The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ความรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสู่การเป็น Smart officer พืช ผัก เห็ด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

องค์ความรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสู่การเป็น Smart officer พืช ผัก เห็ด

องค์ความรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสู่การเป็น Smart officer พืช ผัก เห็ด

- ทำ�หลมุ เตรียมปลูก ลึกประมาณ 10 - 12 เซนติเมตร
- เตรยี มแปลงใหเ้ สร็จกอ่ นยา้ ยปลกู 1 - 2 วนั

2) การย้ายกลา้
- ต้นกล้าท่เี หมาะสมสำ�หรับย้ายปลูกมีอายุกล้า 10 - 12 วนั หรือมีใบ
จริง 2 - 4 ใบ
- งดนำ้ �ตน้ กลา้ กอ่ นย้ายปลกู 1 - 2 วันเพื่อใหต้ น้ กลา้ ชะงกั การเจริญ
(hardening)
- วางตน้ กลา้ ในหลุมท่เี ตรียมไว้ 1 ต้นต่อหลุม
- กลบดนิ หนาประมาณ 5 - 10 เซนติเมตร

3) การท�ำ คา้ ง
- ทำ�คา้ งเมอื่ ต้นพืชมีอายุประมาณ 14 - 21 วัน
- ใชค้ า้ งยาวประมาณ 2.30 เมตร ปกั ลกึ 30 เซนตเิ มตร ปกั ตน้ ละ 1 อนั
- ใชล้ วดหรอื เชอื กพนั เปน็ 2 ระดับ ระดบั ที่ 1 ทคี่ วามสงู ประมาณ
60 เซนติเมตร เพ่อื ใช้สำ�หรับแขวนผล และระดับที่ 2 ท่ีปลายคา้ ง
3. การดูแลรักษา
3.1 การใสป่ ยุ๋
ครง้ั ท่ี 1 หลังปลกู 7-10 วนั ใชป้ ุ๋ยยเู รยี 5 กรัมต่อนำ้ � 10 ลติ ร รดโคนต้น
ระวังไม่ให้ถูกใบ
ครั้งท่ี 2 หลังปลูก 20 วนั ใสป่ ยุ๋ สตู ร 15 - 15 - 15 อัตรา 25 กิโลกรมั ต่อไร่
ครั้งท่ี 3 หลังปลูก 35 วนั ใสป่ ยุ๋ สตู ร 13 - 13 - 21 อัตรา 25 กโิ ลกรมั ต่อไร่
เพื่อเพมิ่ ขนาดผล
คร้งั ที่ 4 หลงั ปลกู 40 วนั หรอื กอ่ นเกบ็ ผล 1 - 2 สปั ดาห์ เพม่ิ ปยุ๋ โปแตสเซยี ม
ผสมปุ๋ยยเู รยี อัตรา 1ต่อ1 ปรมิ าณ 6 กรมั ตอ่ ตน้ เพ่อื เพมิ่ ขนาดและความหวาน

44

การแขวนผล

3.2 การใหน้ �้ำ
1) ในระยะต้นและผลเจริญเติบโตต้องใหน้ ำ้ �อยา่ งสมำ่ �เสมอ
2) ระยะแรกตอ้ งการน้ำ�ไมม่ าก ใหแ้ คเ่ พยี งพอต่อการงอก
3) ก่อนผลสุกประมาณ 14 วนั ลดปรมิ าณนำ้ �ลง
4) งดนำ้ �กอ่ นเก็บผล ประมาณ 7- 10 วนั
3.3 การตัดแตง่ กง่ิ และไว้ผล
1) ตัดก่งิ แขนงท่ตี ำ่ �กว่าข้อที่ 9 และสงู กวา่ ข้อที่ 13 ออกให้หมด
2) ไวผ้ ลขอ้ ท่ี 9 - 13 ไวผ้ ลครง้ั แรก 1 - 2 ผล และเลอื กผลทด่ี ที ส่ี ดุ ไวต้ น้ ละ 1 ผล
3) เด็ดยอดทข่ี ้อ 30 - 35 ออก
4) หลังปลกู ประมาณ 15 - 17 วนั เรม่ิ มดั ต้นขน้ึ ค้าง โดยใชเ้ ชอื กฟางพัน
รอบค้างในตำ�แหนง่ ที่จะผูกเถา แลว้ ผกู กับลำ�ตน้ ไม่ควรให้แนน่ นัก
5) ใหแ้ ขวนผลโดยใชเ้ ชอื กฟางหรอื ทแ่ี ขวนผลสำ�เร็จรปู แขวนใหต้ ดิ กบั แนวลวด

4. การป้องกันกำ�จดั ศัตรูพืช
4.1 โรคราน้�ำ คา้ ง เกิดจากเชอ้ื รา ปอ้ งกันและกำ�จดั โดย
1) หลีกเล่ียงการปลกู พืชลงในแปลงเก่าท่เี คยมีโรคระบาด
2) กำ�จดั วชั พืชทม่ี อี ยู่ในแปลงให้หมด
3) รักษาแปลงปลูกให้สะอาดอยเู่ สมอ
4) ใชส้ ารเคมี เช่น เมตาแลกซิล แมนโคเซ็บ และคอปเปอรอ์ ๊อกซ่ีคลอไรด์
ในการปอ้ งกันกำ�จัดเป็นตน้
4.2 โรคเหี่ยว เกิดจากเชอื้ ฟูซาเร่ียม
1) หลีกเล่ยี งการปลกู พืชลงในแปลงเก่าทเี่ คยมีโรคระบาด
2) ปลูกพืชหมุนเวยี นสลบั กับการปลูกแคนตาลูป

45

3) ถ้าพบต้นเปน็ โรคให้ถอนทิ้งทนั ที แล้วนำ�ไปเผาทำ�ลายนอกแปลงปลกู
4) ใชเ้ ชื้อไตรโครเดอร์มารองกน้ หลมุ กอ่ นปลูก
4.3 เพล้ยี ไฟ ป้องกันกำ�จดั ดงั น้ี
1) รักษาความช้ืนบริเวณแปลงปลกู
2) พน่ สารป้องกันแมลง เชน่ สารฟโิ พรนลิ อมิ ดิ าคลอพรดิ
3) ทำ�ความสะอาดแปลงปลูก และพื้นท่ใี กล้เคยี ง รวมทง้ั กำ�จัดวัชพชื
4.4 แมลงวันแตง ปอ้ งกนั กำ�จัดดังนี้
1) เก็บผลทถ่ี กู ทำ�ลายออกจากแปลง
2) ใช้สารลอ่ แมลง เชน่ เมธิลยูจนี อล
3) ห่อผล
5. การเกบ็ เกีย่ ว
5.1 ควรเกบ็ ในช่วงเช้า
5.2 ผลแตงมีความสุก 80 เปอร์เซ็นต์ โดยดไู ดจ้ าก
- อายุการเกบ็ เกย่ี ว อายุ 30 - 35 วันหลงั ผสมเกสร หรือมีอายุหลงั ยา้ ย
กล้าประมาณ 55 วัน
- ข้วั ของแตงจะรา้ วเปน็ รอยปริ
6. การปฏิบตั หิ ลงั การเก็บเก่ียว
6.1 ไม่ทงิ้ ผลแตงที่เก็บแล้วไวก้ ลางแจ้งใหถ้ ูกแสงแดดนานเกนิ ไป
6.2 ระมัดระวังในการขนย้าย
6.3 การเกบ็ รกั ษาทีอ่ ุณหภมู ิ 3 - 4 องศา ความชนื้ สัมพทั ธ์ 90 เปอร์เซน็ ต์
ซงึ่ สามารถเก็บรกั ษาไดน้ าน 10 - 15 วนั

46

ขอ้ มลู สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเตบิ โตและให้ผลผลติ ของแคนตาลปู

สภาพแวดลอ้ ม ความเหมาะสม ข้อจำ�กัด / รายละเอียดเพิ่มเติม
1. สภาพภมู อิ ากาศ - อณุ หภูมิทีเ่ หมาะสมสำ�หรับเจรญิ เติบโต - อุณหภมู ติ ำ่ �กวา่ 12 oC จะทำ�ใหช้ ะงกั การเจริญเติบโต
2. สภาพพืน้ ที่ ระหว่าง 18 - 28 oC
-เมล็ดจะงอกดที ่อี ุณหภมู ิ 25 - 32 oC
-สภาพอากาศแห้ง และมแี สงแดด

-ความสูงจากระดบั น้ำ�ทะเล 300 - 800 เมตร

3. สภาพดนิ - เปน็ ดนิ ร่วนหรอื ดนิ รว่ นปนทราย - ดนิ เหนยี วไมเ่ หมาะแกก่ ารปลกู เพราะการถ่ายเทอากาศในดนิ ไมด่ ี
4. ธาตุอาหาร - มกี ารระบายนำ้ �ได้ดี - ทีค่ วามเปน็ กรด - ด่าง นอ้ ยกว่า 6 จะทำ�ใหต้ ้นพืชออ่ นแอ
5. สภาพนำ้ � - ระดับความเป็นกรดด่างของดิน(PH) 5 - 6 - ถ้าไดร้ บั นำ้ �มากเกินไปจนแฉะจะทำ�ใหเ้ กิดโรคได้ และมีผลทำ�ให้ผลผลติ
ไนโตรเจน 15 - 20 กโิ ลกรมั คณุ ภาพลดลง โดยเฉพาะความหวาน
ฟอสฟอรสั 5 - 7 กิโลกรัม
โปแตสเซียม 20 - 25 กิโลกรัม

- 250 - 375 มลิ ลิเมตรต่อตน้

47

แนวทางการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ และแหล่งสบื ค้นข้อมูลเพ่มิ เตมิ

แนวทางการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลติ
1. การปลกู แคนตาลปู ตอ้ งให้นำ้ �อย่างสม่ำ�เสมอ ตั้งแต่เร่ิมปลกู จนกระทั่งผลโต
เต็มที่ เมื่อเริม่ ติดผลประมาณ 2 สปั ดาห์ค่อยๆ ลดปริมาณนำ้ �ลง และงดนำ้ �ก่อนเก็บเกย่ี ว
7 - 10 วนั เพราะความช้นื สงู มผี ลทำ�ใหค้ ุณภาพของผลโดยเฉพาะความหวานลดลง
2. การช่วยผสมเกสรหรอื ต่อดอกจะทำ�ให้การติดผลดีข้นึ ซ่ึงทำ�ในชว่ งเชา้ ก่อน
10.00 น. ทุกวัน โดยเลือกเก็บดอกตัวผูท้ ่ีบานในวันผสม ดึงกลีบดอกตัวผู้ออก นำ�ส่วน
ปลายเกสรท่มี ลี ะอองเกสรเหลืองตดิ อยู่ ไปแตะตรงปลายเกสรดอกตวั เมยี ทต่ี น้ ใช้ดอก
ตัวผู้ 2 - 3 ดอกต่อตวั เมยี 1 ดอก
3. การเด็ดใบแก่ทโ่ี คนตน้ ถงึ ข้อที่ 4 ออกจะช่วยให้อากาศถา่ ยเทสะดวก
ลดการเกิดโรค
4. การเลือกผลทดี่ ีทีส่ ุดไว้ต้นละ 1 ผล จะไดผ้ ลทม่ี คี ณุ ภาพ มคี วามสมบรู ณ์
จำ�หน่ายได้ราคาดี
แหล่งสบื ค้นขอ้ มลู เพิ่มเตมิ

1. http://www.doa.go.th/library/html/veg_all.html 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2556
2. http://anrcatalog.ucdavis.edu 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2556
3. http://www.thongthaiseeds.com 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2556
4. http://www.aces.edu 15 กุมภาพันธ์ 2556
5. http://www.vegetweb.com 15 กมุ ภาพันธ์ 2556
6. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2535. การปลกู แตงแคนตาลปู
7. บริษัทเพอ่ื นเกษตรกร จำ�กัด. มปป. แตงเทศ (แคนตาลูป๊ หรือ เมลอน).

48

แตงกวา 7 วัน ขัน้ ตอนการปลูกและการดแู ลรกั ษาแตงกวา 50 วัน 60 วนั

การเตรยี มการ 15 วนั 30 วัน 40 วนั

-แ-วใป--1หชั5ลรใไเไต้ร-สถถพะะ1ว่ร่ปมพตรืช5นียะาาุ๋ยร-กซบมอกณว1คาุยดาอดน5อรแยินินก7อกอเลนใใตกีเ-ตัหคหะพ้ำร�รใร11้หด้รื่อยีชาาว่0ีมป้ปม-ดน3ดวร๋ยุดเ2ซ0กันบั นิทุยบ็คปกิง้ รเกรไศง้ั วุง.ษ/ด้ ไรนิ ่ การปลกู 3-ใส0อ่ปากุย๋ ยกุ4.1ต64ก่อ-าไรวร0่นัใ-สห่ป0ลุย๋ อังปตั รลากู ลค- ำวอ�ตราปน้ ยกัใไุ กหดคา้เ้้าจ1รงร4ทเิญพ�ำ-อ่ืเคต2เ้าก0บิ งาโวะตนั พยงุ -แอลอเกะก็บศกเตั ศารรษพู กวชื �ำัชทจพ่อีดั ชื ยวอใู่ชั อนพกดืชิน การเกบ็ เกยี่ ว
- ปลูกแบบหยอด - อายุ 25 วนั หลังปลูกใส่ - เร่ิมเกบ็ เกีย่ วหลังจากปลกู
เมล็ดควรคลกุ เมลด็ ปุ๋ย 15 - 15 - 15 อัตรา 40 - 60 วนั
พนั ธด์ุ ้วยสารป้องกัน 40 - 50 กก.ตอ่ ไร่
กำ�จัดแมลง - อไใตรหมะย่อใก่้ยา่หครงะแ้ระสแงั้ฉจมรกาะำก่ �ยจาเใสในรหนมใเ้นกพหอน้ำิน้ื�้นไท2�้ำปใ่ี-น3แวปนั ลง
- ปลกู แบบย้ายกลา้ -
ยา้ ยเมื่อมีใบจรงิ -
3 - 4 ใบ คดั เลือก
กลา้ ทแ่ี ขง็ แรงและ
สมบูรณ์ ยา้ ยปลกู ใน
หลมุ ท่เี ตรยี มไว้ ควาคมวตร้อใชงม้กดีารทขี่คอมงแตลละากสดะาออรยปาา่ ดฏงริบตะตััดมกิใัดหอ่ร้มะนขีวแว้ัังลตไะิดมหผใ่ ลหลอังผ้ กลยาชู่ ครำ้ �เัดกแ็บยเกกผ่ียลวผลติ ตาม

