร (Rate) ครง้ั ต่อนาที
อตั ราชีพจร ทารกแรกเกิด 120 ครงั้ ตอ่ นาที
คร้ังตอ่ นาที
อายุ 1 ปี 110 ครั้งต่อนาที
อายุ 5 ปี 95
อายุ 10 ปี 85
วยั รนุ่ 80

ผูใ้ หญ่ 75 ครัง้ ต่อนาที
โดยปกติ ผู้ใหญจ่ ะมีชีพจรเต้น 60-100 ครัง้ /นาที แต่ผทู้ี่ีสขุ ภาพแข็งแรง หรือนักกีฬามักมีชีพจรต่า
โดยอาจมอี ัตราการเตน้ ของหัวใจขณะพกั อย่ทู ีเ่ พยี ง 40-60 ครงั้ /นาที
ในผ้ใู หญ่ ถ้าชีพจรเร็วกว่า 100 ครงั้ ต่อนาที ถือว่าเรว็ กว่าปกติ (Tachycardia) โดยอาจทาให้มอี าการ
ใจสัน่ หายใจหอบเหน่ือย อ่อนลา้ เวียนศรี ษะ รูส้ กึ หวิว หรอื เปน็ ลมหมดสติได้ หากมีอาการรา้ ยแรงอาจทาให้
เกิดลิม่ เลือดอุดตนั หวั ใจวาย หรอื หวั ใจหยุดเต้นและเสียชีวติ ได้
ถ้าชีพจรเต้นช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาที ถือว่า ช้าผิดปกติ (Bradycardia) ซ่ึงอาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ
ได้ โดยเฉพาะหากหัวใจเต้นช้า จนไม่สามารถสูบฉีดเลือด และนาออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่าง ๆ ตาม
ร่างกายได้อย่างเพียงพอ ซึ่งอาจทาให้มีอาการ เช่น รู้สึกเหน่ือย อ่อนเพลีย เหน่ือยเร็วเมื่อออกกาลังกาย
วิงเวียนศีรษะ สับสนมึนงง ไม่มีสมาธิ หายใจไม่สุด ใจสั่น เป็นลม วูบ หากมีอาการร้ายแรงอาจทาให้ความดัน
โลหิตผิดปกติ เป็นลมบอ่ ย หัวใจวาย หรือหวั ใจหยดุ เตน้ ได้

ปัจจัยท่ีมีผลตอ่ อตั ราชพี จร ไดแ้ ก่

- อายุ เด็กแรกเกดิ และเด็กอ่อนจะมอี ุณหภมู สิ ูงกวา่ เด็กโตและผู้ใหญ่
- เพศ หญิงจะเร็วกวา่ ชายเล็กนอ้ ย
- การออกกาลังกาย ชีพจรจะสงู ข้นึ เมอ่ื ออกกาลงั กาย
- อารมณ์ เครียด โกรธ เจบ็ ปวด ชีพจรจะเรว็ ขนึ้
- ยา ยาบางชนิดจะมผี ลต่อการเพม่ิ หรอื ลดความเร็วของชพี จร
- การตกเลือด การสูญเสยี เลือดจากระบบหลอดเลอื ด ประมาณ 10 % จะทาใหช้ พี จรเร็วขน้ึ
- ท่าทาง ยืนชพี จรจะเรว็ กวา่ นง่ั หรอื นอน เพราะหัวใจต้องบีบตวั เร็วขน้ึ เพือ่ สูบเลือดไปเล้ียงรา่ งกาย

2.จงั หวะชพี จร (Pulse rhythm) ปกตจิ งั หวะของชีพจรจะสม่าเสมอ แต่ละช่วงห่างเทา่ กัน ถา้ จงั หวะไม่
สมา่ เสมอ เรียกว่า arrhythmia

3.ปริมาตรชีพจร (Pulse volume) หมายถึง ความแรงของเลอื ดในหลอดเลือดแดงท่มี า
กระทบมือแตล่ ะคร้ัง ในภาวะปกติความแรงของชีพจรจะเท่ากนั

4.ความยืดหยนุ่ ของผนังหลอดเลอื ดแดง ปกตผิ นังของหลอดเลอื ดแดง จะตรง และเรยี บ มคี วามยืดหยุ่นดี

ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิการจับชีพจร

ข้นั ตอนการปฏิบัติ เหตผุ ล

1. ลา้ งมอื ใหส้ ะอาด - เพอ่ื ลดจานวนเชื้อโรคซ่ึงอาจนาไปสผู่ ปู้ ว่ ย
2. บอกใหผ้ ้ปู ว่ ยทราบ - เพื่อใหผ้ ูป้ ่วยใหค้ วามรว่ มมือ

3. ใช้ปลายน้ิวช้ี นวิ้ กลาง นิ้วนาง วางตรง - นวิ้ ช้ี น้วิ กลางและนว้ิ นาง สัมผสั ความรู้สกึ
ตาแหนง่ ของชพี จร กดเบา ๆ พอใหร้ ู้สกึ ถึง ได้ดีกวา่ นว้ิ อื่น
การเต้นของชีพจรจนเต็ม 1 นาที สังเกตช่วงห่าง
ของชีพจรสม่าเสมอ หรือไม่ เบา หรอื แรง - เพ่อื ประเมินการทางานของหัวใจ
4. ลา้ งมอื ให้สะอาด
5. จดบันทึกลงในแบบบนั ทึก - เพอ่ื ปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเช้ือโรค
- เพอื่ ประโยชนใ์ นการวางแผนการพยาบาล

