The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

01- ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

01- ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

01- ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

1

ระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ
(Emergency Medical System)

พ.อ.หญงิ ปวรส บตุ ะเขยี ว
อจ.หน.รร.สร.พบ.

พระราชบัญญตั ิการแพทย์ฉกุ เฉินฉบบั แรกของประเทศไทยได้ประกาศ ในวันท่ี 6 มีนาคม พ.ศ. 2551
โดยมีสถาบนั การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) เป็นหนว่ ยรบั ผิดชอบการบริหารจัดการ การประสานระหวา่ ง
หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องท้งั ภาครัฐและเอกชนท้งั ในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการสง่ เสรมิ ให้องคก์ รปกครอง
สว่ นท้องถิน่ ให้เขา้ มามบี ทบาทในการบรหิ ารจัดการการจัดบรกิ ารการแพทย์ฉกุ เฉิน ใหเ้ กิดความร่วมมือในการ
ปฏบิ ัตงิ านดา้ นการแพทย์ฉุกเฉินร่วมกนั อยา่ งย่งั ยืน ทาให้ผปู้ วุ ยฉุกเฉนิ ทุกคนในประเทศไทยไดร้ ับการคมุ้ ครองสิทธิ
ในการเข้าถึงระบบการแพทย์ฉกุ เฉินอย่างทว่ั ถึง เทา่ เทยี ม มีคุณภาพมาตรฐาน โดยไดร้ ับการชว่ ยเหลอื และ
รกั ษาพยาบาลท่ีมปี ระสทิ ธิภาพและทนั ตอ่ เหตุการณ์มากขึ้น เพอ่ื ลดและปูองกันความสญู เสียจากภาวะฉุกเฉินท่ี
อาจทาใหผ้ ้ปู วุ ยฉุกเฉนิ ต้องสูญเสียชีวิต อวัยวะหรอื เกดิ ความบกพร่องในการทางานของอวยั วะสาคัญ รวมทั้งทาให้
การบาดเจ็บหรืออาการปวุ ยรุนแรงข้นึ โดยไมส่ มควรท้ังในภาวะปกติและสาธารณภยั

ประวัติความเป็นมาของระบบการแพทยฉ์ กุ เฉินในประเทศไทย
ในประเทศไทยได้มีการชว่ ยเหลอื ผู้ปวุ ยฉกุ เฉนิ ในลักษณะของสังคมสงเคราะหแ์ ละการกภู้ ัย โดยควบคู่กบั

การเกบ็ ศพผู้เสียชวี ติ โดยมลู นิธิปอุ เต็กตงึ้ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2480 และมลู นิธิรว่ มกตญั ญู ต้ังแต่ พ.ศ. 2513 ซงึ่ ได้ให้
การชว่ ยเหลอื ผู้ปวุ ยฉุกเฉินขั้นต้นและลาเลียงนาสง่ โรงพยาบาล

ตอ่ มาได้มีความพยายามท่ีจะพฒั นาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ เพอื่ จัดระบบการชว่ ยเหลือผูบ้ าดเจ็บทีเ่ ป็น
เครือข่ายของโรงพยาบาลต่าง ๆ จึงได้จัดทาแผนความรว่ มมือกนั ระหวา่ งโรงพยาบาลในกรงุ เทพมหานครกบั ศูนย์
สง่ กลบั ของกรมตารวจ โดยพัฒนาเครือข่ายวิทยุสอื่ สารร่วมระหวา่ งโรงพยาบาลซ่งึ มีสงั กดั ตา่ งกันและมรี ะบบ
รถพยาบาลฉุกเฉินของศนู ย์สง่ กลับเป็นหลัก

ต่อมา พลเอกอาทิตย์ กาลังเอก ได้มีการพัฒนากองกาลังรักษาพระนคร และจัดให้มีโทรศัพท์สายด่วน
หมายเลข 123 เพ่ือบรกิ ารเหตดุ ว่ นแกป่ ระชาชน รวมทง้ั ได้จัดให้มรี ถพยาบาลฉกุ เฉนิ ขึ้น จานวน 40 คนั ให้บริการ
แก่ประชาชนในพ้นื ที่กรงุ เทพมหานคร แต่ได้ใหบ้ ริการไปไมน่ านกย็ ตุ ิลง

พ.ศ. 2532 กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์ ได้จัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่โรงพยาบาล
ราชวิถีและมีการก่อสร้างอาคาร EMS และเปิดดาเนินการบางส่วนในปี พ.ศ. 2536 ได้บรรจุแผนการพัฒนาระบบ
บรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉินไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539)

พ.ศ. 2536 มกี ารจดั ต้งั ศนู ยอ์ ุบัติเหตุที่โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น ซ่ึงครอบคลุมการให้การรักษาพยาบาล
ณ จุดเกดิ เหตุ

ธันวาคม พ.ศ. 2537 โรงพยาบาลวชริ พยาบาลได้เปิดหนว่ ยแพทย์กู้ชีวิตขึ้น มีการให้บริการผู้บาดเจ็บโดย
เนน้ อุบตั ิเหตจุ ราจรและอุบัติภัยต่าง ๆ