ศัตรูพืชที่สำ�คัญ
1.เพล้ยี ไฟ ร�ะ�บ��าด��ม�า�ก�ใน�ช�ว่��ง�ท��ม่ี �ีอ��า�ก�า��ศ�แ�ห��้ง�แ�ล��้ง��ป�อ้���ง�ก�ัน�ก�ำ�� ��จัด��โ�ด��ย�ใ�ห��น้ �ำ้�� �เ�พ�มิ่���ค�ว�า�ม�ช�้ืน��ใ�น�แ��ป�ล��ง�ป�ล��ูก��โ�ด�ย��ให��้น�ำ้�� ��เป�น็�� �ฝ�อ�ย�ใน��ต�อ�น�เช�า้��จ�ะ�ช�ว่��ย�ล�ด�ก��า�ร�ร�ะ�บ�า�ด��ข�อ�ง�เ�พ�ล��ยี้ �ไ�ฟ��ห�ร�ือ��ใช�้ส��า�ร�
กำ�จัดแมลง ในการป้องกนั กำ�จดั ตามคำ�แนะนำ� 2.เพลีย้ ออ่ น ร�ะ�บ��าด��ม�า�ก�ใน�ช�ว่��ง�อ�า�ก��า�ศ�ร�อ้��น�แ��ล�ะ�แ��ห�ง้�แ��ล�ง้ ��ซ�ึ่ง�เ�ป�น็���ต�อ��น�ท��พี่ �ืช�ข��า�ด�น�้ำ����ก��ร�ณ��ีม�กี �า�ร�ร�ะ��บ�า�ด�ใ�ห��้ใช�้ส��า�ร�ส��ก�ดั �จ�า��ก�ส�ะ�เ�ด�า�
ยาสบู หรือใชเ้ ชอ้ื ราบิวเวอร์เรียฉดี พน่ กรณีระบาดรุนแรงใช้สารเคมตี ามคำ�แนะนำ� 3.แมลงหวข่ี าว ไม่ใช้ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป เพราะจะดึงดดู แมลงหว่ขี าวหรือแมลงศตั รู
ชนดิ อื่นเข้ามาทำ�ลาย เม่ือพบการระบาดพน่ ด้วยสารเคมีตามคำ�แนะนำ� 4.หนอนกระทผู้ กั ความเสียหายเกดิ จากการกัดกนิ ใบแตงออ่ น ๆ หรือดอกแตงจนเสยี หาย บางครัง้
พบเจาะกินผลแตงดว้ ย การปอ้ งกันกำ�จัดใช้สารสกัดจากสะเดา และใชเ้ ชื้อบที ี
5.โรคราน้ำ�ค้าง ใ�น�ต��อ�น�เช�า้��ท��่ีม�หี��ม��อ�ก��น�ำ้����ค�า้�ง�จ�ดั���ช�ว่��ง�ห�ล�ัง�ฝ�น��ต�ก�ต�ิด���ต�อ่ �ก��นั �ท�ำ����ให��ม้ �คี��ว�า�ม�ช�ื้น���ส��ูง��จ�ะ��พ�บ��ว�่า�ใ�ต�้ใ�บ�แ�ผ�ล�จ�ะ��ม�เี�ส�้น��ใ�ย�ส�ีข��า�ว�เ�ก�า�ะ�เ�ป�น็���ก�ล��ุม่ �แ�ล��ะ�ม�สี �ป��อ�ร�์เ�ป�น็��ผ�ง��ส�ีด�ำ�� ��ก�า��ร
ปอ้ งกนั คลกุ เมล็ดด้วยสารเคมี 6.โรคใบด่าง อาการใบด่างสเี ขียวเข้มสลบั สีเขยี วอ่อนหรือดา่ งเขยี วสลบั เหลอื งเนอื้ ใบตะปุม่ ตะปารปอ้ งกนั ไม่ให้เกดิ โรค เชน่ เลือกแหลง่ ปลกู ที่
ปลอดจากเช้ือไวรัส และทำ�ความสะอาดแปลงปลูกพรอ้ มท้งั บริเวณใกลเ้ คียงให้สะอาด

เทคนิคการปลูกและดูแลรกั ษาแตงกวา

1. การเตรยี มการก่อนปลกู
1.1 การเตรยี มแปลงปลูก
เตรียมดนิ ให้รว่ นซุยและระบายนำ้ �ดี
ไถตากดนิ คราดเกบ็ เศษวชั พืช ออกใหห้ มด ทง้ิ ไว้
ประมาณ 7 - 10 วัน จากนั้นไถพรวนอกี 1 - 2 ครัง้
ปรับดินโดยใส่ปูนขาวให้มีค่าความเป็นกรด-ด่าง
(pH) ระหวา่ ง 5.5 – 6.8 ใส่ปุ๋ยคอกหรอื ปุย๋ หมักที่
สลายตัวดแี ล้ว ประมาณ 1 - 2 ตนั ต่อไร่ ขนาดแปลง
และระยะปลูก ตามความเหมาะสม
1.2 การเตรยี มพันธุ์
เลอื กเมลด็ ที่มคี วามสมบูรณต์ รงตามพนั ธจ์ุ ากแหล่งพันธุท์ ่ีน่าเชื่อถอื เมลด็ มี
การบรรจหุ ีบห่อทส่ี ามารถปอ้ งกันความชื้นและอากาศจากภายนอก มีการระบุวันหมด
อายทุ ชี่ ัดเจน ในกรณีทเี่ มล็ดไมไ่ ดม้ กี ารคลกุ สารเคมใี หใ้ ช้สารป้องกนั กำ�จดั เช้อื ราผสมนำ้ �
ในอตั ราแนะนำ� นำ�เมลด็ ลงแช่เปน็ เวลาประมาณ ½�-��1��ช�ั่ว��โ�ม�ง��แ��ล�้ว�ห��อ่ ��เม��ล�ด็�� �ด�ว้ �ย�ผ�า้��ห��ร�ือ�
กระดาษที่มคี วามช้ืนบรรจใุ นถงุ พลาสตกิ รัดปากถุงให้แนน่ วางในสภาพอุณหภูมิห้อง
หลังเมลด็ งอก มรี ากยาว ประมาณ 0��.5��เ��ซ��น�ต�เิ��ม��ต�ร�จ�งึ��น�ำ�� ��ไป��เพ��า�ะ�ต�อ่ �ไ�ป�
1.3 การเพาะกล้า

1) การเตรียมดินเพาะกล้า อัตราสว่ นดิน : ปุย๋ คอก 2 : 1 คลุกเคล้าใหเ้ ข้า
กันแลว้ บรรจใุ นถงุ พลาสติก ขนาด �4�x��6��น��ิ้ว���ห��ร�อื �ถ�า�ด��เพ��า�ะ�เ�ม�ล�็ด�� ��เพ��ือ่ ��เต��ร�ีย��ม�ส�ำ���ห��ร�ับ�ห�ย�อ�ด�
เมลด็ ต่อไป
2) การเพาะกล้านำ�เมล็ดท่ีบ่มไว้หยอดลงแต่ละถุงหรือถาดหลุมเพาะเมลด็
จำ�นวน 1 เมลด็ ต่อถงุ หรอื หลมุ ใช้ดินผสมกลบประมาณ 1��เ�ซ�น�ต�ิเ�� ม�ต��ร
3) การดูแลรกั ษากล้า หลังจากหยอดเมลด็ นำ�ถงุ เพาะหรือถาดเพาะกลา้
ไปไวใ้ นสถานทไี่ ม่มีแดดจัด หรือใชว้ ัสดพุ รางแสง รดนำ้ �ทันที หม่นั ตรวจดูความชืน้ ของ
วสั ดเุ พาะและใหน้ ำ้ �อยา่ งสมำ่ �เสมอ หากพบการทำ�ลายของศตั รพู ชื ใหท้ ำ�การปอ้ งกนั กำ�จดั
ตามความจำ�เป็น
2. การปลกู
���ห�ย�อด�เม�ลด็���ล�ง�ใ�น�ห�ล�ุม��ป�ล�กู� ��2� ��เ�ม�ล�ด็�� �ต�่อ�ห��ล�ุม� ��ค��ล�ุม�ด��้ว�ย�ฟ��า�ง�ข�้า��ว�แ�ล�ว้��ร�ด�น�้ำ�� ��ท�ุก��ว�นั �
ในช่วงเช้าและเย็น หรืออาจจะเป็นช่วงเช้าหรอื เยน็ เพยี งวนั ละ 1   ครง้ั   แล้วแต่ความ
เหมาะสม เม่ือกล้ามีใบจริง 3 - 4 ใบ เลอื กกลา้ ที่แข็งแรงและสมบูรณ์ ยา้ ยปลกู ในหลมุ
ทเ่ี ตรยี มไว้ เมอ่ื แตงกวาอายไุ ด้ 14 - 20 วนั ควรปกั คา้ งเปน็ กระโจมโดยใชไ้ มไ้ ผห่ รอื แขนงไผ่
ปกั ขอบแปลงดา้ นนอกของหลมุ ปลกู เพราะเมอ่ื แตงกวาอายไุ ด้ประมาณ 21 วัน
จะเรม่ิ เลอ้ื ย แตก่ ารปลกู แตงกวาในฤดแู ลง้ อาจจะไมต่ อ้ งขน้ึ คา้ งกไ็ ดเ้ พอ่ื ลดตน้ ทนุ การผลติ

50

3. การดูแลรกั ษา
3.1 การใส่ปุ๋ย
1) ระยะเตรียมดนิ ใส่ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ เชน่ ปุย๋ คอก หรือป๋ยุ หมกั อตั รา 1-2 ตัน
ต่อไร่ และใสป่ ุย๋ สตู ร 15 - 15 - 15 หรอื 12 - 24 - 24 อัตรา 20 - 30 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่
2) หลังยา้ ยปลกู ประมาณ 7 วนั ใสป่ ยุ๋ ที่มไี นโตรเจน เช่น ยเู รีย
หรือแอมโมเนยี ซัลเฟต ในอตั ราประมาณ 20 กิโลกรมั ต่อไร่
3) ระยะแตงกวาออกดอก ใช้ระยะเวลาประมาณ 25 วนั หลงั จากย้ายกลา้
ใสป่ ๋ยุ สตู ร 15 - 15 - 15 หรอื 12 - 24 - 24 อัตรา 20 - 30 กิโลกรมั ตอ่ ไร่
3.2 การให้น�ำ้
หลังยา้ ยกลา้ ลงปลูกให้น้ำ�ทนั ที หมน่ั ตรวจดคู วามช้นื ในดิน และควรให้นำ้ �
อยา่ งสม่ำ�เสมอตลอดระยะการเจริญเติบโตจนกระทง่ั เก็บเกย่ี ว เพราะพชื ตระกูลแตง
เป็นพชื ทตี่ ้องการน้าํ มาก สำ�หรบั การเจริญของลำ�ต้นและผล แต่การให้นํ้ามากเกินไป
จะทำ�ใหก้ ารเจรญิ และผลผลติ ลดลง เน่ืองจากนํ้าจะชะล้างปุ๋ยไนโตรเจน นอกจากนรี้ าก
ของพืชตระกลู แตงตอ้ งการออกซเิ จนค่อนข้างสูง การให้นาํ้ มากเกนิ ไปจะทำ�ใหด้ นิ ขาด
ออกซิเจน และการท่มี คี วามชืน้ ในแปลงมากจะทำ�ให้เกิดโรคทางใบได้งา่ ย แต่หากขาดน้ํา
จะทำ�ใหพ้ ชื ชะงกั การเจริญ และกระทบกระเทือนถึงผลผลติ ได้
4. ศัตรูพืชและโรคทีส่ �ำ คัญ
4.1 โรคราน�ำ้ ค้าง ในตอนเช้าทมี่ นี ำ้ �ค้างจดั ชว่ งหลงั ฝนตกตดิ ตอ่ กนั ทำ�ให้มี
ความช้ืนสูงในบริเวณปลูก จะพบวา่ ใตใ้ บตรงตำ�แหนง่ ของแผลจะมเี ส้นใยสขี าวเกาะเป็น
กลมุ่ และมสี ปอร์เปน็ ผงสดี ำ� การปอ้ งกันกำ�จัด คลุกเมลด็ แตงด้วยสารเคมีหรือใชเ้ ชอ้ื
ไตรโครเดอรม์ ่าฉีดพ่น
4.2 โรคใบดา่ ง อาการ ใบดา่ งสเี ขยี วเขม้
สลบั สเี ขยี วออ่ นหรอื ดา่ งเขยี วสลบั เหลอื ง การปอ้ งกนั
เลือกแหลง่ ปลูกท่ปี ลอดจากเชอ้ื ไวรสั และทำ�
ความสะอาดแปลงปลูกพร้อมทงั้ บรเิ วณใกล้เคียง
ใหส้ ะอาดไมใ่ หเ้ ปน็ ทอ่ี าศยั ของเชอ้ื และแมลงพาหะ
4.3 โรคราแป้ง ลักษณะอาการ มักเกดิ
ใบลา่ งกอ่ นในระยะที่ผลโตแลว้ บนใบจะพบรา
สีขาวคลา้ ยผงแป้งคลุมอยู่เป็นหยอ่ ม ๆ กระจาย
ทว่ั ไป เมอ่ื รนุ แรงจะคลมุ เตม็ ผิวใบทำ�ใหใ้ บเปลย่ี น
เปน็ สีเหลอื งแลว้ แห้งตาย การปอ้ งกันกำ�จดั
ใช้สารเคมตี ามคำ�แนะนำ�
4.4 เพลี้ยไฟ ระบาดมากในช่วงท่มี ี
อากาศแหง้ แลง้ ฝนทง้ิ ชว่ งตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานาน
ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยใหน้ ำ้ �เพม่ิ ความชน้ื ในแปลงปลกู
โดยใหน้ ำ้ �เปน็ ฝอยในตอนเชา้ จะชว่ ยลดการระบาด

51

ของเพลีย้ ไฟ หรือใช้สารกำ�จดั แมลงในการป้องกันกำ�จัดเพลย้ี ไฟตามคำ�แนะนำ�
4.5 เพลี้ยออ่ น ระบาดมากในชว่ งอากาศรอ้ น และแหง้ แล้ง ซึ่งเปน็ ตอนที่
พชื ขาดนำ้ � กรณมี กี ารระบาดใหใ้ ชส้ ารสกดั จากสะเดา ยาสบู หรอื ใชเ้ ชอ้ื ราบวิ เวอรเ์ รยี ฉดี พน่
กรณรี ะบาดรนุ แรงใช้สารเคมตี ามคำ�แนะนำ�
4.6 แมลงหว่ีขาว ไมใ่ ช้ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกนิ ไป เพราะจะดึงดดู แมลงหวี่
ขาวหรอื แมลงศตั รชู นดิ อื่น เขา้ มาทำ�ลาย สำ�รวจปรมิ าณของแมลงหว่ีขาวเปน็ ประจำ� เมอ่ื
พบการระบาดพ่นดว้ ยสารเคมีตามคำ�แนะนำ�
4.7 หนอนกระทผู้ กั ความเสยี หายเกดิ จากการกดั กินใบแตงออ่ นๆ และ
ดอกแตงจนเสียหาย บางคร้ังพบเจาะกินผลแตงดว้ ย การปอ้ งกันกำ�จดั ใชส้ ารสกดั จาก
สะเดา และใชเ้ ช้อื บที ี
5. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบตั ิหลังการเก็บเกีย่ ว
อายกุ ารเก็บเก่ียวของแตงกวานบั จากวนั ปลูกประมาณ 30 - 40 วนั แล้วแต่พันธ์ุ
แตงกวาสำ�หรับบรโิ ภคสด ควรเลือกเก็บขณะทผี่ ลยังอ่อนอยเู่ นอ้ื แนน่ กรอบ และสังเกตได้
จากมนี วลสขี าวเกาะและยังมีหนามอยู่บา้ ง ถ้าผลแก่นวลจะจางหาย สผี ลเรม่ิ เป็นสเี หลอื ง
และไมม่ หี นาม การเก็บแตงกวาควรทยอยเกบ็ วนั เวน้ วนั ไม่ปล่อยให้แกค่ าต้น เพราะจะ
ทำ�ให้ผลผลติ ลดลง โดยปกติจะเกบ็ เกี่ยวผลผลิตได้นานประมาณ 1 เดือน
การเกบ็ เกี่ยว ควรเกบ็ เกี่ยวตามอายเุ หมาะสมของแต่ละพันธุ์ ควรใชม้ ดี ที่คม
และสะอาด ตดั ให้มีขัว้ ติดผลอยู่ คดั แยกผลผลติ ตามความต้องการของตลาดอย่าง
ระมัดระวงั ไมใ่ หผ้ ลช้ำ� โดยการรวบรวมทเ่ี ก็บเกีย่ วแลว้ ใสต่ ะกร้าพลาสตกิ หรอื ภาชนะบุ
ภายในด้วยกระดาษ กระสอบปยุ๋ หรือใบตองทส่ี ะอาด เพอื่ ป้องกันการกระแทกชำ้ �และ
การขูดขีด จากนน้ั ขนยา้ ยผลิตผลอย่างระมัดระวัง ไม่ใหเ้ กดิ รอยช้ำ� สถานท่คี ัดแยกบรรจุ
ตอ้ งสะอาดและไม่วางผลผลิตบนพ้ืนดนิ

52

ขอ้ มูลสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและใหผ้ ลผลิตของแตงกวา