การนบั การหายใจ ( Respiration )
การหายใจ คือ การนาออกซิเจนเข้าสรู่ ่างกายและขับคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายการหายใจมี
2 ขน้ั ตอน ได้แก่
1. การหายใจเพื่อแลกเปลี่ยนกา๊ ซออกซิเจนและคารบ์ อนไดออกไซด์ระหวา่ งปอดกบั อากาศภายนอก
1.1 การสูดเอาอากาศเข้าไปในถงุ ลมของปอด เรยี กวา่ การหายใจเขา้ (Inspiration)
1.2 การไลอ่ ากาศออกจากปอด เรียกวา่ การหายใจออก (Expiration)
2. การแลกเปล่ียนก๊าซออกซเิ จนและคาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ อยใู่ นเลือดกับเซลล์ของเน้ือเยื่อต่าง ๆ ในรา่ งกาย
โดยเซลลข์ องร่างกายจะจับเอาออกซเิ จนจากเลอื ดและถ่ายคาร์บอนไดออกไซด์ให้กบั เลือด

อัตราการเคลอ่ื นไหวของอากาศเข้าปอดนี้ เรียกวา่ การระบายอากาศ (Ventilation) ซ่งึ อาจหายใจ
เรว็ และลกึ ผดิ ปกติ (Hyperventilation) หรอื หายใจตนื้ มาก (Hypoventilation)

การหายใจเป็นการทางานแบบอตั โนมตั ิโดยมศี นู ย์ควบคมุ การหายใจอยู่ทส่ี ่วนท้ายของสมอง
(Medulla Oblongata) แต่อยา่ งไรกต็ ามระยะเวลาและความลกึ ของการหายใจบางขณะกส็ ามารถถูกควบคุม
โดยอานาจจติ ใจได้เป็นพัก ๆ เช่น ได้รับอทิ ธิพลจากความเจบ็ ปว่ ย การเปลย่ี นแปลงของอารมณห์ รือสภาวะ
แวดล้อม อาจมผี ลทาใหห้ ายใจตืน้ หรอื ลึกกว่าปกติได้ ดังน้ันการหายใจจึงไม่ควรให้ผปู้ ่วยรตู้ วั
ส่ิงทีต่ ้องสงั เกตในการหายใจ
1. อตั ราของการหายใจ
- เดก็ แรกเกิด 35 - 50 ครงั้ ตอ่ นาที
- 2 ปีขึน้ ไป 25 – 35 คร้ังตอ่ นาที
- วัยรุน่ 20 ครั้งตอ่ นาที
- ผใู้ หญ่ 16 – 20 คร้ังต่อนาที
- ผสู้ งู อายุ 14 – 16 คร้งั ต่อนาที

ในผู้ใหญห่ ากหายใจเกินกว่า 24 ครั้งตอ่ นาที ถือว่าหายใจเร็ว (Tachypnea) หากหายใจ
น้อยกว่า 10 คร้งั ต่อนาที ถือวา่ หายใจช้า (Bradypnea) ถ้าไม่หายใจเลย เรียกวา่ หยดุ หายใจ (Apnea)

โดยปกติอตั ราเรว็ ของการหายใจจะสมั พันธ์กบั อตั ราการเตน้ ของหัวใจ นอกจากนี้การหายใจชา้
หรือเรว็ จะมปี ัจจยั หลายอย่าง เชน่ หลังออกกาลงั กายจะมกี ารหายใจเร็วขึน้ อารมณ์ อุณหภูมิของร่างกาย
โรคตา่ ง ๆ เป็นตน้
2. ความลกึ ของการหายใจ ให้สังเกตการเคลือ่ นไหวของทรวงอก สามารถบอกได้วา่ หายใจลกึ หรือตืน้ โดย
เฉลยี่ การหายใจแต่ละครัง้ จะมกี ารแลกเปล่ยี นก๊าซ ประมาณ 500 มลิ ลิลติ ร
3. จงั หวะการหายใจ การหายใจปกติจังหวะการหายใจเข้าและออกจะเท่ากนั
4. ลกั ษณะการหายใจ การหายใจปกติ (Eupnea) จะตอ้ งไมใ่ ชแ้ รงมาก ไมม่ ีเสยี งและไมเ่ จ็บปวด ถา้ มี
อาการหายใจลาบากหายใจขัด (Dyspnea) จะตอ้ งออกแรงหายใจมาก นอกจากน้จี ะต้องสังเกตเกยี่ วกับเสียง
ทผ่ี ิดปกติ เชน่ เสยี งวด๊ี (Wheezing) แสดงวา่ ทางเดินหายใจแคบ

ขัน้ ตอนการปฏิบัตกิ ารนบั การหายใจ เหตุผล
- เพอ่ื ลดจานวนเช้อื โรคซ่งึ อาจนาไปสูผ่ ู้ปว่ ย
ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ - เพอื่ ให้ผ้ปู ่วยให้ความรว่ มมือ
- เพอ่ื ไม่ใหผ้ ู้ป่วยระมัดระวงั เกีย่ วกบั การหายใจ
1. ล้างมอื ใหส้ ะอาด
2. บอกใหผ้ ปู้ ่วยทราบ - เพ่ือจะไดค้ ่าที่แนน่ อน
3. วางมือในลกั ษณะจบั ชีพจรหากนบั ชีพจรแลว้
ใหส้ ังเกตการหายใจต่อทนั ที
4. นบั การหายใจโดยดกู ารขยายตัวของกระดูก
ซ่ีโครง และกระบังลมบรเิ วณหน้าอก ขณะที่