มนี าคม พ.ศ. 2538 กรมการแพทย์ได้เปิดศูนย์กู้ชีพนเรนทร ให้บริการรักษาพยาบาลฉุกเฉินและขนย้าย
ผเู้ จบ็ ปวุ ยฉุกเฉินในพ้ืนทที่ ี่ปฏบิ ัติการภายในระยะเวลาไม่เกิน 15 นาทีโดยรอบโรงพยาบาลราชวถิ ี

2

พ.ศ. 2539 กรมการแพทย์ไดข้ ยายพนื้ ท่ีบริการโดยจดั ตงั้ ศูนย์กชู้ พี เลดิ สินและศูนย์กู้ชีพนพรัตนราชธานี
พ.ศ. 2545 กระทรวงสาธารณสุข ได้กาหนดแผนพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ลงไปสู่ระดับ
ชุมชน เน้นให้ชมุ ชนมสี ่วนร่วมและตครอบคลุมพนื้ ทท่ี ัว่ ประเทศ
ต่อมาการพัฒนาอย่างเป็นระบบเกิดขึ้นใน พ.ศ. 2546 เม่ือกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จัดสรร
งบประมาณบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาลให้โดยเฉพาะ ถือเป็นงบประมาณหลักของการพัฒนา
ระบบบรกิ ารแพทย์ฉุกเฉนิ เปน็ ตน้ มา
พ.ศ. 2551 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ซึ่งกาหนดให้มีสถาบัน
การแพทยฉ์ ุกเฉินแหง่ ชาติ (สพฉ.) ทาหนา้ ท่ใี นการพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ของประเทศไทย

นิยามและความหมาย
การแพทยฉุกเฉนิ (Emergency Medical) ตามคาจากดั ความของ พรบ.การแพทยฉ์ ุกเฉิน 2551หมายถึง

(1) การปฏิบตั ิการฉุกเฉิน (2) การศึกษา (3) การฝกอบรม (4) การคนควา (5) การวจิ ยั (6) การปองกันการ
เจบ็ ปวยท่ีเกดิ ขน้ึ ฉุกเฉิน ท้ัง (1) – (6) เกีย่ วกบั การประเมนิ การจัดการ การบาบัดรกั ษาผูปวยฉุกเฉนิ นบั ต้ังแต่การ
รบั ร้ถู งึ ภาวะการเจบ็ ปวุ ยฉุกเฉนิ จนถงึ การดาเนนิ การใหผ้ ้ปู วุ ยฉกุ เฉนิ ไดร้ ับการบาบดั รกั ษาให้พน้ ภาวะฉุกเฉิน
จาแนกเป็นการปฏิบัติการในชมุ ชนและการปฏบิ ัติการต่อผู้ปุวยฉกุ เฉนิ ทง้ั นอกโรงพยาบาลและในโรงพยาบาล

การบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical Service) หมายถึง การบริการผู้บาดเจ็บและปุวย
ฉุกเฉินท้ังในภาวะปกติและสาธารณภัย ครอบคลุมตั้งแต่การรับแจ้งเหตุเจ็บปุวยฉุกเฉิน การให้คาแนะนาปรึกษา
ฉุกเฉนิ การดแู ลรกั ษาพยาบาลฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล การลาเลียงขนย้ายและนาส่งสถานพยาบาลท่ีเหมาะสม
และการรักษาพยาบาลฉุกเฉินในสถานพยาบาล จนกระท่ังพ้นภาวะฉุกเฉิน และกาหนดให้ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ประกอบด้วย ระบบการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล (pre-hospital care) ระบบการแพทย์ฉุกเฉินท่ี
โรงพยาบาลและระบบส่งต่อ (emergency department and transferal system) และระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ในกรณสี าธารณภยั

ระบบบริการการแพทยฉ์ กุ เฉนิ (Emergency Medical Services System) หมายถึง การจัดใหม้ บี ริการ
รักษาพยาบาลฉุกเฉนิ ที่มีความรวดเร็ว โดยนาเอาทรัพยากรตา่ งๆ ที่มีอยมู่ าพัฒนาให้เกิดการรกั ษาพยาบาลฉกุ เฉนิ
ทมี่ คี วามรวดเรว็ ทนั ทว่ งทีและมปี ระสทิ ธภิ าพในพ้ืนท่ีหน่ึงๆ ซง่ึ ประกอบดว้ ย การจดั ให้มีการประชาสมั พันธ์ มี
ระบบการรบั แจ้งเหตุและสั่งการ มีหน่วยปฏบิ ตั ิการที่มคี ุณภาพและเหมาะสมตอ่ พ้นื ที่บริการ มกี ารให้การดแู ล
ผูเ้ จบ็ ปวุ ย ณ ที่เกดิ เหตุ มกี ารให้การดูแลผูเ้ จบ็ ปุวยในระหว่างนาส่งและมีการนาส่งรงพยาบาลที่เหมาะสม