สภาพแวดล้อม ความเหมาะสม ข้อจำ�กัด / รายละเอยี ดเพ่มิ เติม
1 สภาพภมู ิอากาศ - แ��ห�ล��ง่ �น�ำ้���ส��ะ�อ�า�ด�ป��รา�ศ�จ�า�ก�ส��าร�อ�ิน���ท�ร�ยี �์�แ�ล��ะ�ส�า�ร�อ�น�นิ���ท��ร�ยี��์ �
- อุณหภมู ิ 22 – 28 องศาเซลเซยี ส ที่มีพษิ ��ไ�ม��่เ�ป�น็���แ��ห��ล�ง่ �ท��่ีม��นี �ำ้�� ��ท�่ว�ม��ข�ัง���ห����า่ ��ง�ไ�ก�ล�จ�า�ก��แ�ห�ล�ง่ �ม�ล�พ�ษิ��
17 – 25 องศาเซลเซียส
- กลางวัน ไม่เกิน 800 เมตร
- กลางคนื ดินให้รว่ นซุยและระบายนำ้ �ดี
6 – 8 นว้ิ
2. สภาพพน้ื ท่ี 5 - 6.5
- ความสูงจากระดับน้ำ�ทะเล
3. สภาพดิน
3.1 ลักษณะดิน
3.2 ความลกึ ของหนา้ ดนิ
3.3 ความเปน็ กรดเป็นด่าง(pH)
4.สภาพนำ้�
-�ป��รมิ�� �า�ณ�น�ำ้����ท�่ตี��อ้ �ง��ก�า�ร�

53

แนวทางการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลิต และแหลง่ สบื ค้นข้อมูลเพ่มิ เติม

แนวทางการเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลติ แตงกวา
ควรใชพ้ นั ธท์ุ เ่ี หมาะสมกบั สภาพพน้ื ท่ี ภมู กิ าศ และวตั ถปุ ระสงคข์ องการนำ�ไปใช้
เมลด็ พนั ธข์ุ องแตงกวาเกษตรกรสามารถคดั เลอื กไวใ้ ชเ้ องได้ โดยคดั เลอื กจากตน้ ทส่ี มบรู ณ์
แขง็ แรงและให้ผลผลติ ดที ั้งปรมิ าณและคุณภาพ และกอ่ นนำ�เมล็ดพันธ์ุไปปลกู ควรนำ�
เมลด็ พนั ธไุ์ ปทดสอบความงอก คดั เลอื กเมล็ดท่มี ีตำ�หนิออก และควรคลกุ เมลด็ พันธ์ดุ ้วย
สารปอ้ งกนั กำ�จัดแมลง เพ่ือป้องกนั แมลงเข้าทำ�ลายดว้ ย
การปกั ค้าง แตงกวาเป็นพชื ที่ตอ้ งอาศัยคา้ ง เพอ่ื เกาะพยงุ ลำ�ตน้ ให้เจริญเติบโต
ไม้ท่ีใชส้ ำ�หรบั ทำ�ไม้ค้างนน้ั ใชไ้ ม้ไผ่ หรอื ไมอ้ ่นื ๆ ทหี่ าได้งา่ ยในท้องถน่ิ โดยความยาวของ
ไมม้ คี วามยาวประมาณ 2.5 - 3 เมตร หรือตามความเหมาะสม หรืออาจจะสรา้ งโครงเสา
แลว้ ใชล้ วดขงึ ด้านบน ระยะเวลาการใส่คา้ งนัน้ จะเรมิ่ ใส่หลงั จากงอกแลว้ 14 - 20 วัน
โดยจับตน้ แตงกวาใหพ้ ันเลอ้ื ยขึน้ ค้างในลักษณะทวนเขม็ นาฬิกา เนื่องจากเป็นวิธที ีท่ ำ�ให้
ลำ�ตน้ แขง็ แรงและโตไวทส่ี ดุ ในแหลง่ ทห่ี าคา้ งยาก ผปู้ ลกู สามารถใชเ้ ชอื กแทนคา้ ง การปลกู
แตงกวาควรมกี ารทดสอบ การใชเ้ ชือกแทนค้างเพื่อการลดต้นทนุ การผลติ
แหลง่ สืบคน้ ขอ้ มลู
กรมวิชาการเกษตร. 2550. ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP พืชตระกูลแตง.
กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ กรุงเทพฯ.
กรมวิชาการเกษตร. ไมร่ ะบุป.ี ขนั้ ตอนการปฏิบัติ การผลิตพชื ตระกูลแตงและการ
จัดการ. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ กรุงเทพฯ.
พรสทิ ธ์ิ รงั สมิ นั ตชุ าต,ิ ปญั ญา ยวงเกต.ุ 2552. ศตั รพู ชื ตระกลู แตง. ศนู ยบ์ รหิ ารศตั รพู ชื
จังหวัดสงขลา. www.agriman.doae.go.th

54

ถัว่ ฝกั ยาว 7 วัน ขั้นตอนการปลูกและการดูแลรักษาถวั่ ฝกั ยาว 55 วัน 75 วนั

การเตรียมการ 15 วนั 30 วนั 45 วนั

ใ-แป--แสลรปไคใอ่สถะะวลัตป่มพกรงรำไาุย๋รใก�ถาหณวหจาดดันห้2รมินว7อม-เัก4ตัชตีกดหวพยีาตนัร1กชืมันือไอด-ปวตอนิ้2่อยุ๋ กไคครจอ่ราก้ังก 4หปเมลร--ละมุ ห็ด5มลยกาะเกอซณาลดน3รบเปตม-ดิเลลมนิ4กู ็ดตใหรล้ ึก 12-ส-เกอ1ช022โิูตตัออน่ ลรราัต--หกายปร1รร22ปาุห๋ยุอื5มั 45รสลสตกะ-่ว-กังูต่อ5มานิโ11รไล3รา5-2ร0ใณก1่ 11ส-รอ2ว0มัป่ 51:ัตัน-ต05ุย๋-2ร2อ่าใ5-ห:4สไร1ร1่ป-ือใ่0ยุ๋ น0 สทด--มนิตี่ ไ่ำถแอ้ ม�เว่ัฉงสค่ ฝกะมวกัากรอรยาใแนหารลำ้วใม้�ะอหเาปเยน้กพ็น่าจ�้ำ ียพงนงืชพอ แกลาะรกกา�ำ รจพดั รววชั นพดืชนิ การเก็บเกีย่ ว
- ควรถอน หรอื ดายหญ้า - การเกบ็ เกีย่ วหลังปลกู
ป้องกันมิใหต้ ้นหญ้าท่ีงอก ถว่ั ฝักยาวไดป้ ระมาณ 55 –
พร้อมถัว่ ฝกั ยาวเจริญ 75 วัน ทัง้ นีข้ ึน้ อยู่กบั แต่ละ
เติบโตได้ พันธุ์ โดยเลอื กเกบ็ ฝักทสี่ ียังไม่
จางและลกั ษณะฝกั ยงั ไมพ่ องมี
ลคำว�ตร- ป้นอักใาหคย้เา้ ุไจงดรเ้ ญิพ1อื่5เตเ-กิบา2โะต0พวยันุง ความเรียบสม่ำ�เสมอ

ศตั รทู ่ีส�ำ คัญ การปฏบิ ัตกิ ่อนและหลังการเก็บเกยี่ ว
1.โรคเหี่ยว อาการต้นเหยี่ ว เริม่ จากใบท่อี ยู่บรเิ วณโคนต้นแสดงอาการใบเหลอื ง การป้องกันกำ�จดั ใชน้ ้ำ�ปนู ใสรดใหท้ ัว่ - ให้ปลิดขั้ว ระวังไมใ่ หด้ อกใหม่หลดุ เสียหาย
2.โรคราแปง้ อาการบนใบมองเห็นคล้ายมผี งแปง้ จับอยู่ อาการทรี่ นุ แรงจะทำ�ให้ใบเหลืองและร่วง การป้องกนั กำ�จดั ใช้สาร เพราะจะกระทบกระเทือนต่อปรมิ าณผลผลติ
เคมตี ามคำ�แนะนำ� 3.หนอนแมลงวันเจาะตน้ ถ่ัว จะทำ�ให้ต้นและเถาเห่ียว การป้องกนั กำ�จัดคลุกเมลด็ ด้วยสารป้องกัน ลกั ษณะการเกบ็ ใหท้ ยอยเก็บทกุ ๆ 2 วัน โดยไม่
กำ�จดั แมลง หรอื หากจำ�เป็นใหพ้ ่นสารเคมตี ามคำ�แนะนำ� 4.หนอนกระทหู้ อม ลักษณะการทำ�ลายโดยหนอนจะกัดกนิ ทกุ ปลอ่ ยให้ฝกั แก่ตกค้าง
สว่ นของถัว่ ฝกั ยาว การป้องกันกำ�จดั ไถพรวน พลกิ และตากหนา้ ดิน เพือ่ กำ�จัดดกั แด้ 5.เพลี้ยออ่ นถัว่ ฝกั ยาว ลกั ษณะ - หลังเกบ็ เก่ียว ใหน้ ำ�เขา้ รม่ ทันที ไม่ควรวาง
ทำ�ใหย้ อดแกรน็ ไม่สามารถคล่ีใบ ทำ�ใหด้ อกรว่ ง และฝกั ไม่สมบูรณ์ การป้องกนั ใช้สารเคมีตามคำ�แนะนำ� 6.หนอนกระทผู้ กั ไว้กลางแดด และไม่ควรวางบนพืน้ ผิวดนิ โดยไมม่ ี
ลกั ษณะแทะกดั กนิ ทุกสว่ นของถัว่ ฝกั ยาว การปอ้ งกนั กำ�จดั ไถพรวนและตากหนา้ ดิน เพื่อกำ�จดั ดกั แด้ในดนิ หากจำ�เปน็ ให้ วัสดรุ องรบั
ใชส้ ารเคมตี ามคำ�แนะนำ�

เทคนิคการปลูกและดแู ลรกั ษาถัว่ ฝักยาว

1. การเตรียมการกอ่ นปลกู
1.1 การเตรยี มดนิ
1) ถ่ัวฝักยาวสามารถเจริญเติบโตได้ในดิน
แทบทกุ ชนดิ แตล่ กั ษณะดนิ ทม่ี คี วามเหมาะสมในการปลกู
คือดนิ ร่วนทราย หรือดินรว่ นปนทราย ความเปน็ กรด
และด่างของดิน pH มคี า่ อยู่ระหว่าง 5.5 – 6.8
2) การเตรียมดนิ ควรไถดนิ ตากไว้ประมาณ
7 วัน แล้วไถพรวนอีก 1 - 2 คร้งั ใส่ปุ๋ยหมกั หรือปุ๋ยคอก
ทสี่ ลายตวั ดีแลว้ ใสอ่ ตั รา 2 - 4 ตันต่อไร่
3) กำ�จัดวัชพืชออกจากแปลงให้หมด
จากนั้นจงึ ไถคราด ควรใส่ปยุ๋ คอกทีส่ ลายตัวแลว้ เพอื่
ปรับปรุงโครงสร้างของดนิ ใหด้ ขี ึน้ การยกร่องนนั้ ปกติ
จะยกร่องกว้างประมาณ 1 - 1.2 เมตร โดยให้ความยาว
เหมาะสมกบั สภาพแปลง และเตรียมร่องระหว่างแปลง กวา้ งประมาณ 0.5 - 0.8 เมตร
ในสภาพพน้ื ท่ีๆไม่เคยมีการวเิ คราะหด์ ินมากอ่ น ควรเก็บตัวอย่างดินเพ่ือนำ�ไปวเิ คราะห์
คุณสมบตั ิของดนิ กับหน่วยงานย่อยของกรมพฒั นาท่ีดิน เพ่ือให้ทราบถึงขอ้ มลู ในการ
ปรบั ปรุงบำ�รงุ ดนิ ให้เหมาะสมตอ่ ไป
1.2 การเตรยี มพันธุป์ ลูก
การปลกู ถวั่ ฝกั ยาวในเน้ือที่ 1 ไร่ ตอ้ งใช้เมล็ดพนั ธุ์ 3 - 4 กโิ ลกรมั และกอ่ น
นำ�เมลด็ พนั ธ์ไุ ปปลกู ควรนำ�เมลด็ พันธไ์ุ ปทดสอบความงอก คัดเลือกเมลด็ ท่ีมตี ำ�หนอิ อก
และควรคลุกเมลด็ พันธ์ดุ ้วยสารป้องกนั กำ�จัดแมลง เพื่อปอ้ งกันแมลงเข้าทำ�ลายด้วย
1.3 การเตรยี มหลมุ ปลกู
หลังจากยกร่องปลูกเรียบร้อยแล้วให้ใช้จอบขุดหลุมปลูกให้ระยะระหว่างแถว
ห่างกันประมาณ 80 เซนตเิ มตร ระยะระหว่างหลุมหา่ งกนั ประมาณ 50 เซนตเิ มตร
โดยขดุ ให้หลมุ ลกึ ประมาณ 10 - 15 เซนตเิ มตร จากนนั้ ใชป้ ยุ๋ สูตรท่ีเหมาะสมกบั ถัว่ ฝักยาว
เช่น สูตร 15-15-15, 13-13-21, 12-24-12 หรอื 6-12-12 ใส่หลุมละ ½ ชอ้ นโต๊ะ
คลุกเคลา้ ให้เขา้ กนั กับดนิ กน้ หลุมปลูก
1.4 การหยอดเมล็ด
หยอดเมล็ดโดยตรงลงในหลุมปลกู หลมุ ละ 3 - 4 เมล็ด แลว้ กลบด้วยป๋ยุ คอก
หรอื ปยุ๋ หมกั ทส่ี ลายตวั แลว้ หรอื ดนิ ผสมใหห้ นาประมาณ 5 เซนตเิ มตร คลมุ ดว้ ยฟางแหง้
หรือหญ้าแห้งสะอาดบางๆ เพ่ือชว่ ยเก็บรักษาความชืน้ ผิวหนา้ ดิน รดนำ้ �ใหช้ มุ่ พอเหมาะ
การให้น้ำ�ในระยะ 1- 7 วัน หลังหยอดควรให้นำ้ �ทุกวันๆ ละ 1 คร้งั ทัง้ นี้ให้พิจารณา
สภาพภมู ิอากาศและสภาพดินประกอบด้วย

56

2. วธิ กี ารปลูก
1) เตรยี มแปลงขนาดกว้าง 1.2 เมตร ยาว 10 เมตร เวน้ ทางเดนิ 50 เซนตเิ มตร
ปลูก 2 แถว ใชร้ ะยะปลกู ระหวา่ งแถว 80 เซนติเมตร ระหวา่ งหลุม 50 เซนติเมตร
2) ในแปลงแบบยกร่องสวน ให้ปลกู 2 แถว แตล่ ะแถวห่างจากขอบร่อง 50
เซนติเมตร ระยะระหว่างหลมุ 50 เซนติเมตร หยอดเมล็ดหลุมละ 3 - 4 เมลด็ กลบดนิ
ให้ลกึ ประมาณ 4 - 5 เซนติเมตร แลว้ จงึ รดน้ำ�ทันที
3. การดแู ลรกั ษา
3.1 การให้ปยุ๋
1) ระยะเตรยี มดนิ ใสป่ ยุ๋ อนิ ทรยี ์ เชน่ ปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั อตั รา 2 - 4 ตนั ตอ่ ไร่
และใสป่ ุ๋ยสูตร15-15-15 หรอื 12-24-12 อตั รา 20 - 25 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ใส่ 2 ขา้ งแถวแล้ว
พรวนดินกลบ
2) หลังปลกู ระยะเวลาประมาณ 30 วนั ใสป่ ๋ยุ สตู ร 15-15-15 หรือ 12-24-12
อตั รา 20 - 25 กโิ ลกรัมต่อไร่ ใส่ 2 ขา้ งแถวแล้วพรวนดนิ กลบ
3.2 การใหน้ �ำ้