มกี ารขยายตวั และหดตัวใหน้ ับเปน็ การหายใจ - เพ่ือเปน็ แนวทางประเมินภาวะการหายใจ
1 คร้ัง นับได้เต็ม 1 นาที
5. สังเกตลักษณะการหายใจ ความต้ืนลึก - เพ่ือปอ้ งกันการแพร่กระจายของเช้ือโรค
ความสม่าเสมอ ลักษณะของการหายใจลาบาก - เพ่ือประโยชน์ในการวางแผนการพยาบาล
6. ลา้ งมือใหส้ ะอาด
7. จดบันทกึ ลงในแบบบันทึก

การวัดความดนั โลหติ (Blood Pressure)
ความดันโลหิต (Blood Pressure) หมายถงึ ความดันของเลือดที่กระทบกับผนงั ของหลอดเลอื ดแดง มี 2
อยา่ ง คือ

1.ความดนั ซสี โทลิก (Systolic Pressure) เป็นคา่ ความดันสงู สุด ท่เี กดิ จากหวั ใจหอ้ งลา่ งซ้ายบีบตวั
2.ความดันไดแอสโทลิก (Diastolic Pressure) เปน็ ค่าความดนั ตา่ สดุ ท่เี กิดข้นึ ขณะหัวใจหอ้ งล่าง
ซ้ายคลายตัว

ความดนั ชพี จร (Pulse Pressure) คอื ค่าความแตกตา่ งระหว่างค่าความดนั ซีสโทลิก และความดัน

ไดแอสโทลกิ

การวัดความดนั โลหติ เป็นการวดั การทางานของหัวใจและแรงต้านทานส่วนปลายของหลอดเลือด

ซึ่งจะมหี นว่ ยเป็นมลิ ลิเมตรปรอท ( mmHg ) เชน่ คา่ ความดนั โลหิต 120/80 มม.ปรอท หมายถึง ค่าความ

ดนั ซีสโทลิก 120 มม.ปรอท ค่าความดนั ไดแอสโทลิก 80 มม.ปรอท ความดนั ชพี จร 40 มม.ปรอท

คา่ ปกติความดนั โลหิต

- เดก็ แรกเกิด ความดนั ซสิ โทลกิ ประมาณ 20 - 60 มม.ปรอท

- 3 เดือน ความดนั ซสิ โทลกิ ประมาณ 80 มม.ปรอท สว่ นคา่ ความดันไดแอสโทลิก ยังไม่แน่นอน

- 16 ปีข้นึ ไป ความดันโลหิตไมค่ วรสงู และต่ากวา่ ค่าเฉล่ยี ดังนี้

ความดันซีสโทลกิ ประมาณ 90 - 140 มม.ปรอท

ความดันไดแอสโทลกิ ประมาณ 60 - 90 มม.ปรอท

ความดนั ชีพจร ประมาณ 40 มม.ปรอท

ความดนั โลหิตท่ผี ดิ ปกติ ได้แก่ ภาวะทีม่ คี วามดันโลหติ สงู (Hypertension) และภาวะทมี่ ีความดัน

โลหติ ตา่ (Hypotension)

ภาวะความดนั โลหิตสูง คือ เม่อื วัดความดนั โลหิตของผู้ป่วยอย่างน้อย 2 คร้งั ในแตล่ ะครงั้ ท่ผี ปู้ ว่ ย
มาพบแพทย์ ถ้าพบวา่ ความดันโลหติ ผดิ ปกติมากกวา่ 2 ครง้ั ขึ้นไป โดยทค่ี ่าเฉลีย่ ของ ซสี โทลิก สงู กวา่ ปกติ
หรอื เท่ากับ 140 มิลลเิ มตรปรอท หรอื ดนั ไดแอสโทลกิ สงู กว่าหรอื เทา่ กับ 90 มลิ ลเิ มตรปรอท