ตราสญั ลกั ษณข์ องระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ

3

การปฏบิ ัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ถือเปน็ มาตรฐานสากลท่ีเกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย
ใชเ้ ครื่องหมายแท่งเหล่ยี มหกแฉกสีน้าเงิน มีรูปงูพันคทาอยู่กลางแท่งเหลี่ยมหกแฉก (Star of Life) ซ่ึงแต่ละแฉก
หมายถงึ ลกั ษณะขน้ั ตอนการทางานของระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ นั่นเอง

ขัน้ ตอนการทางานของระบบบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉนิ แบง่ ออกเป็น 6 ระยะ ดงั นี้

1. การเจบ็ ปวุ ยฉุกเฉนิ และการพบเหตุ (Detection) การเจบ็ ปุวยฉุกเฉนิ เปน็ เหตุทเ่ี กดิ ขน้ึ อย่างไม่

สามารถคาดการณ์ไวล้ ว่ งหนา้ ได้ แมว้ า่ จะเตรียมการปูองกันไว้ก็ตาม การสง่ เสรมิ หรอื จัดให้ผ้ทู ี่มีความรู้

ความสามารถในการตดั สนิ ใจแจ้งเหตเุ มื่อพบเหตุ ซงึ่ ผ้นู ้นั อาจเป็นผูเ้ จ็บปวุ ยเองหรอื คนข้างเคียง เป็นเร่ืองทจ่ี าเปน็

มาก เพราะว่าจะสามารถทาใหก้ ระบวนการช่วยเหลอื มาถึงไดร้ วดเร็ว ตรงกันข้ามหากลา่ ช้า นาทที ่สี าคัญต่อชวี ติ

ของผ้เู จ็บปวุ ยจะหมดไปเรื่อย ๆ จนกระทง่ั สายจนเกิดแก้ไขได้

2. การแจง้ เหตขุ อความชว่ ยเหลือ (Reporting) การแจ้งเหตทุ ี่รวดเรว็ โดยระบบการสื่อสารทมี่ ี

ประสทิ ธิภาพและมีหมายเลขที่จาง่ายเป็นเรอ่ื งทจ่ี าเปน็ มากเช่นกนั เพราะวา่ เปน็ ประตเู ข้าไปสู่การชว่ ยเหลือทเ่ี ป็น

ระบบ แต่ผแู้ จ้งเหตุอาจจะตอ้ งมีความรู้ความสามารถในการให้ข้อมลู ท่ีถกู ต้อง รวมทั้งมีความสามารถในการให้

การดูแลขน้ั ต้นตามความเหมาะสมอีกดว้ ย ปัจจุบนั ประเทศไทยได้มีการจัดตง้ั ศูนยร์ ับแจง้ เหตแุ ละสัง่ การ

(Dispatch Center) ไว้ทกุ จงั หวดั และใช้หมายเลข 1669 เปน็ หมายเลขทีใ่ ช้แจ้งในระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ

3. การออกปฏบิ ตั กิ ารของชดุ ปฏบิ ตั กิ าร (Response) เพือ่ ให้การปฏิบัติการฉุกเฉินมคี วาม

เหมาะสมในแต่ละเหตุการณ์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) จึงไดก้ าหนดให้มมี าตรฐานชุดปฏบิ ัตกิ ารท่ี

เหมาะสมเพ่ือให้การชว่ ยเหลอื ณ จุดเกิดเหตุ ซ่ึงในการจัดสง่ ชุดปฏิบัตกิ ารออกให้ความช่วยเหลือผเู้ จ็บปุวยฉกุ เฉิน

ผ้รู ับแจง้ เหตุและสง่ั การชว่ ยเหลอื (Emergency Medical Dispatcher : EMD) หรอื ผูบ้ ัญชาการจะเปน็ ผู้

พจิ ารณาความเหมาะสม ดงั น้นั ชดุ ปฏิบตั กิ ารชุดแรกท่ีออกไปช่วยเหลือผ้เู จบ็ ปุวยฉุกเฉนิ จะต้องมีความพร้อม

ตลอด 24 ชัว่ โมง เพ่ือให้สามารถออกปฏิบัตกิ ารตามการมอบหมายของศูนยร์ บั แจง้ เหตแุ ละส่งั การ และจะต้องมี

มาตรฐานกาหนดระยะเวลาในการออกปฏิบตั ิการ ระยะเวลาเดินทาง โดยศนู ย์รับแจง้ เหตุและสัง่ การจะต้องคัด

แยกระดับความรุนแรงหรือความต้องการของเหตุและส่ังการให้ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารทีเ่ หมาะสมออกปฏิบตั ิการ

4. การรักษาพยาบาลฉุกเฉนิ ณ จดุ เกดิ เหตุ (On Scene Care) การรกั ษาพยาบาลฉุกเฉิน ณ จุด

เกดิ เหตเุ ปน็ ขั้นตอนหน่ึงท่มี ีความสาคัญ ท่ตี อ้ งอาศัยหลักการและองคค์ วามรู้ทีถ่ ูกต้องในการตดั สินใจทีร่ วดเร็ว