ถ่วั ฝักยาวเปน็ พืชที่ตอ้ งการนำ้ �อย่างสมำ่ �เสมอและเพียงพอ แต่ไม่ควรใหม้ าก
จนดินแฉะ การใหน้ ำ้ �ถ่วั ฝักยาวในระยะ 1 - 7 วนั แรกหลงั จากหยอดเมลด็ ควรใหน้ ้ำ�ทกุ วัน
วนั ละ 1 ครง้ั ควรพิจารณาสภาพภมู อิ ากาศ และสภาพดนิ ประกอบดว้ ย อยา่ ปลอยใหน้ ำ้ �ขงั
ในแปลง จะทำ�ให้ต้นถั่วฝกั ยาวตาย ควรให้นำ้ �ทันทีหลังจากปลูก และใส่ปุ๋ยแลว้
3.3 การปักไมค้ า้ ง
อายุประมาณ �1�5��–���2���0��ว���ัน���ห���ล��ัง�ป�ล�กู���ห�ร�ือ��ม�ีใ�บ�จ�ร�งิ�� �4��–����5��ใ��บ������ค��ว�ร�ท�ำ����ค�า้ �ง�โ�ด�ย��ใ�ช�้
ไม้ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางประมาณครงึ่ น้ิว ยาว 2 – 2.5 เมตร ปักใกลๆ้ หลมุ ปลกู
เพอ่ื ใหถ้ ว่ั ฝกั ยาวพนั หรอื เลอ้ื ยขน้ึ ไป โดยในระยะแรกควรมกี ารชว่ ยเหลอื คอื จบั ยอดถว่ั ฝกั ยาว
มาพันไมค้ า้ งไว้ โดยพันทวนเขม็ นาฬิกา ซึ่งการปกั แบบสามเหลีย่ มหนา้ จว่ั เป็นท่ีนยิ ม
ทัว่ ไป
3.4 การพรวนดนิ และก�ำ จัดวัชพืช
ครง้ั ท่ี 1 ในระยะแรกประมาณ 7 – 10 วันหลังปลูก ควรถอน หรอื ดายหญ้า
ครั้งหน่งึ เพ่ือปอ้ งกันมิใหต้ น้ หญ้าทง่ี อกพรอ้ มถ่วั ฝักยาวเจริญเตบิ โตได้
ครั้งท่ี 2 ควรกระทำ�พร้อมกับการใส่ป๋ยุ คือเม่ือถวั่ ฝักยาวมอี ายปุ ระมาณ �3�0�
วนั หลังปลกู ในระยะหลังจากนัน้ ไม่มคี วามจำ�เปน็ เทา่ ใดนัก เพราะถ่วั ฝักยาวเจรญิ เติบโต
และสามารถปกคลมุ พนื้ ทปี่ ลูกได้หมด
3.5 การตดั แต่งฝกั ถั่ว
ควรมกี ารตดั แตง่ ฝกั ทอ่ี ยรู่ ะดบั ลา่ งออกบา้ ง เพอ่ื ไมใ่ หต้ น้ ถว่ั ฝกั ยาวโทรมกอ่ นถงึ
อายุการเกบ็ เกย่ี วจริงๆ และทำ�ให้ฝักทอ่ี ยสู่ ่วนยอดเต่ง ไม่ลีบ กรณปี ลกู ฤดูฝน เปน็ การ
ป้องกนั ไมใ่ หฝ้ กั นอนอยูบ่ นผิวดนิ จะทำ�ให้เกดิ โรคระบาดได้งา่ ย และเมล็ดท่ีแก่จะงอก
ทำ�ให้ผลผลติ ลดลง

57

4. การเก็บเก่ียว
4.1 ระยะเกบ็ เกี่ยวท่เี หมาะสม
เมอื่ ถว่ั ฝักยาวมอี ายุ ประมาณ 40 วนั หลงั ปลูก   หรอื หลงั ดอกบานประมาณ
4 - 8 วัน ระยะเก็บเก่ียวจากครง้ั แรก จนถงึ ครง้ั สดุ ทา้ ย 55 - 75 วนั
4.2 วิธีการเก็บผลผลติ
ใหป้ ลดิ ขว้ั ระวงั ไมใ่ หด้ อกใหมห่ ลดุ เสยี หาย เพราะจะกระทบกระเทอื นตอ่ ปรมิ าณ
ผลผลิต ลกั ษณะการเก็บให้ทยอยเกบ็ ทุก ๆ 2 วนั โดยไมป่ ล่อยให้ฝกั แก่ตกค้าง
5. การปฏิบตั ิหลังการเก็บเกี่ยว
1) หลังเกบ็ เกีย่ ว ใหน้ ำ�เขา้ รม่ ทนั ที ไมค่ วรวางไวก้ ลางแดด และไม่ควรวางบนพ้นื
ผิวดนิ โดยไม่มีวสั ดุรองรับ
2) ควรแช่ถัว่ ฝกั ยาวในนำ้ �สะอาดนาน 1 ชั่วโมง เพ่ือกำ�จัดส่ิงปนเปือ้ น อาทิ ดิน
โคลน เพอื่ ใหถ้ ั่วฝกั ยาวมีสภาพน่าซ้ือ
3) คดั และแยกถัว่ ฝกั ยาว เพือ่ แยกจำ�หนา่ ยตามขนาดของความยาวฝัก จะทำ�ให้ได้
ราคาดีข้ึนกว่าการจำ�หน่ายฝักคละ
4) บรรจใุ นถงุ พลาสตกิ ที่เจาะรูรอบด้าน หรือบรรจใุ นตะกรา้ หรอื เข่งทีบ่ ุดว้ ย
วัสดทุ ป่ี อ้ งกนั การขูด ขดี เช่น ใบตอง ไมค่ วรบรรจปุ ริมาณมากเกินไป จะทำ�ใหถ้ วั่ ฝกั ยาว
บอบชำ้ �เสียหายได้
6. ศัตรพู ชื และโรคทีส่ �ำ คัญ
1) โรคเหี่ยว อาการตน้ เหี่ยว เร่มิ จากใบทอ่ี ยูบ่ รเิ วณโคนตน้ แสดงอาการใบเหลือง
การปอ้ งกนั กำ�จดั ใชน้ ้ำ�ปูนใสรดใหท้ ่ัว
2) โรคราแป้ง อาการบนใบมองเห็นคล้ายมีผงแปง้ จับอยู่ อาการท่รี นุ แรงจะทำ�ให้
ใบเหลืองและร่วง การปอ้ งกนั กำ�จัดใชส้ ารเคมีตามคำ�แนะนำ�
3) หนอนแมลงวันเจาะ
ตน้ ถว่ั จะทำ�ใหต้ น้ และเถาเหย่ี ว
การป้องกันกำ�จัดคลุกเมล็ด
ด้วยสารป้องกันกำ�จัดแมลง
หรือหากจำ�เป็นให้พ่นสารเคมี
ตามคำ�แนะนำ�
4) หนอนกระทู้หอม
ลักษณะการทำ�ลายโดยหนอน
จะกัดกินทุกส่วนของถ่ัวฝักยาว

58

การป้องกนั กำ�จดั ไถพรวน พลกิ
และตากหน้าดนิ เพ่อื กำ�จัดดักแด้
5) เ พ ล้ี ย อ่ อ น ถ่ั ว ฝั ก ย า ว
ลักษณะทำ�ให้ยอดแกร็นไม่สามารถ
คลี่ใบ ทำ�ให้ดอกรว่ ง และฝกั ไม่
สมบูรณ์ การป้องกนั ใช้สารเคมีตาม
คำ�แนะนำ�
6) หนอนกระทู้ผกั ลักษณะ
แทะกัดกินทุกส่วนของถ่ัวฝักยาว
การป้องกันกำ�จัดไถพรวนและตาก
หนา้ ดนิ เพ่อื กำ�จัดดกั แด้ในดิน หาก
จำ�เป็นให้ใช้สารคมีตามคำ�แนะนำ�

59

ข้อมลู สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและใหผ้ ลผลิตของถ่ัวฝกั ยาว

60 รายการ ความเหมาะสม ขอ้ จำ�กดั / รายละเอียดเพิ่มเติม
1 สภาพภมู อิ ากาศ 20 – 30 องศาเซลเซยี ส - เจริญเตบิ โตได้ดีในสภาพอุณหภูมิสงู
- อณุ หภูมิ 16 – 24 องศาเซลเซียส
ไม่เกิน 800 เมตร - ถา้ พน้ื ที่มคี วามลาดชนั เล็กนอ้ ยจะเหมาะสม เพราะจะชว่ ยให้ดิน
- กลางวนั ทีเ่ หมาะสม ประมาณ 5 -15 % ระบายนำ้ �ไดด้ ี
- กลางคืน - เจรญิ เติบโตไดด้ ที ั้งในดนิ ร่วนเหนยี ว และดนิ รว่ นทราย แตท่ ่เี หมาะสมคือ
2. สภาพพ้นื ท่ี ดนิ ร่วนปนทราย
2.1 ความสงู จากระดบั นำ้ �ทะเล - ถา้ ดินเปน็ กรดหรอื เป็นด่างมากเกนิ ไปจะทำ�ให้ดนิ ขาดธาตุอาหารบาง
2.2 ความลาดชันของพน้ื ที่ อยา่ งได้
- ถ่ัวฝกั ยาวเป็นพืชทที่ นเคม็ เล็กน้อย มีปริมาณเกลือในดินประมาณ
3. สภาพดิน ดนิ รว่ นปนทราย 0.12-0.25 เปอรเ์ ซ็นต์
3.1 ลักษณะดนิ

3.2 ความลึกของหนา้ ดิน 6 – 8 น้ิว
3.3 ความเปน็ กรดเป็นดา่ ง(pH) 5.5 - 6.8

3.4 อุณหภมู ดิ ิน 20 - 30 C
3.5 �ค��า่ �ก�า�ร�น�ำ�� �ไ�ฟ�ฟ�้า�� �(E�C��) 2 - 4 เดซิซเี มน / เมตร

3.6 ปริมาณอินทรียวตั ถุ 2-4%

ข้อมูลสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตและให้ผลผลิตของถั่วฝักยาว (ต่อ)

รายการ ความเหมาะสม ข้อจำ�กดั / รายละเอียดเพมิ่ เตมิ
3.7 ปริมาณธาตุอาหารในดนิ ต้องการธาตฟุ อสฟอรสั สงู ในการ - หากถ่วั ฝักยาวไดร้ บั ธาตอุ าหารหลกั ไม่เพยี งพอ จะมีผลกระทบต่อ
ธาตุอาหารหลัก สร้างดอก การเจริญเติบโตมาก
N:P:K / 1 : 1.5-2 : 1

4. สภาพน้ำ� 500 - 1,500 ลกู บาศเ์ มตรตอ่ รอบ - �แ��ห�ล��่ง�น�ำ้�� �ส��ะ�อ�า�ด�ป��รา�ศ�จ�า�ก�ส��าร�อ�นิ���ท�ร�ีย�์�แ�ล��ะ�ส�า�ร�อ�น�นิ���ท��ร�ีย��์������ท���มี่ ��พี �ิษ�� ���
4.1 �ป��รมิ���า�ณ�น�ำ้����ท�่ตี��้อ�ง��ก�า�ร� การผลิต ไมเ่ ป็นแหลง่ ที่มนี ำ้ �ทว่ มขัง �ห��า่ �ง�ไ�ก�ล�จ�า�ก��แ�ห�ล�ง่ �ม�ล�พ�ิษ����

61

แนวทางการเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลติ และแหลง่ สืบคน้ ข้อมลู เพมิ่ เตมิ

แนวทางการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลติ ถ่วั ฝกั ยาว
1. ใช้พนั ธ์ทุ เี่ หมาะสมกับสภาพพืน้ ท่ี ภูมิกาศ และวัตถุประสงค์ของการนำ�ไปใช้ เมลด็ พันธุข์ อง
ถ่ัวฝกั ยาวเกษตรกรสามารถคดั เลอื กไวใ้ ช้เองได้ โดยคัดเลอื กจากต้นทสี่ มบูรณ์แขง็ แรงและใหผ้ ลผลติ ดี
ทงั้ ปรมิ าณและคณุ ภาพปกติการปลูกถัว่ ฝกั ยาวในเนื้อที่ 1 ไร่ ต้องใช้เมล็ดพนั ธ์ุ 3 - 4 กิโลกรัม และก่อน
นำ�เมล็ดพันธไ์ุ ปปลกู ควรนำ�เมลด็ พันธไุ์ ปทดสอบความงอก คัดเลือกเมลด็ ท่มี ตี ำ�หนอิ อก และควรคลกุ
เมลด็ พนั ธ์ดุ ้วยสารปอ้ งกันกำ�จดั แมลง เพ่ือปอ้ งกนั แมลงเข้าทำ�ลายดว้ ย
2. การปกั ค้าง ถ่ัวฝกั ยาวเปน็ พืชทีต่ ้องอาศยั คา้ ง หรือนัง่ รา้ น เพื่อเกาะพยุงลำ�ต้นให้เจรญิ
เตบิ โต ไมท้ ีใ่ ช้สำ�หรบั ทำ�ไมค้ า้ งนน้ั ใชไ้ ม้ไผ่ หรือไม้อ่นื ๆ ท่ีหาได้งา่ ยในทอ้ งถนิ่ โดยความยาวของไม้
มีความยาวประมาณ 2.5 - 3 เมตร หรือตามความเหมาะสม หรืออาจจะสรา้ งโครงเสาแล้วใช้ลวดขึง
ด้านบน และใช้เชอื กห้อยลงมายังลำ�ตน้ ถัว่ ฝกั ยาวให้เลอ้ื ยขึน้ ระยะเวลาการใส่คา้ งถัว่ ฝกั ยาวนัน้ จะเร่มิ
ใส่หลงั จากงอกแลว้ 15 - 20 วนั โดยจับตน้ ถวั่ ฝักยาวใหพ้ ันเล้อื ยขึน้ ค้างในลักษณะทวนเข็มนาฬิกา
ผปู้ ลกู ควรใชเ้ ชอื กแทนคา้ ง การปลกู ถว่ั ฝกั ยาวควรมกี ารทดสอบการใชเ้ ชอื กแทนคา้ งเพอ่ื หาขอ้ มลู สำ�หรบั
การลดตน้ ทุนการผลิต
3. การตัดแต่งฝกั ทีอ่ ยู่ระดบั ลา่ งออกบา้ ง เพ่ือมิให้ต้นถัว่ ฝกั ยาวโทรมก่อนถึงอายกุ ารเกบ็ เกี่ยว
จริงๆ และทำ�ใหฝ้ ักทีอ่ ยสู่ ว่ นยอดเต่ง ไม่ลบี กรณีปลูกฤดูฝน เป็นการป้องกนั ไมใ่ ห้ฝักนอนอยบู่ นผิวดนิ
จะทำ�ใหเ้ กดิ โรคระบาดได้ง่าย และเมลด็ ทแ่ี ก่จะงอก ทำ�ให้ผลผลติ ลดลง
แหล่งสืบคน้ ขอ้ มลู เพ่มิ เติม
กรมวิชาการเกษตร. 2549. พชื GAP. กรุงเทพฯ. แหล่งทมี่ า : www.doa.go.th/gap/
gap_yarb-long.
กรมส่งเสรมิ การเกษตร. ถ่วั ฝกั ยาว. กรุงเทพฯ. แหลง่ ทม่ี า : www.doae.go.th
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2546. ผักปลอดภยั จากสารพษิ . กรุงทพฯ : กรมส่งเสริมการเกษตร.
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2546. ผักพ้นื บ้าน. กรุงทพฯ : กองเกษตรสัมพันธ.์ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร.
กรมสง่ เสริมการเกษตร. 2545. การผลิตเมล็ดพนั ธผ์ุ ัก. กรงุ เทพฯ : กรมส่งเสริมการเกษตร.
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2528. ค่มู อื ผ้ปู ลกู ผักอาชพี . กรุงเทพฯ : กรมสง่ เสรมิ การเกษตร.
กลมุ่ งานวิจยั และแมลงศตั รผู กั ไมด้ อกไมป้ ระดบั กองกฏี และสตั ววทิ ยา. 2542. แมลงศตั รผู กั . กรงุ ทพฯ :
จิราภา จอมไธสง และอรสา ดสิ ถาพร. 2542. ผักสวนครัว. กรงุ ทพฯ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร.
จิราภา จอมไธสง และธงชัย สถาพรวรศักดิ์. 2545. ผกั พนื้ บ้าน. กรงุ ทพฯ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร.
เฉลิมเกยี รติ โภคาวัฒนาและภสั รา ชวประดษิ ฐ์. 2538. การปลกู ถว่ั ฝักยาว. กรุงเทพฯ : กรมสง่ เสริม
การเกษตร.
ธงชยั สถาพรวรศกั ดิ.์ 2545. ผักปลอดภยั จากสารพษิ . กรงุ ทพฯ : กรมสง่ เสริมการเกษตร.
ธงชยั สถาพรวรศกั ด์ิ และจิราภา จอมไธสง. 2543. ผักปลอดภัยจากสารพิษ. กรงุ ทพฯ : กรมสง่
เสริม การเกษตร.
มลู นิธิการแพทยแ์ ผนไทยพัฒนา. 2548. ต�ำ ราแพทยแ์ ผนไทย. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทสามเจรญิ
พาณิชย์ (กรุงเทพ) จำ�กัด.
เมืองทอง ทวนทวี และสรุ รี ัตน์ ปัญญาโตนะ ทวนทวี. 2532. หลักการปลกู ผัก (พมิ พค์ ร้งั ที่ 2
กรุงเทพฯ : โรงพิมพท์ ่ังอ่ัวซิน.
สุนทร เรอื งเกษม. 2539. คู่มอื การปลูกผกั . กรุงเทพฯ.
อรสา ดิสถาพร และจิราภา จอมไธสง. 2545. ผกั สวนครวั . กรงุ ทพฯ : กรมสง่ เสรมิ การเกษตร.
อรสา ดิสถาพร. 2545. การผลติ เมล็ดพนั ธผุ์ ัก. กรุงทพฯ : กรมส่งเสริมการเกษตร.
อรสา ดสิ ถาพร. 2545. ผักสวนครัว. กรุงทพฯ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร.