ภาวะความดันโลหติ ตา่ คอื ภาวะท่ี ซีสโทลกิ ตา่ กว่า 90 มลิ ลิเมตรปรอท และ/หรือ ความดนั โลหติ
ไดแอสโทลกิ ต่ากว่า 60 มิลลิเมตรปรอท ซ่ึงความดันโลหิตต่าอาจต่าเพยี งความดนั ซสี โทลิก หรือ ไดแอสโทลกิ
ตัวใดตวั หนึ่ง หรือต่าทั้งสองตัวกไ็ ด้ ซงึ่ โดยท่ัวไป แพทยไ์ มจ่ ดั ความดันโลหติ ตา่ เปน็ โรค แตจ่ ัดเป็นภาวะ ทย่ี ังไม่
มีการบนั ทึกอุบัติการณท์ ่ีแนน่ อน เพราะเมื่อความดันโลหิตตา่ ไม่มาก มักไม่ก่ออาการ และเมอ่ื มีอาการ ผ้ปู ่วย
จะมาพบแพทยด์ ว้ ยอาการ เช่น วงิ เวียน เปน็ ลม ไม่ได้มาด้วยเร่อื งความดันโลหติ ตา่ อย่างไรกต็ าม ภาวะความ
ดนั โลหติ ตา่ พบเกิดไดท้ ั้งสองเพศใกล้เคยี งกัน และพบไดใ้ นทุกอายุ ตง้ั แต่เด็กอ่อนไปจนถึงผสู้ ูงอายุ ทั้งน้ีข้นึ กับ
สาเหตุภาวะทคี่ วามดันของเลือดต่า โดยมรี ะดบั อยทู่ ่ี 90/60 มลิ ลิเมตรปรอท ซงึ่ ถือเปน็ รูปแบบของความดนั ตา่
ท่ัวไป แต่หากเปน็ อาการความดนั ต่าในผู้สูงอายุ ก็จะอยู่ที่ 100/70 มลิ ลเิ มตรปรอท ภาวะความดันตา่ ยังไม่มี
การบันทึกอบุ ตั ิการณ์ เพราะหากเกดิ ความดนั ต่าในระดับท่ีไมม่ าก รา่ งกายก็อาจจะไม่แสดงอาการใด ๆ
สง่ิ ท่ีควบคุมความดนั โลหิต คือ
1. ปริมาณเลอื ดทส่ี ูบฉีดออกจากหัวใจ ถ้าหวั ใจมแี รงบีบตวั มาก ปรมิ าณเลือดที่สบู ฉีดออกมากม็ ีมากและ
ความดนั โลหิตก็จะสงู ดว้ ย ถ้าหัวใจมแี รงบีบตัวน้อย ปรมิ าณเลือดทสี่ ูบฉดี ออกมาก็น้อย ความดนั โลหติ ก็จะ
ลดตา่ ไปด้วย
2. ความหนดื ของเลือด เลือดทม่ี ีความหนดื มาก ทาใหเ้ ลือดไหลชา้ และใช้ความดันสงู จึงทาให้ความดนั สงู ขน้ึ
3. ความยืดหยุ่นของผนงั หลอดเลือดแดง เม่อื หลอดเลือดแดงตีบแข็งหมดความยืดหยุ่นซึ่งมักพบในคนสงู อายุ
ความดันซิสโทลิกจะสงู ข้นึ
4. ปริมาณของเลือด การเพิ่มหรือลดปรมิ าณเลือดย่อมมผี ลต่อความดันเลือด ถ้าจานวนเลือดลดลง เชน่ มี
การเสยี เลอื ดอย่างกระทันหรือท้องเดินอย่างรนุ แรง จะมีผลทาให้หวั ใจบบี ตัวแรงขน้ึ เพอ่ื ให้มีเลือดไปเลีย้ ง
ร่างกายเพียงพอ ซึง่ จะมผี ลให้ความดนั โลหิตสงู ขน้ึ
ปจั จยั ท่ีมผี ลต่อความดนั โลหติ มีดงั นี้
1. อายุ ผสู้ งู อายคุ วามดันโลหติ จะสูงขึ้น เนื่องจากความยืดหยุน่ ของผนังหลอดเลอื ดลดลง และมีการเกาะตวั
ของแคลเซยี่ มและโคเลสเตอรอลที่ผนังหลอดเลือดมากขนึ้
2. การออกกาลงั กาย เปน็ การเพมิ่ จานวนเลือดซงึ่ ถูกฉีดออกจากหวั ใจ ทาใหค้ วามดนั สงู ขึน้
3. ความเครยี ดและการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เช่น ความตนื่ เต้น ความกลวั ความเจบ็ ปวด ภาวะเหล่าน้ี
จะกระตุน้ ประสาทอตั โนมัติทาให้หวั ใจบบี ตัวแรงขน้ึ ความดันโลหิตสงู ขน้ึ
4. ลกั ษณะของรา่ งกายและอื่น ๆ เชน่
4.1 รปู ร่าง คนอว้ นความดนั โลหิตมกั สงู กวา่ คนผอม
4.2 เพศ ผู้ชายความดนั โลหิตสงู กวา่ ผหู้ ญงิ ในวยั เดียวกัน

4.3 ยา ที่มผี ลต่อการทางานของหัวใจและหลอดเลือด เช่น ยาขยายหลอดเลือดจะทาใหค้ วามดนั โลหติ ต่าลงได้
4.4 โรคประจาตวั เช่น โรคไตมักจะมีความดันโลหิตสงู
4.5 การด่มื สรุ า จะทาใหค้ วามดนั โลหิตสงู ขน้ึ
การวัดความดันโลหติ มี 2 วิธี
1. การวัดความดันโลหติ ทางตรง (Central Venous Blood Pressure หรือ CVP) เป็นการวดั ความดันโลหติ
ศนู ย์กลางจากหลอดเลือดดา
2. การวัดความดนั โลหิตทางอ้อม เปน็ การวดั ความดนั โลหติ ทวั่ ไป

เครอ่ื งวัดความดันโลหิต (Sphygmomanometer) มีหลายชนดิ ได้แก่

อปุ กรณ์เคร่ืองใช้

1. เครือ่ งหูฟัง (Stethtoscope)
2. เครื่องวดั ความดันโลหติ
3. สาลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สาหรับเชด็ เคร่อื งหูฟงั

ทพี่ ันแขนสาหรบั เคร่ืองวดั ความดนั (Cuff) มีขนาดแตกต่างกนั ของผใู้ หญ่จะกวา้ งประมาณ 5 นิ้ว
เดก็ 7 – 12 ปี กว้าง 4 นิ้ว เด็ก 2 – 6 ปี กวา้ ง 3 น้วิ ต่ากว่า 1 ปี กวา้ ง 1½ นว้ิ การเลือกขนาดของผ้า
พนั แขน (Cuff) ตอ้ งเลือกใชใ้ หถ้ ูกขนาดกบั ผปู้ ่วย คือ กวา้ งประมาณ 3 ใน 4 ของความยาวชว่ งแขนตอนต้น
หรอื ประมาณ 4 – 5 นิ้ว ถ้าใช้ขนาดผา้ เลก็ เกนิ ไปอาจทาใหอ้ ่าคา่ ความดนั โลหิตไดส้ ูงกวา่ ความเป็นจริง ถ้าใช้
ขนาดผา้ ใหญ่เกินไปอาจทาให้อ่านคา่ ความดนั โลหติ ไดต้ า่ กว่าความเปน็ จริงโดยทั่วไปวัดที่หลอดเลือดแดงที่ข้อ
พับแขน (Brachial artery) หากมเี หตจุ าเป็นวดั บรเิ วณนี้ไมไ่ ด้ ใหว้ ัดท่หี ลอดเลอื ดแดงที่ข้อพบั เขา่ (Popliteal
artery)