ถูกต้องและส่งิ ที่สาคญั ทสี่ ุดคือเร่อื งของความปลอดภยั ท้งั ผูป้ ฏิบัตงิ าน ประชาชนท่ีอยู่ในเหตุการณ์ โดยชดุ

ปฏิบัติการฉกุ เฉนิ จะประเมนิ สถานการณ์แวดล้อมเพ่ือความปลอดภยั ของตนเองและชดุ ปฏิบตั กิ าร ประเมนิ สภาพ

ผู้ปวุ ยฉกุ เฉนิ เพ่ือใหก้ ารช่วยเหลอื ดูแลทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสมหรอื ตามคาส่ังของแพทย์อานวยการปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉิน

โดยมีหลกั การดูแลช่วยเหลือ คือ จะไม่เสยี เวลา ณ จุดเกิดเหตนุ าน จนเปน็ ผลเสยี ต่อผู้ปุวย โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งใน

ผู้บาดเจ็บจากอบุ ัติเหตจุ ะเน้นความรวดเร็วในการนาส่งมากกวา่ ผ้ปู วุ ยฉุกเฉินทางอายรุ กรรม

5. การลาเลียงขนยา้ ยและการดูแลระหวา่ งนาสง่ (Care in Transit) หลกั สาคัญยิ่งในการลาเลียง

ขนยา้ ยผูป้ วุ ยเจ็บ คือ การไม่ทาให้เกดิ การบาดเจบ็ ซา้ เติมตอ่ ผูป้ ุวย ผทู้ ีท่ าหนา้ ทลี่ าเลยี งขนยา้ ยจะต้องผา่ นการ

ฝกึ อบรมเทคนิควิธีมาเปน็ อยา่ งดีในการขนยา้ ยและจะต้องมีการประเมินสภาพผู้เจ็บปุวยฉุกเฉนิ เป็นระยะ การ

ปฏบิ ัตกิ ารบางอย่างอาจกระทาบนรถในขณะลาเลยี งนาส่งได้ เช่น การให้สารน้า การดามสว่ นท่ีมคี วามสาคัญ

ตามลาดับ เปน็ ต้น

4

6. การนาส่งสถานพยาบาลท่เี หมาะสม (Transfer to Definitive Care) การนาผู้ปวุ ยเจบ็ ส่งไปยงั
สถานทใ่ี ดเปน็ การชชี้ ะตาชวี ติ และมีผลต่อผู้เจ็บปวุ ยฉุกเฉนิ ไดเ้ ปน็ อย่างมาก การนาสง่ จะต้องใช้ข้อมลู ศักยภาพ
โรงพยาบาลหรือใช้ดลุ ยพนิ ิจว่าโรงพยาบาลท่ีจะนาสง่ สามารถรักษาผปู้ ุวยรายนนั้ ไดห้ รือไม่ มฉิ ะนัน้ แลว้ เวลาท่เี สีย
ไปกบั ความไม่สามารถและความไม่พรอ้ มของสถานพยาบาลนน้ั ๆ จะทาให้เกิดการเสียชีวติ พิการ หรอื ปัญหาใน
การรกั ษาพยาบาลอย่างไม่ควรจะเกิดข้นึ

ศูนยร์ บั แจ้งเหตแุ ละสัง่ การ

การทางานของชดุ ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ และผ้ปู ฏิบัตกิ ารในระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ในการให้ความ

ช่วยเหลอื ผูป้ ุวยฉุกเฉินก่อนนาส่งรักษาต่อในสถานพยาบาล ตอ้ งมีศนู ยร์ ับแจง้ เหตสุ ง่ั การ เปน็ ศนู ย์กลางตง้ั แต่รับ

แจง้ เหตุ โดยรับข้อมูลผปู้ วุ ยฉุกเฉนิ จากญาติหรือผ้ทู ่ีอยู่กับผู้ปุวย ศูนย์รับแจ้งเหตแุ ละส่ังการจะรวบรวมข้อมลู

ตรวจสอบและประเมินสถานการณ์ อาการเจบ็ ปวุ ย ระดบั ความรุนแรง ตาแหนง่ หรอื สถานท่ที ่ีอยู่ของผปู้ ุวยฉุกเฉนิ

จานวนผปู้ ุวยและขอ้ มูลที่ตดิ ต่อกลับผแู้ จ้งเหตุ จากนั้นจะทาการตรวจสอบค้นหาชุดปฏิบัตกิ ารท่ีมีความรู้

ความสามารถเหมาะสมกบั ระดับความรุนแรง และอยูใ่ กล้จุดท่เี กิดเหตหุ รือสถานท่ีท่ผี ู้ปุวยฉกุ เฉินอาศัยอยู่ เพื่อ

มอบหมายภารกจิ ให้ เม่ือชดุ ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินมีปญั หาขณะออกปฏิบัติงาน ต้ังแต่การค้นหาผูป้ วุ ยฉุกเฉิน หรอื ไม่