62

ผักชี ขั้นตอนการปลกู และการดูแลรกั ษาผกั ชี

การเตรยี มการ 10 วัน 20 วัน 30 วัน 40 วัน 50 วนั

การเตรียมดนิ การปลกู การใสป่ ยุ๋ การเกบ็ เกี่ยว
- ไถพลกิ ดนิ ลึก 15-20 ซม. - รดนำ้ �ให้ทว่ั แปลงกอ่ นปลกู - อายุ 7-10 วัน ใสป่ ยุ๋ 21-0-0 ประมาณ 15- - อายุ 30 - 45 วัน เริ่มเกบ็ เกยี่ ว
- ตากดนิ 5-7 วนั - หวา่ นเมล็ดบนแปลงปลกู 30 กรัม ผสมน้ำ� 20 ลิตร - รดน้ำ�บนแปลงใหด้ ินชมุ่ กอ่ นเก็บเกี่ยว
- ใส่ป๋ยุ คอกหรอื ป๋ยุ หมัก - กลบด้วยดินละเอียดบางๆ - อายุ 15-20 วันหลงั ปลกู ใส่ปุ๋ย 27-0-0
- คลุมดว้ ยฟาง รดนำ้ �ใหช้ ุม่ อตั รา 15-20 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
2-3 ตนั ตอ่ ไร่ คลกุ เคลา้ ใหก้ นั - หลังจากหวา่ น 7-10 วนั ถอนแยก ให้เหลอื - อายุ 30 วันหลงั ปลกู ใสป่ ุย๋ 15-15-15 อัตรา
ระยะปลูกระหว่างตน้ 10 ซม. 15-20 กิโลกรัมต่อไร การให้น�ำ้
การเตรียมพันธุ์ - ใหว้ นั ละ 2 ครัง้ เชา้ และเย็น
- บดเมล็ดผกั ชใี หแ้ ตกเปน็ - ระวงั อย่าให้ขงั แฉะ
สองซีก ศัตรทู ่สี �ำ คญั และการปอ้ งกันก�ำ จัด
- นำ�ไปแชน่ ้ำ� 2-3 ชั่วโมง 1. โรคเน่าทีใ่ บและโคนต้น ระบาดในฤดูฝน ป้องกนั โดยยกรอ่ ง
- ผึง่ ลมใหแ้ หง้ ใหส้ ูง เพื่อระบายนำ้ � หากจำ�เปน็ ต้องใชส้ ารเคมี ให้ใชต้ ามคำ�แนะนำ� การปฏบิ ตั หิ ลงั การเก็บเกี่ยว
- เคล้ากับทราย หรือข้ีเถา้ 2. เพล้ยี ชนดิ ตา่ งๆ ปอ้ งกันโดย ใชก้ ับดกั กาวเหนียวสีเหลือง เม่อื ถอนเสร็จแล้วนำ�ไปล้างดินออก ตกแตง่ ใบโดยเด็ดใบเหลอื ง
- เม่ือเมล็ดงอกนำ�ไปปลูก ใบเสียทิง้ นำ�ไปผ่งึ ลมแลว้ บรรจเุ ข่ง
หรือน้ำ�หมักชวี ภาพ

เทคนคิ การปลกู และดูแลรกั ษาผกั ชี

1. การเตรยี มการกอ่ นปลกู
1.1 การเตรียมพันธ์ุ
นำ�เมล็ดผักชีไทยมาบด
ให้แตกเปน็ สองซีก แลว้ แชน่ ้ำ� 2 - 3
ชัว่ โมง ผงึ่ ลมใหแ้ ห้ง แล้วคลกุ เคล้า
กบั ทรายหรือขเ้ี ถ้า เม่อื เมลด็ งอกจงึ
นำ�ไปปลูก
1.2 การเตรียมแปลงปลูก
ไถพลิกดินลึกประมาณ
15 - 20 เซนตเิ มตร ตากดินไว้
5 - 7 วัน ไถพรวนดนิ ใหแ้ ตกเปน็ ก้อนเล็ก ใสป่ ุ๋ยคอกหรือปุย๋ หมกั ประมาณ 2 - 3 ตันตอ่ ไร่
คลุกเคลา้ ให้เขา้ กนั แปลงปลูกอาจทำ�ไดท้ ้ังแบบยกร่องจนี ทมี่ คี ูนำ้ �ลอ้ มรอบ แบบยกร่อง
ธรรมดา หรือปลูกในแปลงท่ีเป็นทอ้ งนา
2. การปลกู
ก่อนปลกู ตอ้ งรดน้ำ�ให้ทั่วแปลง นำ�เมล็ดทเี่ ตรยี มไว้มาหวา่ นลงบนแปลงปลูก
หรือโรยเปน็ แถวบนแปลง แตล่ ะแถวหา่ งกนั 20 - 30 เซนติเมตร กลบดว้ ยดนิ ละเอียด
บางๆ แล้วคลุมดว้ ยฟาง รดนำ้ �ให้ชุ่ม
เมือ่ อายุ 7 - 10 วัน หลงั หวา่ น ถอนแยกตน้ กลา้ ใหเ้ หลือระยะหา่ งระหวา่ งตน้
ประมาณ 10 เซนตเิ มตร
3. การดูแลรกั ษา
3.1 การใหน้ �้ำ ผ�กั��ช�เี�ป��น็�� �พ�ืช�ท��่ีต��อ้ �ง��ก�า��ร�น�้ำ����ม�า�ก��แ��ต�่ไ�ม�่ช�อ��บ�น�ำ้�� ��ข�ัง��ค��ว�ร�ใ�ห��้น�ำ้�� ��ว�ัน�ล��ะ�
2 ครั้ง เชา้ และเย็น
3.2 การใสป่ ๋ยุ

ครงั้ ท่ี 1 เมอื่ อายุ 7-10 วัน ผักชีจะแตกใบ แล้วรดโคนต้นด้วยปุ๋ยสูตร
21 - 0 - 0 ประมาณ 15 - 30 กรัม ผสมนำ้ � 20 ลิตร

ครั้งที่ 2 เมอ่ื อายปุ ระมาณ 15 - 20 วนั หลังหว่าน ใสป่ ยุ๋ สูตร 27 - 0 - 0 อตั รา
15 - 20 กิโลกรมั ต่อไร่

ครงั้ ท่ี 3 เมื่อผักชอี ายปุ ระมาณ 30 วันหลงั หว่าน ใสป่ ุย๋ สูตร 15 - 15 - 15
อตั รา 15 - 20 กิโลกรัมต่อไร่

64

4. การปอ้ งกันก�ำ จดั ศัตรูพืช
1) โรคเนา่ ทใ่ี บและโคนตน้ ระบาดในฤดฝู น ปอ้ งกนั โดย ยกรอ่ งใหส้ งู เพอ่ื ระบายนำ้ �
หากจำ�เปน็ ตอ้ งใช้สารเคมี ใหใ้ ชต้ ามคำ�แนะนำ�
2) เพลย้ี ชนดิ ตา่ งๆ ปอ้ งกนั โดยใชก้ บั ดกั กาวเหนยี วสเี หลอื ง หรอื นำ้ �หมกั ชวี ภาพ
5. การเก็บเกี่ยว
เมอื่ อายุ 30 - 45 วนั เรม่ิ เกบ็ เกย่ี ว กอ่ นเกบ็ เกยี่ วควรรดน้ำ�บนแปลงให้ชุม่
เพ่ือสะดวกในการถอน เนื่องจากการเกบ็ เกยี่ วผักชี จะทำ�โดยการถอนด้วยมือ ให้ผลผลิต
ติดท้งั ต้นและราก
6. การปฏิบตั หิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว
นำ�ผลผลิตไปลา้ งในส่วนของรากและโคนเพื่อเอาดินออก ตกแต่งใบโดยเด็ด
ใบเหลอื ง ใบเสียท้ิง นำ�ไปผ่ึงลมแลว้ บรรจุเขง่

65

66

ข้อมลู สภาพ

สภาพแวดลอ้ ม ความเหมาะสม ข้อจำ�กัด / รายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ
1 สภาพภูมิอากาศ 25 - 35 องศาเซลเซียส - ดินทีน่ ้ำ�ทว่ มขงั ทำ�ให้รากเน่า
- อณุ หภมู ิ เหมาะสำ�หรับการเจริญเติบโต
2. สภาพพนื้ ท่ี ไม่เกิน 800 เมตร
- ความสูงจากระดับนำ้ �ทะเล

3. สภาพดนิ ดินร่วนปนทราย ระบายนำ้ �ดี
- ลกั ษณะของเน้อื ดิน 6.5 - 7
- ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

แนวทางการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลติ และแหลง่ สืบค้นขอ้ มูลเพม่ิ เติม

แนวทางการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิต
1. การจดั ระยะปลูกทเี่ หมาะสม ควรถอนแยกต้นผักชีให้แตล่ ะตน้ มีระยะหา่ ง
ประมาณ 10 เซนตเิ มตร จะชว่ ยลดความเสยี หายจากโรคโคนกลา้ เน่าลงได้
2. การปลกู ผักชีในโรงเรือนช่วงฤดูฝน สามารถป้องกนั การเกดิ โรคเนา่ และขาย
ได้ราคาดี
3. การปลกู ผกั ชภี ายใตส้ ภาพโรงเรือนตาข่ายไนลอ่ นสีขาว ทำ�ใหผ้ ักชเี จริญ
เตบิ โตไดด้ กี วา่ การปลูกผักชีในสภาพปกติ
แหล่งสืบคน้ ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ
เมฆ จันทนป์ ระยรู . 2541. ผกั สวนครัว. โรงพมิ พ์ไททรรศน์. กรุงเทพฯ
ปดารณี ทองใบ. 2544. อทิ ธพิ ลของโรงเรอื นตาขา่ ยตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและคณุ ภาพของ
พชื ผักกนิ ใบ. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโท. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
http://www.doae.go.th/library/html/detail/pukchee/index.htm 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2556
http://www.gov.mb.ca/agriculture/crops/specialcrops/bie01s01.html 12 กุมภาพนั ธ์
2556
http://myveget.coml 12 กุมภาพันธ์ 2556
http://www.pk-siam.com/website/mart/vegets/pakcheethai/pakcheethai_arg.html
12 กมุ ภาพันธ์ 2556
http://sikkimagrisnet.org/General/en/coriander_Climatic_Requirement.aspx
12 กุมภาพนั ธ์ 2556
http://www.thaikasetsart.com/ 12 กุมภาพันธ์ 2556

67

พริก ข้นั ตอนการปลูกและการดแู ลรักษาพริก

การเตรยี มการ 20 วนั 40 วนั 60 วนั 80 วนั 100 วนั 120 วัน

การเตรยี มดนิ การเตรยี มพนั ธุ์ การปลูก การใส่ปุย๋ การเกบ็ เก่ียว
ส�ำ หรบั เพาะในกระบะ - แช่เมล็ดในน้ำ� 1 คืน - กลา้ อายุ 15 วันยา้ ยกล้าจากกระบะ - หลงั ยา้ ยปลูก 30 วัน - อายุ 100 – 130 วัน เร่ิมเกบ็
และถาดเพาะ ใชด้ นิ - ลา้ งผา่ นน้ำ�ไหลนาน ลงถุงด�ำ ใสป่ ๋ยุ 15-15-15 อตั รา ผลผลติ ได้ทกุ 7-10 วัน นาน 1 ปี
รว่ น:ปุ๋ยคอก:ทรายหรอื 30 นาที - กลา้ อายุ 30-40 วัน ยา้ ยลงแปลงปลูก 50 กก.ต่อไร่
แกลบ อตั รา 3:1:1 - บ่มเมล็ดด้วยผา้ 2-3 - หลงั ยา้ ยปลูก 60 วนั การปฎบิ ตั หิ ลงั การเกบ็ เกย่ี ว
ส�ำ หรบั เพาะในแปลงเพาะ วนั การใหน้ �ำ้ ใส่ปยุ๋ 13-13-21 อตั รา - รีบน�ำ ผลผลติ เข้าทร่ี ่ม
- แปลงกว้าง 1 เมตร - น�ำ ไปเพาะ - ช่วงแรกให้ เชา้ และเย็น 50 กก.ตอ่ ไร่ - กองผลผลติ ไว้บนกระสอบหรือ
- ขุดดนิ ลกึ 15 ซม. - กลา้ แข็งแรงแลว้ ใหท้ กุ 2-3วนั - หลังเกบ็ เกย่ี ว ใหป้ ุย๋ น�ำ้ พลาสตกิ ในท่ีร่ม อากาศถา่ ยเทดี
- ใสป่ นู ขาว 125 กรมั / การเพาะกล้า - กลา้ ตัง้ ตวั แล้ว ใหท้ กุ 3-5 วนั โดยฉดี พ่นทางใบ เกลย่ี หน้าให้เสมอกนั
ตรม. - ในกระบะ โรยเมลด็
- ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา เปน็ แถว ห่างแถวละ ศัตรพู ืชทีส่ ำ�คัญ
80 -100 กรมั /ตรม. 5 - 7 ซม. 1. โรคกงุ้ แหง้ หรือแอนแทรคโนส เกิดจากเชอื้ รา ระบาดมากในทีม่ ีอากาศชนื้ หรอื มีฝนตกชกุ ป้องกันโดย ไมค่ วร
สำ�หรบั แปลงปลกู - ในถาดเพาะ หยอด ปลกู พริกแนน่ เกินไป รักษาความสะอาดในแปลง และใช้พนั ธุ์ตา้ นทาน 2. โรคเหี่ยวเหลือง เกดิ จากเชอ้ื รา ระบาดใน
- ขดุ /ไถดินลึก 50 ซม. เมล็ดหลมุ ละ 1 เมลด็ ที่มีอณุ หภมู สิ ูงและดนิ ท่มี คี วามชื้นสงู ป้องกันโดย ปรับปรงุ ดินให้มีความเปน็ กรดเป็นด่าง 6-6.8 ปลูกพืชหมุนเวียน
- ใส่ปนู ขาว 200 กก./ไร่ - ในแปลงเพาะ หว่าน อืน่ ๆ ท่ไี ม่เปน็ โรคน้ี
- ตากดนิ 7 วนั เมล็ดกระจายทว่ั แปลง 3. โรคเห่ยี วเขียว เกิดจากเชอื้ แบคทีเรยี ปอ้ งกันโดย ถอนต้นพรกิ ที่มอี าการ เผาท�ำ ลาย ป้องกันไมใ่ ห้มีบาดแผล
- ใส่ปยุ๋ อินทรีย์ 4-5ตนั /ไร่ รดน้�ำ ใหช้ มุ่ คลุมดว้ ย บริเวณโคนต้นและราก 4. โรคใบจดุ เกิดจากเชื้อรา ปอ้ งกนั โดย ฉีดยาปอ้ งกันก�ำ จดั เชื้อรา 5. โรคใบหงกิ หรือโรค
- ปุย๋ 15-15-15 อัตรา ฟาง ใบดา่ ง เกิดจากเชื้อไวรสั ระบาดได้ตลอดฤดปู ลูก ปอ้ งกนั โดย ถอนและเผาทงิ้ 6. เพลยี้ ไฟพรกิ ระบาดมากในฤดู
25 กก./ไร่ แลง้ ป้องกันโดย เพิ่มความชื้น หากระบาดมาก เลอื กใช้สารเคมต�ี า�ม��ค��ำ แ��น�ะ�น�ำ��7��.�เพลยี้ อ่อน ระบาดทั่วไปโดย
- ระยะปลกู 50X50 หรอื เฉพาะบริเวณทีป่ ลกู อยู่ใกลก้ บั ฝา้ ยและพืชไรอ่ นื่ ๆ และในสวนพรกิ ท่มี อี ณุ หภูมสิ งู ไม่มีฝนตกหนัก ป้องกันโดย
50X80 ซม. ใชส้ ารเคมต�ี า�ม��ค��ำ แ��น�ะ�น�ำ��8��.�ไรขาวพริก ระบาดทั่วไป โดยเฉพาะในแหล่งที่ปลูกพริกอยู่เสมอๆ ส่วนพรกิ ในไรจ่ ะ
ระบาดในชว่ งท่มี ฝี นตกพร�ำ ๆ ตดิ ตอ่ กนั อย่างน้อย 7-10 วนั และในแปลงทปี่ ลกู ตน้ ฤดฝู น ป้องกนั โดยเลือกใชส้ าร
เคมตี าม