ในการวดั ความดันที่ต้องใชเ้ ครือ่ งหูฟงั ให้ถอื ปฏิบตั ดิ ังน้ี

1. ความดันความดันซิสโทลกิ จดุ แรกเมื่อเรม่ิ ไดย้ นิ เสยี งครง้ั แรก

2. ความดนั ไดแอสโทลกิ จดุ สดุ ทา้ ยทเ่ี สยี งเริ่มเปล่ยี นหรอื เสียงหายไป

ขนั้ ตอนการปฏิบัติ

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติ เหตุผล

1. ล้างมอื ให้สะอาด - เพื่อลดจานวนเชื้อโรคซึ่งอาจนาไปส่ผู ้ปู ่วย
2. บอกให้ผปู้ ่วยทราบ - เพือ่ ให้ผ้ปู ว่ ยให้ความรว่ มมือ
3. จดั ให้ผูป้ ่วยน่งั หรือนอนในทา่ สบาย - เพื่อให้ที่พันแขน ( Cuff ) กระชับกบั แขนทว่ี ัด
4. เหยยี ดแขนผู้ป่วยใหอ้ ยู่ในทา่ ที่สบาย หงาย
ฝา่ มือขน้ึ พับแขนเส้ือท่จี ะวัดให้อย่เู หนอื - เพอ่ื ปอ้ งกันคา่ คลาดเคลื่อน
ขอ้ ศอก ประมาณ 5 นิว้ - เพื่อความสะดวกในการคลาชพี จรและป้องกนั
5. วางเครื่องวัดความดนั โลหิตให้อยู่ระดบั เดียว
กับหัวใจ ค่าคลาดเคลอื่ น
6. ใชท้ ี่พันแขน ( Cuff ) พันใหข้ อบล่างอยู่ - เพื่อป้องกนั การติดเชอ้ื
เหนอื ข้อศอกประมาณ 2 เซนตเิ มตร พนั ให้
พอดี ไมแ่ นน่ หรอื หลวมจนเกินไป
7. ทาความสะอาด Stethoscope บรเิ วณหูฟัง
และแป้นหูฟังดว้ ยสาลชี ุบแอลกอฮอล์
8. ใสห่ ฟู งั

ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ เหตุผล

9. คลาชพี จรตรงหลอดเลือดแดง Brachial ให้ - เพื่อให้ฟงั ไดช้ ดั เจน

ได้ตรงตาแหน่งเต้นแรงทีส่ ดุ แล้ววางแปน้

ของหูฟังตรงตามตาแหน่งน้ี กดเบา ๆ

10. ปิดลน้ิ ระหวา่ งลกู ยางกบั สายพนั แขน - เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หล้ มรว่ั ออก

11. บีบลกู ยางด้วยอุง้ มือเพื่อเพ่ิมแรงดนั ใหป้ รอท - การเพ่ิมแรงดันในเครื่องมือมากเกนิ กว่าท่ีควร

สงู ข้ึน 150 – 180 มม.ปรอท ถา้ ผปู้ ว่ ยมีความ จะเป็นจะทาใหผ้ ู้ป่วยปวดแขน

ดันเลอื ดสงู อาจเพิ่มแรงดนั สูงกวา่ นแ้ี ลว้ แต่

กรณี หรือประมาณ 20 มม.ปรอทของแรงดัน

ทีค่ าดว่าจะเปน็

12. คอ่ ย ๆ เปิดล้นิ ชา้ ๆ ให้อากาศออกอย่างช้า ๆ - เพื่อจับตาแหน่งของปรอทที่จะได้ยนิ เสียงแรก

ไดท้ ัน

13. ฟังเสียงแรกท่ีไดย้ นิ ถอื เปน็ คา่ ความดนั - คอื จดุ แรกท่ีเลือดสามารถผา่ นหลอดเลอื ด

ซสิ โทลิก Brachial ไปได้ เน่ืองจากแรงดนั มีระดบั สงู กวา่

ความดนั ในถุงลม

14. ค่อย ๆ ปลอ่ ยความดันออกช้า ๆ จนกระทง่ั - เพอื่ จับตาแหน่งของปรอทท่จี ะไดย้ นิ เสียง

เสียงหายไป ตาแหนง่ ที่ได้ยนิ ชัดครั้งสดุ ทา้ ย เปล่ยี นหรอื หายได้ทนั

กอ่ นเสียงหายไป หรือเสยี งเปลี่ยนไปถือ

เปน็ ค่าความดันไดแอสโทลิก

15. ปลอ่ ยลมออกให้หมดให้ปรอทอยู่ตาแหนง่

เร่ิมต้น

16. ถอดผา้ พันแขนออกพบั เก็บใหเ้ รียบรอ้ ย แล้ว - เพ่ือป้องกนั การแพร่กระจายของเช้ือโรค และ

ทาความสะอาดหูฟงั และแป้นหูฟังดว้ ยสาลี เตรียมพร้อมสาหรบั ใช้งานต่อไป

ชบุ แอลกอฮอล์ 70% กอ่ นเก็บ

17. ล้างมอื ให้สะอาด - เพอื่ ปอ้ งกันการแพร่กระจายของเช้ือโรค

18. จดบันทึกลงในแบบบันทึก - เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวางแผนการพยาบาล

ข้อควรระวงั ในการวัดความดันโลหิต
1. ขณะวัดความดนั โลหิต แขนของผปู้ ว่ ยควรวางในระดับเดียวกบั หัวใจ ถา้ วางแขนต่ากว่าหวั ใจความดนั
โลหิตอาจอ่านไดค้ า่ สงู กวา่ ความเปน็ จรงิ ประมาณ 10 มม.ปรอท
2. ก่อนพนั ผา้ (Cuff) เพ่ือวดั ความดนั ทุกคร้ัง ควรพิจารณาวา่ มขี ้อหา้ มหรือไม่ เชน่ ผู้ปว่ ยไตวายท่ีไดร้ ับการ
ต่อเสน้ เลอื ดดาและเส้นเลือดแดง (A.V. Shunt)
3. การเกบ็ เครื่องวดั ความดนั โลหติ ตอ้ งบีบลมออกจากผ้าพันแขน (Cuff) ใหห้ มด พันใหเ้ รยี บร้อย เกบ็ เข้าท่ี
โดยระวังไม่ใหส้ ายยางหกั พบั งอ

ความปวด (Pain)
การประเมนิ ความรุนแรงของความปวด (Pain Scale)
1. ประเมินโดยใช้ Numerical rating scale (NRS) หรือ Verbal rating scale (VRS) โดยถามความรนุ แรง
ของความปวด และให้คะแนน 0 (ไมป่ วดเลย) ถึง 10 (ปวดมากทสี่ ุดเทา่ ทีค่ ยปวดมา)

2. ประเมินโดยใช้ Visual Analog Scale (VAS) ให้ผู้ใช้บริการทาเคร่ืองหมายบนเส้นตรงท่ีมีตัวเลข แทนค่า
ความรุนแรงของความปวด โดยปลายข้างหน่ึง แทนค่าด้วยเลข 0 หมายถึง ไม่ปวด ปลายอีกข้างแทนค่าด้วย
เลข 10 หมายถงึ ปวดรุนแรงมากทีส่ ดุ

3. ประเมนิ โดยใช้ Categorical scale โดยให้ผู้ใชบ้ ริการอธบิ ายดว้ ยคาพูดว่า ปวดมากน้อยเพียงใด
0 คือ ไมป่ วดเลย
1-3 คือ ปวดเล็กนอ้ ย
4-6 คือ ปวดปานกลาง
7-10 คอื ปวดมาก

4. ประเมินโดยใช้ Wong-Baker face pain rating ใช้ประเมนิ ความปวดในเด็กตงั้ แต่อายุ 3 ปี ขน้ึ ไป หรอื ผู้ท่ีมปี ัญหา

ในการพูด และไมส่ ามารถประเมนิ ได้โดยวธิ ีอ่ืน โดยใหเ้ ลอื กชร้ี ปู ทหี่ นา้ คนท่ีแสดงความรสู้ ึก และบันทกึ ตัวเลขทแ่ี สดงความปวด
ท่ีมีความหมายตรงกบั รปู น้ัน

คา่ ความอ่มิ ตัวของออกซเิ จนในกระแสเลือด
เครื่องตรวจวัดความอิ่มตัวออกซิเจนในกระแสเลือด เป็นเคร่ืองมือที่รวมการวัดระดับออกซิเจน และ

คลื่นการไหลเวียนของโลหิตเข้าด้วยกัน ใช้เป็นเครื่องมือต่อเนื่องแบบไม่คุกคาม ในการวัดระดับความอ่ิมตัว
ออกซิเจนของฮีโมโกลบินในเลือดแดง ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินระดับออกซิเจนในร่างกาย แต่ไม่
สามารถใชท้ ดแทนการตรวจวดั ออกซเิ จนจากเลือดแดงได้ทั้งหมด การวัดความอิ่มตัวออกซิเจนของฮีโมโกลบิน
จากชพี จรสามารถประเมนิ ภาวะขาดออกซเิ จนไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว จึงมีการนามาใชอ้ ย่างแพรห่ ลายทางคลนิ กิ

วธิ กี ารวัด โดยใช้เคร่ือง Pulse Qximetry
1. ตาแหน่งทจี่ ะวาง สาหรบั วัด จะตอ้ งมี Capillary refill มากกว่า 3 วินาที เช่น ปลายน้วิ ต่ิงหู ด้ังจมูก
2. ตาแหนง่ ทวี่ ดั จะต้องไมเ่ ปียกช้ืน
3. ตาแหน่งทว่ี ดั ถ้าเปน็ นิว้ ต้องไม่ทาเล็บ
4. ถา้ ตาแหนง่ ท่ีวดั มีการเคล่ือนไหว หรือมอี าการสน่ั ให้เปล่ียนตาแหน่งใหม่
5. คา่ ปกติ 98-99% หากวัด SaO2 ไดน้ ้อยกวา่ 90% จาเป็นตอ้ งได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
การบันทึกรายงานสัญญาณชีพ
1. บันทกึ อุณหภมู ลิ งในเสน้ กราฟ โดยใช้ปากกาสีนา้ เงนิ จุดและลากเสน้
2. บนั ทกึ ชพี จรเปน็ จุดและลากเส้นตอ่ กันดว้ ยหมกึ สีแดงบนกราฟ

3. บันทึกจานวนครั้งของการหายใจ ลงในช่อง Respiration และบันทกึ ความดนั โลหิตตามแนวช่องวันและ
เวลานน้ั ๆ
4. คา่ ความปวด บันทึกโดยใช้หมกึ สแี ดง หรอื สีนา้ เงนิ ตามนโยบายของหน่วยงาน โดยบนั ทึกลงในแบบบันทกึ
ความปวด
5. ค่าความอิ่มตัวออกซิเจนในกระแสเลือด บนั ทกึ ด้วยหมกึ สนี า้ เงนิ มีค่าเป็นร้อยละ