สามารถดแู ลรกั ษาผู้ปุวยฉุกเฉินได้ กส็ ามารถติดต่อขอคาแนะนาจากแพทย์อานวยการปฏิบัติการฉุกเฉินหรือผจู้ า่ ย

งานปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉนิ ที่ปฏบิ ัติงานท่ีศนู ยร์ ับแจ้งเหตแุ ละสั่งการได้

ศูนย์รบั แจ้งเหตแุ ละส่ังการยังมหี นา้ ท่ีในการติดตามการปฏิบัติงานของชุดปฏิบัติการต่าง ๆ ต้ังแต่ได้รับ

มอบหมายให้ออกปฏิบัติการ การเดินทางออกจากท่ีต้ังหน่วยปฏิบัติการจนพบผู้ปุวย การดูแลผู้ปุวยเบื้องต้น และ

นาสง่ จนถึงสถานพยาบาลท่ีมีขีดความสามารถเหมาะสมกับความรนุ แรงหรอื ภาวะการเจบ็ ปวุ ยของผปู้ วุ ยฉกุ เฉิน

การตอบสนองภาวะฉุกเฉนิ ในระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ
ระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ ประกอบดว้ ย 3 ภารกิจ คอื
1. ระบบการบรกิ ารนาสง่ ผปู้ วุ ยกอ่ นถึงรพ. (Pre Hospital Care)

5

2. ระบบการรกั ษาผปู้ วุ ยฉกุ เฉนิ ในโรงพยาบาลและเครอื ขา่ ยการสง่ ตอ่ (In Hospital Care and Inter
Hospital Care)

3. ระบบการเตรยี มความพรอ้ มรบั สถานการณส์ าธารณภยั (Disaster Management)

6

ผู้ปฏิบัติการ
ผปู้ ฏิบัตกิ ารท่เี ปน็ ผู้ชว่ ยเวชกรรมในระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน มี 2 ประเภท 9 ระดบั คือ
1. ผปู้ ฏิบัตกิ ารแพทย์ ได้แก่
1.1 อาสาสมัครฉกุ เฉนิ การแพทย์ (อฉพ.) (Emergency Medical Responder : EMR)
1.2 พนกั งานฉกุ เฉนิ การแพทย์ (พฉพ.) (Emergency Medical Technician : EMT)
1.3 เจา้ พนักงานฉุกเฉนิ การแพทย์ (จฉพ.) (Advanced Emergency Medical Technician :
AEMT)
1.4 นักปฏิบัตกิ ารฉุกเฉินการแพทย์ (นฉพ.) (Paramedic)
2. ผ้ปู ฏบิ ตั ิการอานวยการ ไดแ้ ก่
2.1 พนักงานรบั แจง้ การเจบ็ ปุวยฉุกเฉนิ (พรจ.) (Emergency Medical Call Taker : Call Taker)
2.2 ผู้ประสานปฏิบัตกิ ารฉุกเฉิน (ผปป.) (Emergency Medical Coordinator : Coordinator)
2.3 ผู้จ่ายงานปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ (ผจป.) (Emergency Medical Dispatcher : EMD)
2.4 ผู้กากับการปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉิน (ผกป.) (Emergency Medical Dispatch Supervisor :
Supervisor)
2.5 แพทยอ์ านวยการปฏบิ ัติการฉุกเฉิน (พอป.) (Medical Director)

บทบาทและขอบเขตความสามารถในการปฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ ของพนกั งานฉุกเฉนิ การแพทย์ (พฉพ.)
1. บทบาทของพนักงานฉกุ เฉินการแพทย์
1.1 ทาหนา้ ทเี่ ปน็ หัวหน้าชุด/ลูกทีมในชดุ ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ ระดับต้น ในกรณีท่ชี ดุ ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉิน
ระดับต้นมีพนักงานฉุกเฉินการแพทย์มากกว่า 1 คน ให้ผู้ท่ีอาวุโสหรือประสบการณ์มากกว่า
เปน็ หวั หนา้ ทีม
1.2 เป็นลกู ทมี ในชดุ ปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉินระดบั กลางและระดบั สูง
2. ขอบเขตความสามารถในการปฏิบตั กิ ารฉุกเฉนิ ของพนกั งานฉกุ เฉนิ การแพทย์
2.1 สามารถแจง้ เหตุ ขอความชว่ ยเหลอื ประเมินสถานการณ์และสภาพผู้เจ็บปวุ ยฉกุ เฉิน
2.2 ปฐมพยาบาล
2.3 จัดการทางเดนิ หายใจ ใช้ Oral Airway ได้
2.4 ช่วยฟืน้ คืนชพี ข้ันพน้ื ฐานดว้ ย AED
2.5 ใชอ้ ุปกรณ์ตรวจพเิ ศษได้
2.6 หา้ มเลือด
2.7 สามารถยดึ ตรึง
2.8 ชว่ ยคลอดฉุกเฉิน
2.9 เคลื่อนยา้ ยผู้เจ็บปวุ ยฉุกเฉนิ โดยใช้และไม่ใชอ้ ุปกรณ์ เช่น Spinal Immobilization
2.10 การทา Heimlich Maneuver
2.11 การคัดแยกข้ันต้น Primary Triage (Triage Sieve) และช่วยทา Triage Sort เมื่อเกิด
ภยั พบิ ัติได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ตามสมรรถนะทกี่ าหนดโดยคณะกรรมการการแพทย์ฉกุ เฉิน