เทคนคิ การปลูกและดแู ลรักษาพรกิ

1. การเตรยี มการก่อนปลูก
1.1 การเตรียมพนั ธุ์ แช่เมลด็ พันธใ์ุ น
นำ้�สะอาด��เ�ล��อื �ก��เ�ม�ล��ด็ �ท��่จี �ม��น�ำ้�ม�า�แ��ช��น่��ำ�้ ��1����ค�นื�
แลว้ น��ำ�ไ�ป��ล�า้�ง��ผ�า่�น��น��ำ�้ ไ�ห��ล�อ�ย�่า�ง�น�้อ�ย���3�0��น�า�ท��ี�
บ่มเมล็ดดว้ ยผ้าไว้ในรม่ 2 - 3 วัน จนมตี ุ่มราก
น�ำ ไปเพาะในแปลงหรือกระบะเพาะ
1.2 การเพาะกล้า ทีน่ ยิ มมี 3 วิธี คอื
1) เพาะในกระบะเพาะ เลอื ก
กระบะท่มี ีขนาดประมาณ 45 x 60 เซนติเมตร
ลกึ ไมเ่ กนิ 10 เซนตเิ มตร มีรรู ะบายนำ้� ใสด่ ินท่ี
รอ่ นแลว้ 3 สว่ น ปยุ๋ คอก 1 สว่ น ทรายหรือแกลบ 1 ส่วน คลุกเคลา้ ให้เขา้ กนั ปรบั ผวิ หน้า
ดินให้เรียบ โรยเมล็ดเปน็ แถว ระยะห่างระหว่างแถว 5 - 7 เซนตเิ มตร รดน�ำ้ ให้ช่มุ
2) ��เพ��า�ะใ�น�ถ��า�ด�เพ��า�ะ��โด��ย�ท��วั่ �ไ�ป��น�ิย�ม��ใ�ช�้ถ��า�ด�ห�ล�มุ �ข�น��า�ด���1�0�4��ห�ล��ุม��น�ำ�ด��นิ���ท��่ใี �ช�้
เพาะกล้าใส่ในถาดเพาะให้เต็ม เพาะหลุมละ 1 เมล็ด
3) เพาะในแปลงเพาะ ใชด้ นิ ร่วนซยุ ระบายน�ำ้ ด�ี �แ�ป�ล�ง�เพ��า�ะ�ก�ว��า้ �งป��ระ�ม��า�ณ���
1 เมตร ยาวตามความเหมาะสม ขดุ หรอื ไถดนิ ลกึ ประมาณ 15 เซนตเิ มตร ยอ่ ยดนิ ใหล้ ะเอยี ด
ใสป่ นู ขาวประมาณ 125 กรมั ตอ่ ตารางเมตร ใสป่ ยุ๋ สตู ร 15 - 15 - 15 อตั รา 80 - 100 กรมั ตอ่
ตารางเมตร คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั เกลย่ี หนา้ ดนิ ใหเ้ รยี บ หวา่ นเมลด็ กระจายทว่ั แปลง กลบดว้ ย
ดนิ ผสมละเอยี ด ปยุ๋ คอก หรอื ปยุ๋ หมกั ทส่ี ลายตวั ดแี ลว้ คลมุ ดว้ ยฟางรดน�ำ้ ใหช้ มุ่
1.3 การเตรียมแปลงปลูก ขุดหรอื ไถดิน
ลึก 50 เซนติเมตร ใส่ปูนขาว 200 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่
รดน�้ำ ตากดนิ 7 วนั และใส่ปุย๋ อนิ ทรีย์ 4 - 5 ตนั ตอ่
ไร่ และปุย๋ เคมสี ูตร 15 - 15 - 15 อตั รา 25 กิโลกรัม
ต่อไร่ คลุกให้เขา้ กัน ยอ่ ยดินให้ละเอยี ด ในสภาพ
ดนิ เหนยี วควรเตรยี มแปลงกวา้ ง 4 - 6 เมตร ความยาว
ขึน้ กับพ้ืนท่ี รอ่ งน้�ำ กว้าง 1 เมตร ลกึ 0.5 - 1.0 เมตร
สว่ นในเขตชลประทาน ยกแปลงขนาด 80 เซนตเิ มตร
รอ่ งน้ำ�กว้าง 25 เซนติเมตร ยกแปลงสงู ประมาณ
15 เซนตเิ มตร ยาวประมาณ 20 เมตร โดยทวั่ ไปใช้
ระยะปลูก 50 X 50 หรอื 50 X 80 เซนติเมตร
2. การย้ายกลา้ และการปลกู

2.1 ต้นกล้าในกระบะเพาะ อายุ 15 วนั
หรือมใี บจริง 2 ใบ ยา้ ยกลา้ ลงถุงพลาสตกิ ด�ำ ขนาด 4 �x��6��น��ว้ิ ��จ�น��ก�ล��า้ �ส�งู �ป�ร�ะ�ม��า�ณ��3�0�
เซนตเิ มตร หรอื มอี ายุ 30 - 40 วนั จงึ ยา้ ยกลา้ ลงแปลงปลกู

69

2.2 ต้นกล้าในถาดเพาะ และแปลงเพาะอายุ 30 - 40 วนั หรือสูงประมาณ
10 - 15 เซนตเิ มตร มใี บจริงประมาณ 5 ใบ ย��า้�ย��ก�ล�า้�ล��ง�แ�ป�ล��ง�ป�ล�กู ��ค��ว��ร��ง��ด��น�้ำ�ก��อ่ �น��ย�้า�ย�
ปลูก 2 - 3 วนั กอ่ นถอนกล้า 1 ชัว่ โมง ควรรดน�้ำ ในถาดและแปลงเพาะกล้าให้ชมุ่ ก่อน
เมอ่ื ย้ายปลกู เสร็จแลว้ รดนำ้�ตามทนั ที

2.3 พริกท่เี พาะในกระบะหรือถาดเพาะ มักวางในโรงเรือน แต่ทเ่ี พาะในแปลง
ควรทำ�ร่มให้ เพือ่ ป้องกนั แสงแดดจดั ลม และฝน ในขณะทตี่ ้นกลา้ ยงั เลก็ แต่ควรเปิดให้
ตน้ กลา้ ไดร้ บั แสงแดดบา้ ง
3. การดแู ลรักษา

3.1 การใหน้ �้ำ ช่วงแรกๆ หลังเพาะกล้า ควรให้นำ�้ เชา้ และเยน็ เมอ่ื ต้นกลา้ เริม่
เจรญิ แลว้ ให้น้ำ�วันละครัง้ หรอื ทุก 2 - 3 วนั และเม่ือต้นกลา้ มีใบจรงิ 2 - 3 ใบ ให้เอาฟาง
ท่ีคลุมแปลงออก �เ�ม��่ือ��ย��า้ �ย�ก�ล��้า�พ�ร�ิก�ล��ง�แ�ป��ล�ง�ป�ล��ูก��ค�ว��ร�ใ�ห�้น��้ำ �ท�ัน��ท��ี �แ�ล��ะ�เ�ม��่อื �ต��น้ ��พ�ร��ิก�ต��ง้ั �ต��ัว�ไ�ด�้
แล้วควรใหน้ ำ้�ทกุ 3 - 5 วนั ท้งั นขี้ ้นึ กับความชืน้ ในดนิ ด้วย

3.2 การใสป่ ุย๋
คร้งั ที่ 1 หลังยา้ ยปลูก 30 วัน ใสป่ ยุ๋ 15 - 15 - 15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่

หากตน้ กลา้ ไม่แขง็ แรงควรใหป้ ุ๋ยไนโตรเจน เช่น ยูเรยี อัตรา 10 - 20 กิโลกรมั ตอ่ ไร่
ครง้ั ที่ 2 หลงั ย้ายปลกู 60 วนั ใส่ปุ๋ย 13 - 13 - 21 อัตรา 50 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่
นอกจากน้ี ควรฉดี ปุ๋ยนำ้�ใหท้ างใบ ทกุ ครง้ั หลังจากเก็บเกย่ี ว

4. ศัตรูพชื ทีส่ ำ�คญั
4.1 โรคกงุ้ แหง้ หรอื แอนแทรคโนส เกดิ จากเชอ้ื รา ระบาดมากในสภาพทม่ี อี ากาศชน้ื

หรือมีฝนตกชุก ปอ้ งกันโดยไม่ปลูกพริก
แนน่ เกนิ ไป รกั ษาความสะอาดในแปลงปลกู
และใชพ้ นั ธุ์ต้านทาน
4.2 โรคเหย่ี วเหลอื ง เกดิ จากเชอ้ื รา
ระบาดในสภาพอากาศท่ีมีอุณหภูมิสูงและ
ดินท่ีมีความช้นื สงู โดยติดไปกบั ดิน น้ำ�
เครอื่ งมือทางการเกษตร หรอื ต้นกล้า
ป้องกนั โดย ปรบั ปรุงดินใหม้ คี า่ ความ
เป็นกรดเปน็ ดา่ งระหวา่ ง 6 - 6.8 ปลกู พชื
หมุนเวียนอืน่ ๆ ทไ่ี ม่เปน็ โรคนี้และพืชตระกลู ถว่ั อ่ืนๆ

4.3 โรคเห่ียวเขียว เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย ปอ้ งกนั ก�ำ จัดโดย ถอนต้นพริกทมี่ ี
อาการเห่ยี ว เผาทำ�ลาย ปอ้ งกนั ไม่ให้ตน้ พริกมีบาดแผลบรเิ วณโคนตน้ และราก

4.4 โรคใบจุด เกดิ จากเชอื้ รา ปอ้ งกนั กำ�จัดโดย ฉดี ยาป้องกนั ก�ำ จัดเช้อื รา

70

4.5 โรคใบหงกิ หรือโรคใบดา่ ง เกดิ จากเชอื้
ไวรสั ระบาดได้ตลอดฤดปู ลกู ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยถอน
และเผาท�ำ ลาย ถา้ พืชแสดงอาการแลว้ ไมม่ วี ธิ กี ารรักษา

4.6 เพล้ียไฟพรกิ ระบาดมากในฤดูแลง้
ปอ้ งกนั โดย เพ่มิ ความชืน้ ด้วยการให้น้�ำ อยา่ ปล่อยให้
พริกขาดนำ�้ หากระบาดมาก สามารถเลือกใช้สารเคมี
ป้องกันกำ�จัดต�า�ม��ค�ำ�แ��น�ะ�น�ำ�

4.7 เพลี้ยอ่อน ระบาดทั่วไปโดยเฉพาะแหล่ง
ปลกู พรกิ ทอ่ี ยใู่ กล้กบั ฝา้ ยและพืชไร่อนื่ ๆ ท่เี ปน็ พืช
อาศัย และในสวนพรกิ ท่ีมีอุณหภมู สิ งู ไม่มฝี นตกหนัก
ปอ้ งกันโดย เลอื กใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั ต�า�ม��ค�ำ�
แนะนำ�

4.8 ไรขาวพริก ระบาดท่วั ไป โดยเฉพาะในแหลง่ ที่ปลกู พรกิ อยเู่ สมอๆ ส่วน
พรกิ ในไร่มักระบาดในช่วงที่มคี วามชื้นหรอื มฝี นตกพรำ�ๆ ตดิ ต่อกนั อยา่ งนอ้ ย 7 - 10 วัน
และในแปลงพริกที่ปลกู ในต้นฤดฝู น ปอ้ งกันโดย เลอื กใชส้ ารเคมีป้องกนั ก�ำ จัดต�า�ม��ค�ำ�
แนะนำ�
5. การเกบ็ เกย่ี ว

5.1 หลงั ยา้ ยปลูก 70 - 95 วัน จะเรม่ิ เกบ็ ผลผลิต ระยะแรกผลผลิตจะไดน้ ้อย
และจะค่อย ๆ เพิม่ มากขนึ้ สามารถเกบ็ เกีย่ วได้ทุก 7-10 วัน ถา้ บ�ำ รุงรกั ษาดี และใหน้ �ำ้
เพียงพอ จะสามารถเก็บผลผลิตได้ 1 ปี

5.2 การเกบ็ พรกิ ควรเก็บพริกสดทแ่ี ก่จัด สังเกตจากสผี ิวเขียวสด เป็นมันไมค่ ลำ้�
สมำ�่ เสมอกัน
6. การปฏบิ ัติหลงั การเก็บเกี่ยว

6.1 การเกบ็ รักษาผลผลิต รบี ขนยา้ ยผลผลติ เขา้ ทร่ี ม่ หรอื โรงเรือนจดุ รวบรวม
นำ�ผลผลิตมากองไว้บนกระสอบหรือพลาสตกิ ในทร่ี ม่ ทอี่ ากาศถ่ายเทไดด้ ี เกลย่ี หน้าให้
เสมอกนั แล้วรีบดำ�เนินการ ดงั นี้
1) คดั เลือกส่วนท่ไี ด้คุณภาพตามความตอ้ งการของตลาด
2) เลอื กบรรจุภัณฑ์ทมี่ กี ารระบายอากาศได้ดี นิยมใช้ถุงพลาสตกิ ทเ่ี จาะรู
ถงุ ละ 10 กโิ ลกรัม
3) เกบ็ รกั ษา ในทอ่ี ุณหภมู ิ 5 - 10 ๐C ความชืน้ สัมพทั ธ์ 85 - 95 เปอร์เซ็นต์
4) การขนส่ง หากไม่มรี ถหอ้ งเย็นให้ขนยา้ ยเวลากลางคนื แต่ถา้ ตอ้ งขนยา้ ย
เวลากลางวนั ควรใช้ผา้ ใบคลมุ และให้มที วี่ า่ งด้านบนเพอ่ื ใหอ้ ากาศหมนุ เวยี น