การเชด็ ตวั ลดไข้ (Tepid Sponge)
ความหมาย

ไข้ (Fever, Febrile, Pyrexia) หมายถึง ภาวะทอ่ี ุณหภมู ิในร่างกายสงู กวา่ ระดับปกติ (36 – 37.4
องศาเซลเซียส หรือ 96.8 – 99.3 องศาฟาเรนต์ไฮน์ ) หากอุณหภูมิข้ึนสูงถึง 41 องศาเซลเซียส จะมีการ
ทาลายเซลลส์ มอง และสงู ถงึ 43 องศาเซลเซียส ก็จะหมดสตเิ สยี ชวี ติ ได้ ในทางตรงกันขา้ มหากอุณหภูมติ ่า
กว่า 34.0 องศาเซลเซยี ส มนุษย์ก็จะดารงชีวติ อยู่ไมไ่ ด้เชน่ กนั

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมใิ นร่างกายมนุษย์จะไม่เป็นไปตามสงิ่ แวดลอ้ ม โดยมีศนู ย์ควบคมุ อุณหภมู ทิ ี่

สมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ซึ่งมีการตอบสนองไวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกาย แม้

เพยี งเลก็ น้อยโดยที่ดา้ นหน้าของไฮโปทาลามสั จะควบคุมการสญู เสยี ความรอ้ นออกจากร่างกาย ในขณะทส่ี ว่ น

ด้านหลงั จะควบคุมการผลติ ความรอ้ น

กลไกการเกดิ ไข้ในร่างกาย

มกี ลไกมาจากแบคทเี รยี ทผ่ี ลิตทอ็ กซิน หรือเน้ือเย่ือท่ีถูกทาลายปลอ่ ยสาร ไพโรเจน (Pyrogen)

ออกมา สารตัวนจ้ี ะไปกระตุ้นให้เมด็ เลอื ดขาวปล่อยสารก่อไข้ คือ เอนโดจนี ัส ไพโรเจน (Endogenous

pyrogen) ซง่ึ จะไปกระต้นุ ศูนยค์ วบคุมอุณหภูมิ คือ ไฮโปทาลามัส ให้ทางานมากขึ้น ทาใหอ้ ุณหภูมขิ อง

รา่ งกายสงู ขน้ึ

ระดบั ของไข้

1. ไข้ต่า (Low fever) มีอุณหภมู ริ ะหว่าง 37.5 – 38.4 องศาเซลเซียส

2. ไข้ปานกลาง (Moderate fever) มอี ุณหภมู ิระหวา่ ง 38.5 – 39.4 องศาเซลเซียส

3. ไขส้ ูง (High fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 39.5 – 40.5 องศาเซลเซยี ส

4. ไขส้ งู มาก (Hyperpyrexia) มอี ุณหภมู ิตง้ั แต่ 40.5 องศาเซลเซียส ข้ึนไป

- ไข้ท่วี ดั ทางหู คอื อุณหภมู ิ 37.5 – 41 องศาเซลเซียส

- ไข้ที่วดั ทางทวารหนัก คอื อุณหภมู ิ 38.0- 41 องศาเซลเซียส

- ไขท้ ี่วดั ทางปาก คอื อุณหภมู ิ 37.5 – 41องศาเซลเซียส

สาเหตุของไข้

1. การติดเช้อื ทีม่ ีการอักเสบ

2. การทีร่ ่างกายทาปฏกิ ิริยากับส่งิ แปลกปลอม เช่น หลงั การฉดี วคั ซีน

3. ร่างกายขาดนา้ เช่น อุจจาระรว่ ง อณุ หภมู ิภายนอกร่างกายสูงมากๆ
4. ไดร้ ับบาดเจ็บ มีบาดแผล
อาการแสดงของการมีไข้
- ผิวหนังรอ้ นจัด ปากแห้งและแดง
- กระหายน้า กระสับกระส่าย อาจเพ้อไมร่ ู้สกึ ตวั
- ในเดก็ ทารก ถา้ มีไข้สูงอาจมีอาการชกั กระตกุ ถ้าปล่อยไว้นานๆอาจถึงแกช่ วี ติ หรือ พิการได้
- การเช็ดตวั เพ่ือลดไข้เปน็ การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น ก่อนที่จะนาผ้ปู ว่ ยส่งพบแพทย์ เพื่อลดอตั ราความรุนแรง
ของโรคก่อนเชด็ ตวั จะต้องทาการวดั ปรอท ดกู ่อนว่ามีไข้สงู มากน้อยเพยี งใดสถานที่เชด็ ตวั กค็ วรอยใู่ นที่มิดชิด
ไม่มลี มโกรก
การเชด็ ตวั ลดไข้

หมายถงึ วิธกี ารท่ีทาให้ความร้อนในร่างกายลดลงเป็นการถา่ ยเทความร้อน โดยใช้นา้ เปน็ ตัวช่วยพา
ความร้อนออกจากรา่ งกาย จากการใช้ผา้ ชุบนา้ บิดหมาดๆ แล้วเช็ดตัวอย่างน่มุ นวล
อปุ กรณ์
1. กะละมังเช็ดตัว
2. ผ้าขนหนูผนื เล็ก 2-4 ผืน
3. ผา้ เชด็ ตัวผนื ใหญ่ 1 ผืน

ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ มีดังนี้
1. เตรยี มของใชแ้ ละน้าให้พร้อม
2. ใช้นา้ อ่นุ หรือนา้ ธรรมดา ไมค่ วรใชน้ ้าแข็งเช็ดตวั เพราะจะทาให้หลอดเลือดหดตวั และระบายความร้อน
ออกได้ยาก นอกจากนย้ี ังทาใหเ้ กดิ อาการหนาวสั่นและเจ็บปวดตามกล้ามเนื้อจากการหนาวสั่น ซึ่งอาจทาให้
เกิดอาการไข้กลบั ได้
3. ปิดพดั ลม หรือเครอื่ งปรับอากาศ เพ่ือไม่ใหเ้ ด็กหนาวสนั่ ขณะเช็ดตวั
4. ถอดเส้ือผา้ เด็กออกให้หมด
5. ใชผ้ ้าขนหนผู ืนเล็กชุบน้าให้ชมุ่ เช็ดบริเวณหนา้ ลาตัว แขน ขา พักผ้าไว้บริเวณศรีษะ ซอกคอ ซอกรักแร้ ขา
หนีบ เพ่อื ระบายความร้อน เนอ่ื งจากบริเวณดงั กลา่ วเปน็ ท่ีรวมของเส้นเลือดจะระบายความร้อนไดด้ ี
6. เช็ดจากปลายมือ ปลายเท้าสูล่ าตวั โดยเช็ดย้อนรูขมุ ขนเพ่อื ระบายความร้อน
7. ขณะเชด็ ตวั ให้ออกแรงเหมือนถตู ัว เพ่ือจะช่วยใหเ้ ลอื ดลมเดนิ ดีขึน้ ทาใหเ้ ส้นเลอื ด และ รูขมุ ขนขยายตวั
8. ถา้ มีอาการหนาวส่นั ใหห้ ยุดเช็ดตวั ทนั ที เพราะถ้าเช็ดแล้วหนาวสน่ั จะย่งิ ทาให้ไขส้ งู ขน้ึ ได้
9. เปลี่ยนผ้าชบุ นา้ บอ่ ยๆ ทกุ 2 – 3 นาที
10. ใช้เวลาเช็ดตัวประมาณ 10 – 15 นาที

11. หลังเชด็ ตัว ควรซบั ตวั เด็กใหแ้ หง้ แลว้ สวมเสอ้ื ผ้าเบาสบาย ไม่ควรสวมใสเ่ สอื้ ผ้าที่หนา หรอื หอ่ ตวั เพราะจะ
ทาให้ความร้อนเพ่ิมขนึ้
12. วดั ไข้ซ้าในอีก 15 – 30 นาทีต่อมา
13. ถา้ ไข้ลดลง แสดงวา่ การเชด็ ตวั ลดไข้ได้ผล
14. ถ้าไข้ไม่ลด ให้เช็ดตัวลดไข้ใหม่อกี ครั้ง
15. ถา้ ไขย้ ังไม่ลดลงอีก ควรรีบพาเด็กไปพบแพทย์
การพยาบาลผ้ปู ว่ ยท่ีมีไข้
1. เชด็ ตัวลดไข้ เพื่อเปน็ การถ่ายเทความรอ้ นออกจากร่างกาย ถา้ มีอาการปวดศีรษะร่วมกับการใชก้ ระเป๋า
นา้ แขง็ ประคบบริเวณศีรษะและหนา้ ผาก
2. ใหย้ าลดไข้ตามความเหมาะสม เช่น ในเดก็ ใหย้ าพาราเซตามอล น้าเชือ่ มขนาดตามอายุของเด็ก ผู้ใหญใ่ ห้ยา
พาราเซตามอลชนดิ เมด็ (500 มลิ ลกิ รมั ) 1-2 เมด็
3. ให้ด่ืมน้ามากๆ ประมาณ 2,500-3,000 มลิ ลิลิตร ตอ่ วนั ยกเวน้ ในรายที่เป็นโรคไต โรคหวั ใจ
4. ให้นอนพักมากๆ ในหอ้ งที่มอี ุณหภูมิไม่สูง อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวกและอากาศบรสิ ุทธิ์ เพอื่ ใหร้ า่ งกาย ได้
พักผอ่ น ลดกิจกรรมในการใช้พลงั งานลง เป็นการลดการใช้ออกซเิ จน การเผาผลาญอาหารของรา่ งกาย
5. ให้อาหารทีม่ ปี ระโยชน์ย่อยงา่ ย มปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกายและให้พลงั งานสงู เช่น ขา้ วต้ม โจ๊ก เปน็ ตน้
6. สงั เกตความผิดปกติ เชน่ สผี วิ หนัง อาการหนาวสน่ั อาการเพ้อ ชัก เพือ่ ทีจ่ ะไดช้ ว่ ยเหลอื ทนั

เอกสารอ้างองิ
นิตยา สมบัตแิ กว้ และ เดือนทพิ ย์ เขษมโอภาส บรรณาธกิ าร. การพยาบาลพ้ืนฐาน:หลกั การและแนวคดิ .

กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2558.
ปวรส บตุ ะเขียว. เอกสารประกอบการสอนหลกั สูตร นนส.ทบ. 1 ปี เหล่า พ. รร.สร.พบ., 2561.
สุปาณี เสนาดศิ ยั และ มณี อาภานนั ทกิ ลุ บรรณาธกิ าร. คู่มอื ปฏบิ ัติการพยาบาล. กรงุ เทพฯ: จุดทอง, 2552.
อัจฉรา พุ่มดวง บรรณาธิการ. การพยาบาลพน้ื ฐาน:ปฏิบัติการพยาบาล. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวทิ ยาลยั , 2559.
อภญิ ญา เพียรพจิ ารณ์. คู่มือปฏิบตั ิการพยาบาล เลม่ 2 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ครัง้ ท่ี 1). กรงุ เทพฯ: จรลั สนทิ วงศก์ าร

พมิ พ์, 2558.


Click to View FlipBook Version