7

หลักสาคัญในการดแู ลผเู้ จ็บปวุ ยนอกโรงพยาบาล
การดูแลผู้เจ็บปุวยนอกโรงพยาบาลมีหลักสาคัญ คือ มุ่งเน้นการดูแลประคับประคองจนกระท่ังอาการ

คงทีก่ อ่ นนาสง่ โรงพยาบาลใกลเ้ คียง (Stay & Stabilized) ส่วนการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ ที่เกิดเหตุมักเน้นการขนส่ง
ผู้เจ็บปุวยไปยังสถานพยาบาลท่ีมีขีดความสามารถเหมาะสมโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ และให้การดูแล
ประคบั ประคองในระหวา่ งทาง (Scoop & Run)

การลาเลียงขนย้ายในการปฏบิ ัติการฉกุ เฉิน
การลาเลียงขนยา้ ยผู้เจบ็ ปุวยฉุกเฉินจากจดุ เกิดเหตุมายงั โรงพยาบาล จาเป็นต้องกระทาดว้ ยความรวดเร็ว

และมคี วามปลอดภยั โดยระหว่างการลาเลียงขนยา้ ยนั้นผู้เจบ็ ปวุ ยจะไดร้ ับการดูแลรักษาตามขอบเขตความ
รับผิดชอบของผ้ปู ฏบิ ัติการ/หนว่ ยปฏบิ ัตกิ ารอยา่ งดีที่สุด เพอื่ ลดความสูญเสยี ชวี ติ หรือความรุนแรงของการ
เจบ็ ปุวยฉุกเฉิน ดังน้นั พาหนะที่ใชใ้ นการลาเลยี งขนย้ายจงึ เข้ามามีบทบาทสาคญั ซงึ่ สามารถแบ่งประเภทตาม
วิธกี ารลาเลยี งขนยา้ ย ดังนี้

1. พาหนะเพอ่ื การลาเลียงขนยา้ ยของชดุ ปฏบิ ัติการในพ้ืนทปี่ ฏิบัติการทางบก
พาหนะเพ่ือการลาเลยี งขนยา้ ยของชุดปฏิบตั ิการในพน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารทางบก คอื รถปฏิบตั ิการฉุกเฉิน
(Emergency Medical Service Ambulance : EMS Ambulance) ทีผ่ ่านการจดทะเบยี นรถ ตรวจสภาพรถ
ตอ่ ใบอนุญาตประจาปีของกรมการขนส่งทางบกและมีการประกนั ตามกฎหมายท่กี าหนด ผขู้ ับพาหนะฉุกเฉนิ
จะตอ้ งมใี บอนญุ าตขับข่ีรถยนต์ และได้รับอนุญาตใหน้ ารถปฏบิ ัติการฉุกเฉินมาใชใ้ นการบริการการแพทย์ฉุกเฉนิ
อยา่ งถูกต้อง ซง่ึ รถปฏบิ ัติการฉุกเฉนิ จะตอ้ งมพี ้นื ทปี่ ฏิบัติงานเพยี งพอกับการใหก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เจ็บปวุ ยฉกุ เฉิน
ไดส้ ะดวก มีอปุ กรณท์ ่ีจาเป็นทัง้ ชนดิ และปริมาณท่ีเพยี งพอตลอดระยะเวลาตามข้อกาหนดมาตรฐานตามลกั ษณะ
การปฏิบัตกิ ารดา้ นการแพทย์ฉกุ เฉินอีกด้วย
2. พาหนะเพอื่ การลาเลยี งขนย้ายของชดุ ปฏิบัติการในพืน้ ท่ปี ฏบิ ัติการทางน้า
ปฏิบัตกิ ารดา้ นการแพทย์ฉุกเฉินทางน้า เป็นปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉินท่ีใช้การลาเลียงขนย้ายโดย
ใชเ้ รือเปน็ พาหนะในการรับผเู้ จ็บปุวยท่ีจดุ เกดิ เหตุหรอื ขนสง่ เครื่องมืออุปกรณห์ รือบุคลากรผเู้ ชย่ี วชาญ
3. พาหนะเพื่อการลาเลยี งขนย้ายของชุดปฏบิ ตั กิ ารในพ้ืนท่ีปฏิบัตกิ ารทางอากาศ
การปฏิบตั ิการด้านการแพทย์ฉุกเฉนิ ทางอากาศยาน ใช้ปฏิบตั กิ ารในพน้ื ท่ที ุรกันดาร พ้ืนท่หี ่างไกล พ้ืนท่ี
เกาะหรือพ้ืนทท่ี ่ีอยรู่ ะหวา่ งประสบภัยพิบตั ิ โดยท่ีไม่สามารถเคลือ่ นยา้ ยดว้ ยยานพาหนะปกติทางบกหรือทางน้าได้
ทง้ั นี้ ผูป้ ฏิบัติการควรมีความรู้ทักษะการปฏบิ ัติด้านการแพทย์ฉุกเฉนิ หรือการลาเลยี งผเู้ จบ็ ปุวยด้วยอากาศยาน