71

72 ขอ้ มูลสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมตอ่ การเจริญเตบิ โตและใหผ้ ลผลติ ของพริก

สภาพแวดล้อม ความเหมาะสม ข้อจำ�กดั / รายละเอียดเพมิ่ เตมิ
1 สภาพภมู ิอากาศ - อณุ หภูมิท่เี หมาะสมส�ำ หรับการตดิ ผลของพรกิ 25-35 ถา้ อุณหภูมิสงู กวา่ 35 องศาเซลเซยี ส อาจจะทำ�ให้พรกิ เผด็ ดอกรว่ ง
- อณุ หภมู ิ องศาเซลเซียส และมีอัตราการติดผลตำ่�
- อุณหภูมดิ ินส�ำ หรบั การงอกของเมล็ดอยรู่ ะหวา่ ง 25-30
- ส�ำ หรบั การตดิ ผล
- ส�ำ หรับการงอก องศาเซลเซยี ส
- ความเขม้ ของแสง 0.08-5 ลักซ์
- ปรมิ าณคาร์บอนไดออกไซด์ 800 ppm

2. สภาพพน้ื ที่ - พริกท่ัวไป พ้ืนทป่ี ลกู ควรมคี วามสงู จากระดบั น�้ำ ทะเลไมเ่ กนิ
- ความสงู จากระดบั นำ้�ทะเล 1,500 เมตร
- พรกิ หวาน พื้นทีป่ ลกู ควรมคี วามสูงจากระดับน้ำ�ทะเลตั้งแต่
500 เมตร ขน้ึ ไป

3. สภาพดิน ดินรว่ นปนทราย การระบายนำ�้ ดี
- ลกั ษณะของเน้อื ดิน
- ความเปน็ กรด-เปน็ ดา่ ง (pH) 6 - 6.8
- ความตอ้ งการธาตอุ าหารของพชื ไนโตรเจน 20 กโิ ลกรัมต่อไร่ ฟอสฟอรสั 13 กิโลกรมั ต่อไร่
โพแตสเซียม 18 กิโลกรัมต่อไร่

แนวทางการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ และแหล่งสืบค้นขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ

แนวทางการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลิต
- การตัดแตง่ ทรงพุ่มใหโ้ ปร่ง
เม่อื พริกมีทรงพุ่มทช่ี ิดแนน่ เกินไป ควรตดั แต่งทรงพมุ่ ให้โปรง่ ใหม้ ีการถา่ ยเท
อากาศภายในทรงพมุ่ เพ่ือท�ำ ใหส้ ภาพแวดล้อมไมเ่ หมาะกบั การเจริญของโรคพชื
- การใช้พลาสติกคลุมดนิ
ใช้พลาสติกคลมุ ดนิ สเี ทา เงนิ ชว่ ยรักษาความช้นื ในดิน ควบคุมวชั พืช และลด
การระบาดของแมลง
- การใชเ้ ชอ้ื ราไตรโครเดอร์มา(Trichoderma spp.)
เชือ้ ราไตรโครเดอรม์ า เป็นจุลินทรีย์ทส่ี ามารถใชค้ วบคุมโรคพชื ท่ีมสี าเหตจุ าก
เชอ้ื ราหลายชนดิ ได้แก่ โรคเหี่ยว โรคกล้าเน่า โรครากเน่า โคนเน่า และล�ำ ต้นเนา่ โดยน�ำ
ดินผสม + เชือ้ ราไตรโครเดอรม์ า + รำ�ออ่ น ในสดั ส่วน 100 กโิ ลกรมั + 1 กิโลกรมั
+ 5 กิโลกรัม แลว้ นำ�มารองกน้ หลุม
แหลง่ สบื คน้ ข้อมูลเพ่ิมเติม
กรมวิชาการเกษตร. 2550. เกษตรดที เี่ หมาะสมส�ำ หรับการผลิตพรกิ .
แหล่งท่มี า: http://www.doa.go.th/gap/gap_Chilli_1.html
กลุ่มงานวจิ ยั แมลงศตั รผู กั ไม้ดอกไมป้ ระดับ. 2542. เอกสารวชิ าการ แมลงศตั รูผกั .
กรุงเทพฯ:กรมวิชาการเกษตร
กองสง่ เสรมิ พชื สวน. 2545. การผลติ ผกั ปลอดภยั จากสารพษิ . กรงุ เทพฯ:
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
คณะเกษตรศาสตร.์ 2549. ศักยภาพการผลติ พริกเพ่อื อตุ สาหกรรมการส่งออกของ

ไทยในปัจจบุ นั และอนาคต. (อัดส�ำ เนา)
มณฉี ตั ร นกิ รพันธ.ุ์ 2541. พรกิ . กรงุ เทพฯ:โอ.เอส.พริ้นต้ิงเฮา้ ส์.
สชุ ลี า เตชะวงศเ์ สถียร. 2549. พริก การผลติ การจดั การ และการปรับปรงุ พันธ.์ุ

กรงุ เทพฯ:บริษทั เพรส มีเดยี จำ�กัด.
PROSEA.1994. Vegetables. Bogor Indonesia
P.W.Bosland and E.J. Votava. 2000. PEPPER: VEGETABLE AND SPICE
CAPSICUMS. CABI Publishing USA
http://www.matichon.co.th/news_detail. 15 มีนาคม 2556

73

มะเขือเปราะ 15 วนั ข้ันตอนการปลกู และการดูแลรักษามะเขือเปราะ 75 วัน 90 วนั

การเตรยี มการ 30 วนั 45 วนั 60 วนั

การเตรยี มดนิ ร-ห-3-3ะ00ลยรยย-ะุมกา้ซ3ะยยลแ5มแะกปึก.ถปวกลลกวัน1ลา้างว0รเูก1ส้าม-ป0ูง2ง8ือ่ ป0ล001มรกู ซ2ซอีะซม0มมาม.ย.าซ.ขณุ มดุ . โ-กสป-1-ท2ป2ด405กูตกุุ๋ยยุ๋หหเยม-.รๆสสลลอว1/โือ่ไตูตูรนังงัั51ัตรอยยยรร-3่ร1อขาา้้-า1451กยย้าก6535งปปาดอ--ต-0ร01ลลอ2ัต-้นใ-3กูกู1ก1ร0สแ-0ตา2่ป37หลอ0ดิ1-03ว้ร๋ยุัต1ผก0กือหว0รลกลารันกใ8.บวือส/ก-3ันไใ2ป่.ร0ส/4ุ่ย๋ไใ่ ร-ส่ ่ การให้น�้ำ การเกบ็ เกีย่ ว
ไถดินลกึ 30-40 ซม. ตาก การเพาะกล้า - รดนำ�้ เชา้ -เยน็ ในระยะ เมือ่ มะเขอื เปราะอายุ 65-70 วนั หรอื หลังดอกบาน
ดินไว้ 7-10 วัน หว่านปนู แรกของการเพาะและ 7-10 วัน สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ โดยเลือกเกบ็
ขาวอัตรา 100-200 กก./ สามารถท�ำ ได้หลาย ยา้ ยปลูก ผลท่ีมีขนาดพอเหมาะไม่แก่หรอื ออ่ นเกินไป และมีขั้ว
ไร่ ใส่ปยุ๋ หมกั หรือปยุ๋ คอก วิธีแตท่ ี่เกษตรกรนยิ ม - รดน้ำ�วนั ละ 1 คร้ัง ติดมาด้วย มะเขอื เปราะสามารถเก็บเก่ียวผลผลิตได้
อัตรา 2,000 กก./ไร่ และ ที่สุด คือ การเพาะใน เม่ือตน้ กล้าต้ังตวั ดีแลว้ ยาวนาน เมื่อมอี ายุประมาณ 9 เดือน ตน้ จงึ โทรม
ใสป่ ยุ๋ สตู ร 15-15-15 อัตรา ถาดเพาะโดยเตรยี มดนิ
30 กก./ไร่ คลกุ เคล้าให้ท่ัว การก�ำ จัดวชั พชื การปฏิบัตหิ ลงั การเก็บเกี่ยว
ท�ำ ทุกคร้งั เม่ือมกี าร - รวบรวมผลผลิตไว้ในทรี่ ม่
การเตรยี มเมลด็ ใส่ปยุ๋ หรือเม่ือมีวชั พืช - คดั เลือกผลผลิตท่ผี ิดปกตอิ อก
พนั ธ์ุ เกดิ ข้นึ - บรรจลุ งถุงพลาสติกเจาะรทู ส่ี ามารถบรรจุผลผลิตได้
ประมาณ 5 กิโลกรมั เตรียมส่งขาย
- แช่นำ�้ อุ่น 55 องศา ผสม ใสใ่ นถาดเพาะ
เซลเซยี สนาน 20 นาที รดนำ้�และหยอดเมล็ด
- แช่ในสารละลายสปอร์ ลงในหลมุ หลมุ ละ 1
เช้ือไตรโคเดอรม์ าสด

เมล็ด

เนแา่โมรปคลอ้ทงทงส่ี กส่ี�ำ ัน�คำ คกญั ญั�ำ จไดั ดไดดแ้ ว้แ้ กยก่ ่กโเรพาครลผใย้ีชลไ้เฟเชนอ้ื คา่ รแวาบหไตคง้ สมุรโดีกค�ำาเรดปรอะ้อบรงม์ากดาันดโว้ดยยกกาารรฉใดี สพห่ น่ ินนป�ำ้ นูในหชรว่ืองปอูนากขาาศวแรหอศง้งตั แกรลน้ ูทง้ หส่ี ,ล�ำหมุ คนัญ1อน-เจ2าชะอ้ ผนลโตค๊ะวตบอ่คมุหดลวุ้มยแกลาะรฉฉดีดี พพน่่นผแลคสละเซเดยี ามแรชะน่ ย�ำ้ ะทีต่ ิดผลจนถึงเกบ็ เกยี่ ว, โรคโคน

เทคนิคการปลกู และดูแลรักษามะเขือเปราะ

1. การเตรยี มการก่อนปลกู
1.1 การเตรียมเมล็ดพันธ์ุ กอ่ นนำ�เมล็ดหยอดลงหลุมในถาดเพาะ นำ�เมลด็
พันธุ์ท่ตี อ้ งการไปแชน่ ้�ำ อุ่น 55 องศาเซลเซยี ส (นำ้�เย็น 1 สว่ น+น้�ำ เดอื ด 1 สว่ น) นาน 20
นาที เพ่อื ฆา่ เชอื้ แอนแทรคโนส (โรคก้งุ แหง้ ) ทีต่ ดิ มากบั เมลด็ พันธุ์ หลงั จากน้ันนำ�ไปแชใ่ น
สารละลายสปอร์เช้ือไตรโคเดอรม์ าสด (เช้อื สด 4 ถงุ + น�้ำ 100 ลิตร) แช่ไว้ 1 คนื จงึ น�ำ ไป
เพาะได้
1.2 การเพาะกล้า สามารถท�ำ ได้หลายวธิ ี ดงั นี้
- กระบะเพาะหรือภาชนะท่พี อหาได้ ทล่ี ึกไม่เกนิ 10 เซนตเิ มตร มรี ู
ระบายน้ำ�ได้ ใส่ดนิ ละเอยี ด ป๋ยุ คอก ทรายหรอื แกลบ อตั ราสว่ น 3 : 1 : 1 คลุกใหเ้ ขา้ กนั
ปรับผิวหน้าดนิ ใหเ้ รยี บ ใชไ้ ม้ทาบเป็นรอ่ งเล็กๆ ระยะหา่ งระหวา่ งแถวประมาณ 5 - 7
เซนตเิ มตร แลว้ โรยเมลด็ เปน็ แถว กลบดว้ ยแกลบหรอื ทรายบางๆ รดน�ำ้ ใหช้ มุ่ เมอ่ื ตน้ กลา้
อายไุ ด้ 15 วนั หรือมีใบจริง 2 - 3 ใบ ให้ย้ายกล้าลงในถงุ พลาสตกิ ขนาด 4 x 6 นิว้ จนกลา้
มีอายุประมาณ 30 - 35 วัน จงึ ยา้ ยลงแปลงปลูกโดยใช้มดี กรดี ถุงใหข้ าดเพอ่ื ไมใ่ หก้ ระทบ
กระเทอื น
- เพาะในถาดเพาะ (ถาดหลุม) เปน็ วิธที ่ีเกษตรกรนิยมที่สดุ โดยจะถาด
เพาะมีหลายขนาด เชน่ 72 หลมุ 104 หลุม เป็นตน้ ข้นึ อยูก่ บั ความตอ้ งการของผู้เพาะ
โดยเตรยี มดินผสม (ดินร่วน 3 สว่ น : ปุ๋ยคอก 1 ส่วน : ทรายหรือแกลบ 1 ส่วน) ใสใ่ น
ถาดเพาะรดน้ำ�และหยอดเมล็ดลงในหลมุ หลุมละ 1 เมล็ด เม่อื ตน้ กลา้ อายุประมาณ 30
- 35 วนั จงึ ย้ายลงแปลงปลกู
- แปลงเพาะ นิยมใช้ในกรณที ี่ตอ้ งการตน้ กล้าจ�ำ นวนมาก การเตรยี ม
แปลงเพาะกล้า พื้นท่ีเพาะควรเป็นพนื้ ท่ที ี่ไมเ่ คยปลกู ยาสูบ พริก มะเขอื มะเขือเทศ และ
มันฝรั่งมากอ่ น ควรเป็นดนิ รว่ นซยุ ระบายนำ�้ ไดด้ ี ถ้าแปลงเพาะกล้าเปน็ ดินทรายควรใส่
ปนู ขาวกอ่ นเตรยี มแปลง ถา้ เปน็ ดินทรายท่ีดอนและไมเ่ คยมกี ารเพาะปลกู พชื มาก่อนอาจ
มีปัญหาเรอื่ งไสเ้ ดอื นฝอยซึ่งทำ�ใหเ้ กิดโรครากปม ดงั นน้ั ควรตรวจดูให้แน่ใจเสยี กอ่ นหาก
มีปัญหาดังกล่าวไม่ควรใช้พื้นที่บริเวณ
นัน้ เป็นแปลงเพาะกล้า แปลงเพาะกลา้
ควรกว้างประมาณ 1 เมตร ส่วนความ
ยาวตามความเหมาะสม ควรไถดนิ
ใหล้ กึ ประมาณ 15 เซนตเิ มตร ใสป่ นู ขาว
ประมาณ 125 กรมั ตอ่ ตารางเมตร
พรวนยอ่ ยผิวหน้าดินให้ละเอียด ใส่
ปุ๋ยสตู ร 15-15-15 ในอตั รา 400 - 500
กรัมตอ่ 5 ตารางเมตร คลุกให้เขา้ กัน