เครือ่ งหมายและตราสัญลกั ษณ์บนยานพาหนะ
1. การแสดงเคร่ืองหมายและตราสัญลักษณ์บนยานพาหนะของชุดปฏิบัติการฉุกเฉินในพ้ืนที่ปฏิบัติการ

ทางบก
1.1 ประเภทรถปฏิบัตกิ ารฉุกเฉินระดับเบ้ืองตน้ และระดับต้น
1.1.1 ด้านหน้า
กระจกหนา้ ด้านบนแสดงชื่อหนว่ ยปฏบิ ัตกิ ารตวั อกั ษรสีน้าเงินบนพนื้ สติ๊กเกอรส์ ขี าว
1.1.1 ดา้ นหลัง
- กระจกหลังตดิ ขอ้ ความ “เจ็บปุวยฉุกเฉิน อุบตั ิเหตุ โทร 1669”

8

- ฝากะบะด้านทา้ ยแสดงชอ่ื หนว่ ยปฏบิ ัตกิ ารพรอ้ มชื่อจังหวดั ตัวอักษรสีน้าเงนิ ขอบขาว
1.1.2 ด้านข้างชว่ งหลงั ทง้ั สองข้าง

- ติดช่ือหนว่ ยปฏิบตั ิการชอ่ื จังหวดั / หมายเลขโทรศพั ท์ 1669 หรอื หนว่ ยปฏบิ ัติการนน้ั
- ตดิ แถบสีสะทอ้ นแสง ดา้ นขา้ งรถ ตลอดแนว รอบคัน
- แสดงตราสัญลกั ษณข์ องสถาบันการแพทย์ฉุกเฉนิ แห่งชาติ ด้านท้ายบรเิ วณกะบะหรือ

กระจกดา้ นขา้ งส่วนท้าย 2 ดา้ น
- ติดแถบสตก๊ิ เกอรร์ ะบกุ ารตรวจสอบมาตรฐาน ดา้ นข้าง ทงั้ 2 ดา้ น

1.2 ประเภทรถปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉนิ ระดับกลางและระดับสูง
1.1.3 ดา้ นหน้า
- แสดงตราสัญลักษณส์ ถาบันการแพทยฉ์ ุกเฉินแห่งชาติ เหนือกระจกหน้ารถ (ถา้ มี)
- แสดงชือ่ ของหน่วยปฏบิ ัตกิ าร (หนว่ ยงานตน้ สังกดั ของรถพยาบาล) ท่กี ระจกหนา้
ด้านบนตัวอกั ษรสีน้าเงินบนพืน้ สีขาวหรือตวั อักษรสขี าวบนพ้ืนสต๊ิกเกอร์สดี าหรือสีอ่ืน
ที่สามารถมองเห็นไดช้ ดั เจน
- ติดแสดงตัวอักษรคาวา่ AMBULANCE สแี ดง ใตก้ ระจกหน้า เพอ่ื ให้รถที่ขับอยู่
ดา้ นหนา้ มองกระจกหลงั จะไดเ้ หน็ เปน็ รถปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินได้ชดั เจน
1.1.4 ด้านหลงั
- ติดอกั ษรสแี ดงขอบขาว คาว่า “เจบ็ ปวุ ยฉกุ เฉนิ อุบัตเิ หตุ โทร 1669 บรเิ วณกระจกหลงั
หรือเพม่ิ เตมิ คาอนื่ ๆ (ถา้ มี) เช่น ชดุ ปฏิบัติการแพทย์ฉกุ เฉนิ , Emergency Medical
Services เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนรบั รู้ การเขา้ ถงึ บริการ

9

- แสดงช่อื หนว่ ยปฏิบัติการ (โรงพยาบาล) ตัวอักษรสนี า้ เงิน ใต้กระจกหลงั
1.1.5 ด้านข้าง

- ติดแสดงเครอ่ื งหมายหรือโลโก้ ของหนว่ ยปฏิบัติการท่สี งั กัด ประตูหนา้ ท้ังสองข้าง
- แสดงช่ือหน่วยปฏิบตั ิการ (โรงพยาบาล) พรอ้ มเบอรโ์ ทรศพั ท์ฉุกเฉนิ 1669 อักษรสี

นา้ เงนิ ดา้ นขา้ งรถ
- ติดแถบสสี ะท้อนแสง ด้านขา้ งรถ ตลอดแนว รอบคัน
- ตดิ ขอ้ ความ “รถฉกุ เฉนิ ได้รับอนุญาตแลว้ ” เปน็ ตัวอกั ษรสีแดง
- แสดงตราสญั ลกั ษณข์ องสถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉนิ แห่งชาติ ดา้ นข้างชว่ งทา้ ยทัง้ สองขา้ ง
- ตดิ แถบสต๊ิกเกอร์ระบกุ ารตรวจสอบมาตรฐานด้านขา้ งท้ัง 2 ด้าน

2. การแสดงเครอ่ื งหมายและตราสญั ลกั ษณบ์ นยานพาหนะชดุ ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ในพนื้ ทีป่ ฏบิ ตั กิ ารทางนา้
2.1 มธี งสัญลกั ษณข์ องสถาบันการแพทยฉ์ ุกเฉินแห่งชาติ แสดงไว้ที่ยานพาหนะ
2.2 มไี ฟสญั ญาณ วับวาบ หรือเสียงไซเรน (ตามความเหมาะสม)
2.3 แสดงชอื่ หน่วยปฏิบัตกิ าร หรือสงั กัด บริเวณท่ีมองเห็นไดช้ ัดเจน

3. การแสดงเคร่ืองหมายและตราสัญลกั ษณบ์ นยานพาหนะของชุดปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ ในพน้ื ที่ปฏบิ ัติการ
ทางอากาศ
3.1 ควรมีธงสัญลกั ษณห์ รอื ปาู ยตราสญั ลักษณ์ของสถาบันการแพทยฉ์ กุ เฉินแหง่ ชาติ แสดงไว้ที่
ยานพาหนะในตาแหนง่ ที่เหมาะสม
3.2 ควรแสดงชื่อหน่วยปฏบิ ัติการหรือสงั กดั บรเิ วณทม่ี องเหน็ ได้ชัดเจน

10

บทสรปุ
ระบบบรกิ ารการแพทยฉ์ ุกเฉินในประเทศไทย เป็นบรกิ ารท่ีไดร้ บั บาดเจ็บและเจบ็ ปวุ ยฉกุ เฉนิ โดยไม่คดิ

มูลค่า มีระบบการแจ้งเหตุท่ีมีประสิทธภิ าพและเขา้ ถึงงา่ ย มีศนู ย์รบั แจ้งเหตุสามารถใหบ้ รกิ ารตลอด 24 ช่ัวโมง
ครอบคลุมพ้ืนท่ีทกุ จังหวัดทัว่ ประเทศ โดยบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและยานพาหนะทม่ี ีความพร้อมในการ
ดูแลรักษา ณ จดุ เกิดเหตุ ภายในเวลาอนั รวดเร็ว การบริการการแพทย์ฉุกเฉนิ มีข้ันตอนและลกั ษณะการทางานที่
เปน็ ระบบภายใต้สัญญลักษณ์ “ดาวแห่งชีวติ (Star of Life)”

การบริการการแพทย์ฉุกเฉนิ นับวา่ มคี วามสาคญั ต่อการดูแลผู้เจ็บปวุ ยฉุกเฉนิ ตง้ั แต่ก่อนมาถึงโรงพยาบาล
มีการปฏบิ ัติการทีช่ ว่ ยใหก้ ารดูแลช่วยเหลือผูเ้ จบ็ ปวุ ยเบอื้ งต้นท่ีจาเป็นอย่างถูกต้อง รวดเรว็ ทันเหตุการณ์ มีการ
ประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานอื่น ดังนน้ั ผปู้ ฏิบตั ิการจงึ จาเปน็ ต้องมีความรคู้ วามสามารถทง้ั ในด้านองค์
ความรู้และทักษะการปฏบิ ตั ิ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจที่รวดเร็วและถูกต้อง มีทกั ษะในการสอ่ื สารและ
ประสานงานกับผู้อ่ืนเปน็ อยา่ งดี รวมทงั้ ต้องเป็นผทู้ ่เี สยี สละ มีความรักความเมตตา เห็นอกเห็นใจต่อเพื่อน
มนษุ ย์ด้วยกนั อันจะเป็นประโยชน์โดยตรงต่อผู้เจบ็ ปุวยและครอบครวั ส่งผลให้ระบบบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉินของ
ประเทศไทยมคี ณุ ภาพและมาตรฐานเปน็ ท่ียอมรบั อย่างกวา้ งขวางตอ่ ไป

-------------------------------------

เอกสารอา้ งองิ

เพ็ญรุ่ง บุญรักษ์ และ สุนิสา สุวรรณรักษ์. ตาราประกอบการอบรมหลักสูตรพนักงานฉุกเฉินการแพทย์. พิมพ์
คร้ังที่ 2 . สมุทรสาคร : บอรน์ ทู บี พบั ลชิ ชงิ่ ; 2555

กองอบุ ัตเิ หตแุ ละเวชกรรมฉุกเฉนิ และศูนยบ์ ริการการแพทย์ฉุกเฉนิ พระมงกฏุ เกล้า. คู่มอื ประกอบการบรรยาย
หลกั สตู รพยาบาลกชู้ พี ; 2561

http://ems.bangkok.go.th/learning/mod/page/view.php?id=323 สบื คน้ เม่ือ 26 พ.ค. 62
https://www.tci-thaijo.org/index.php/SRIMEDJ/article/view/14763 สืบค้นเมอื่ 26 พ.ค. 62

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22


Click to View FlipBook Version