75

เกลี่ยหน้าดินให้เรียบ หวา่ นเมลด็
ให้กระจายทั่วแปลง แลว้ กลบดว้ ย
ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักที่สลายตัวดี
แล้วหรือดินผสมละเอยี ด หรือโรย
เมล็ดเป็นแถวตามขวางห่างกัน
แถวละประมาณ 15 เซนตเิ มตร
รอ่ งลึกประมาณ 1 เซนติเมตร
แลว้ กลบดว้ ยปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั รดน�ำ้ ใหช้ มุ่ คลมุ ดว้ ยฟางหรอื หญา้ แหง้ ทีส่ ะอาดบางๆ
เม่อื ตน้ กล้าเร่มิ งอกหรอื เมื่อต้นกลา้ มีใบจริง 2 - 3 ใบ จงึ คอ่ ยๆ ดึงฟางออก อยา่ ให้
กระทบกระเทอื นต้นกลา้ เม่ือตน้ กลา้ มอี ายปุ ระมาณ 12 - 15 วนั ควรถอนแยกกลา้ ท่ี
ออ่ นแอเป็นโรค ไมส่ มบูรณ์หรือต้นทเ่ี บยี ดกนั แนน่ เกินไปออก และควรถอนแยกต้นกล้า
จัดระยะใหห้ ่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร เมือ่ มอี ายปุ ระมาณ 30 - 35 วนั หรอื ตน้ กลา้
สงู ประมาณ 10 - 15 เซนตเิ มตร มใี บจริงประมาณ 5 ใบ จึงยา้ ยปลกู
1.3 การดแู ลรกั ษาตน้ กล้า
- การท�ำ รม่ ต้นกล้าทีเ่ พาะในกระบะหรือถาดเพาะมกั เพาะในโรงเรือน
ดงั นน้ั การเพาะในแปลงจงึ ควรทำ�รม่ ใหด้ ว้ ย เชน่ ตาข่าย ผา้ ดบิ หรือทางมะพรา้ ว
เพื่อปอ้ งกนั แดด ลมและฝนขณะท่ีต้นกล้าเลก็ แตค่ วรเปิดออกบ้างเพื่อใหต้ ้นกลา้ รบั
แสงแดดไมท่ ำ�ใหต้ น้ กล้าสูงชลูดเกินไป
- การให้น้�ำ ในชว่ งเพาะกล้า ในชว่ งแรกๆ ควรใหน้ �้ำ วันละ 2 คร้ัง คือเชา้
และเยน็ เมอ่ื ตน้ กลา้ เรม่ิ เจรญิ เตบิ โตแลว้ อาจจะรดน�ำ้ เพยี งวนั ละครง้ั หรอื 2 - 3 วนั ตอ่ ครง้ั
เพิ่มการเจริญเตบิ โตและแขง็ แรงใหต้ ้นกลา้ ด้วยการรดด้วยปุ๋ยยเู รีย 1 ชอ้ นผสมน้�ำ 20 ลติ ร
- การท�ำ ใหต้ น้ กลา้ แขง็ แรงกอ่ นยา้ ยปลกู เพอ่ื ใหต้ น้ ทนตอ่ สภาพแวดลอ้ มไดด้ ขี น้ึ
โดยการลดการใหน้ �ำ้ และเอารม่ หรือวัสดพุ รางแสดงออก ให้ต้นกลา้ ไดร้ ับแสงแดดเพิม่ ใน
ระยะ 1 สปั ดาหก์ ่อนยา้ ยปลูก
1.4 การเตรยี มดิน
ไถดนิ ลึก 30 - 40 เซนติเมตร ตากดินไว้ 7 - 10 วัน ยอ่ ยดินให้ละเอยี ดหวา่ น
ปูนขาวอตั รา 100-200 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ใสป่ ุย๋ หมกั หรือปุ๋ยคอกอตั รา 2,000 กิโลกรมั ตอ่ ไร่
และใส่ป๋ยุ สตู ร 15-15-15 อตั รา 30 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ คลุกเคลา้ ให้ทั่ว ยกแปลงสงู ประมาณ
30 เซนตเิ มตร กว้าง 120 เซนติเมตร

2. การปลูก
ระยะปลกู คอื ระหว่างตน้ 80 เซนตเิ มตร ระหวา่ งแถว 100 เซนติเมตร นำ�ต้นกลา้
มะเขอื เปราะ มาปลูกตามหลุมท่ีเจาะไว้ โดยขุดหลมุ ปลูกลึกประมาณ 10-20 เซนตเิ มตร
กลบดินและรดนำ�้

76

3. การดูแลรกั ษา
3.1 การใหน้ �้ำ ใหส้ ม�ำ่ เสมอหลงั ยา้ ยกล้าทกุ เช้า - เยน็ เมอื่ กลา้ ตัง้ ตัวดแี ล้วรดน�ำ้
วันละครง้ั
3.2 การใสป่ ยุ๋ หลงั ยา้ ยปลูก 7 - 10 วัน ใส่ป๋ยุ สตู ร 46 - 0 - 0 อตั รา 30 กโิ ลกรัม
ตอ่ ไร่ เพอ่ื เรง่ การเจรญิ เตบิ โต หลงั ย้ายปลูก 30 วนั ใสป่ ๋ยุ สตู ร 15 - 13 - 21 หรอื 15 - 15
- 15 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ โรยข้างต้นแลว้ พรวนดนิ กลบใสป่ ยุ๋ สตู ร 13 - 13 - 21 หรอื
8 - 24 - 24 อัตรา 50 - 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ โดยทยอยแบง่ ใสใ่ นช่วงออกดอกติดผล ทุกๆ
20 วัน
3.3 การป้องกันกำ�จดั วัชพืช ทำ�ทกุ ครัง้ ทม่ี กี ารใส่ปุ๋ยหรือเม่ือวชั พชื เกดิ ขนึ้

4. ศตั รูพืชทีส่ ำ�คญั
4.1 โรคที่ส�ำ คญั
- โรคผลเนา่ แหง้ สีดำ�หรือปลายผลด�ำ เกดิ จากเชอื้ ราซงึ่ สามารถอาศัยและ
เจรญิ เตบิ โตไดใ้ นดนิ และเศษซากพชื ปอ้ งกนั และก�ำ จดั โดยใสห่ นิ ปนู หรอื ปนู ขาว รองกน้ หลมุ
1 - 2 ช้อนโต๊ะต่อหลมุ ฉีดพน่ แคลเซียมชว่ งระยะตดิ ผลไปจนถึงเก็บเกีย่ ว
- โรคใบแหง้ /ใบจุด ปอ้ งกนั และก�ำ จดั โดยใส่สารปอ้ งกันก�ำ จัดเชอื้ ราตามที่
ระบบุ นฉลาก
- โรคโคนเนา่ หรือ
โรคต้นเหีย่ วตาย เกดิ จากเชื้อรา
สามารถปอ้ งกนั กำ�จดั
ได้ด้วยการใช้เช้ือราไตรโคเดอร์ม่า
หากระบาดมากใช้สารป้องกัน
กำ�จัดเชื้อราอัตราส่วนตามท่ีระบุ
บนฉลาก
- โรคกิ่งแห้งตาย
เกดิ จากเชอ้ื รา สามารถแพรก่ ระจาย
ไปตามลมและอาจติดไปกับเมล็ด
ได้ ป้องกนั และกำ�จดั โดยใช้สารปอ้ งกันก�ำ จดั เชอื้ ราตามทรี่ ะบบุ นฉลาก
4.2 แมลงศัตรทู ี่ส�ำ คัญ
- เพลี้ยไฟมะเขอื มักทำ�ลายตามตา ยอดอ่อน ดอก ทำ�ให้การติดดอก
ออกผลนอ้ ย หากท�ำ ลายบริเวณข้วั มะเขอื จะท�ำ ใหข้ ้วั เปน็ สนี �ำ้ ตาล สามารถปอ้ งกนั ได้
ด้วยการตรวจสภาพพชื อยเู่ สมอ โดยใชแ้ วน่ ขยายขนาดเล็กในการตรวจจะทำ�ใหส้ ังเกต
เห็นไดง้ ่ายขึน้ ไมป่ ลูกมะเขือเปราะในพ้ืนทท่ี ีม่ กี ารปลูกมะเขือซำ�้ บ่อยๆ ระบาดมากใน
ช่วงทีม่ อี ากาศแห้งแล้ง ดังนั้นหากฉดี พ่นใหน้ �ำ้ ในช่วงทอี่ ากาศแหง้ แลง้ จะชว่ ยควบคมุ การ

77

ระบาดของเพลี้ยไฟได้อีกทางหน่งึ หากระบาดมากใหฉ้ ีดพ่นสารเคมีป้องกนั กำ�จดั เพล้ยี
ไฟอัตราสว่ นท่ีแนะน�ำ ไวใ้ นฉลาก หากมกี ารระบาดมากในชว่ งออกดอก การใช้
สารเคมปี อ้ งกนั กำ�จัดควรเป็นชนิดที่ป้องกันกำ�จัดหนอนเจาะผลดว้ ยจะค้มุ คา่ กว่า
- หนอนเจาะผล โดยเข้าทำ�ลายบรเิ วณยอดและผลของมะเขือเปราะ
พบการทำ�ลายยอดมากในฤดูฝนและท�ำ ลายผลมากในฤดูแล้ง โดยสามารถปอ้ งกันและ
ก�ำ จดั ด้วยการเก็บยอดและผลทถี่ ูกท�ำ ลาย ทง้ั มหี นอนและไม่มหี นอน มาท�ำ ลายเพ่ือ
ควบคมุ การขยายพันธ์ุ หรอื ฉีดพน่ ผลสะเดาแหง้ แชน่ �้ำ อัตรา 700 กรัมต่อน�ำ้ 20 ลิตร โดย
ฉีดพ่นทุก 5 - 7 วัน หากระบาดมากสามารถป้องกันไดด้ ว้ ยการฉดี พ่นสารเคมีป้องกัน
ก�ำ จดั ได้ แต่ตอ้ งค�ำ นึงถึงความปลอดภยั ของผู้บริโภค ดว้ ยการเกบ็ ผลผลติ ตามก�ำ หนดท่ี
ฉลากแนะนำ�การใชส้ ารเคมรี ะบุ
5. การเกบ็ เก่ยี ว
เม่ือมะเขือเปราะอายุ 65 - 70 วนั หรือหลังดอกบาน 7 - 10 วัน จะสามารถเกบ็
เกย่ี วผลผลิตได้ โดยเกบ็ ผลทม่ี ขี นาดพอเหมาะไม่อ่อนหรอื แก่เกนิ ไป โดยการเกบ็ เกี่ยวให้
ขั้วมะเขือตดิ มากับผลด้วย มะเขอื เปราะมีช่วงการเก็บเก่ียวผลผลิตยาว หากมีการบ�ำ รงุ
รกั ษาตน้ ดี เม่อื มะเขอื อายปุ ระมาณ 9 เดอื น ต้นจงึ โทรม
6. การปฏบิ ัติหลงั การเก็บเกี่ยว
เก็บเกยี่ วผลผลิตและรวบรวมไวใ้ นที่ร่ม คดั ผลผลิตท่ีมีโรคและแมลงออก บรรจุ
ลงถุงพลาสตกิ เจาะรูซึง่ บรรจผุ ลผลติ ไดป้ ระมาณ 5 กโิ ลกรมั เตรยี มส่งขาย หรอื หากเปน็
มะเขอื เปราะทเี่ ตรียมสง่ ออกต่างประเทศ สามารถกำ�จดั เพลี้ยไฟท่ตี ิดมากับผลผลติ ด้วย
การตัดขว้ั มะเขอื เปราะแช่ในน�ำ้ เย็นอณุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที

78

ขอ้ มูลสภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและใหผ้ ลผลิตของมะเขอื เปราะ

สภาพแวดล้อม ความเหมาะสม ข้อจำ�กัด / รายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ
1 สภาพภมู ิอากาศ - อยู่ระหวา่ ง 25 - 35 องศาเซลเซยี ส ถา้ อณุ หภมู ิสงู กวา่ 35 องศาเซลเซียส อาจทำ�ใหด้ อกร่วงและ
1.1 อุณหภมู ิ - อย่รู ะหวา่ ง 25 - 30 องศาเซลเซยี ส อัตราการตดิ ผลตำ่�
- อย่รู ะหวา่ ง 21 – 30 องศาเซลเซียส
- ส�ำ หรบั การติดผล 18 ชั่วโมงตอ่ วัน
- ส�ำ หรับการงอก
- ส�ำ หรบั การเจริญเติบโต
1.2 ความยาวชว่ งแสง

2. สภาพดิน
2.1 ความเปน็ กรดเป็นดา่ ง (pH) 5.5 – 6.8
2.2 ลกั ษณะของเนื้อดนิ ดนิ รว่ นปนทราย การระบายน�ำ้ ดี

79

แนวทางการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิต และแหลง่ สบื คน้ ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ

แนวทางการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลติ
การเพ่ิมอายุการเก็บเกีย่ วผลผลิต มะเขอื เปราะเป็นพืชผกั ทีอ่ ายกุ ารเก็บเก่ยี ว
ยาวนาน หากดแู ลรกั ษาและบำ�รงุ ต้นดี ดงั น้ันเมื่อเริ่มเกบ็ เกี่ยวผลผลิตแลว้ ประมาณ
2 เดือน ควรตัดแตง่ กิง่ ที่ใหผ้ ลผลติ หรือเปน็ โรคออก ใส่ปยุ๋ คอกหรือป๋ยุ หมัก เพอื่ ท�ำ ให้
ล�ำ ต้นมะเขือเปราะเจรญิ เติบโต แตกกง่ิ ก้านใหม่ทมี่ ีความแข็งแรง จะทำ�ให้สามารถเก็บ
เก่ยี วผลผลติ ใหม่ไดอ้ กี ควรตดั แตง่ ก่งิ อยา่ งนท้ี กุ คร้ังหลงั จากเกบ็ เกีย่ วผลมะเขือเปราะ
และมะเขอื เปราะเรม่ิ คอ่ ยๆ ใหผ้ ลผลติ ลดลงเรือ่ ยๆ
แหล่งสบื คน้ ข้อมูลเพิม่ เตมิ
อร่าม คมุ้ ทรัพย์.2543. เกษตรธรรมชาติเชิงธรุ กิจ.กรงุ เทพฯ.โรงพมิ พ์อกั ษรไทย
กรมวชิ าการเกษตร ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ พ.ศ.2543. หลกั และวธิ กี ารผลติ ผกั อนามัย
กรมส่งเสรมิ การเกษตร . คู่มือการปลูกผักให้ปลอดภยั จากสารพษิ
อดุ ม โกสัยสุข , การปลูกผักกนิ ผล. กรงุ เทพฯ .บริษัท อกั ษราพพิ ัฒน์ จ�ำ กัด
http://esc.agritech.doae.go.th/webpage/e-book/ma-kua-moung.pdf .
การปลกู มะเขือมว่ ง. วนั ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556

80

มะเขือเทศ 15 วนั ขั้นตอนการปลกู และการดูแลรกั ษามะเขือเทศ 75 วัน 90 วัน

การเตรยี มการ 30 วัน 45 วัน 60 วนั

--ไส--1--รรตยไใใ0ตูกสสถอ่กา-รร่่ปปพ2งกแมั ก01๋นยูุลดป/กน้5ตอิกขนิกล-หาน้าด1รินงรลมั3ว5ินกทเมุ--/ตวลหร124ดา้ยีร5กึ0ลว้งสีย์0มุยอ23ัป-ม1ปตั30แดตดยุ๋ร-0เลา4มนัคาิน0ะห20อต/ปไ-์กกร4รย๋ซุ ก่ ม./. ----ซแปมครประด.ลลลยนงมุกู ะ�้ำดเกปปใว้ หาล็นยรชู้กหฟปุ่มลา7ลุมง0กู บx5น0 ใ-สส-ก-1กออส0ตตกููหกป่าา.รร.ลก/ยยย/ุ๋ไไงั11กรุุสรย4235่.่ตู/กา00้--ไร11ย-,รา6235่ปร405--ใ6ล12สว-วกู150นันั่ป-7ออใใ0ยุ๋ส-สตตัั 1ป่อป่รร0ยุ๋ตยาาัุ๋ วร33นาั 00 -ใคตใหนวาคด้รมรวนิะใสรหยชใภหน้น้ืะกาน�ำ้้พแพาอ�ำ้รอรดอยกใเนิยา่หหงเา่มม้นพงาตอ่ื�้ำอะอ่เเรพเนม่ิ ยี อ่ืโงตง การก�ำ จัดวัชพืช การเกบ็ เกยี่ ว
3-ก-2-5ับเเ4ลพพกวือาใานัน้ื บะกรทกพเห่ีตลนัรา้รอืธอยี ม์ุทามีใีเ่ ยหบพุ มจ2ันรา1ธงิะ-ุ์ การปักค้าง และการพรวนดนิ -เกบ็ เมอ่ื อายุ 70-90 วนั ขน้ึ อยกู่ บั
พนั ธ์ุ
มะเขือเทศ อายุ จะท�ำ พรอ้ มกบั การ - กรณสี ง่ เขา้ โรงงานควรเกบ็ ผลสกุ
20-25 วันหลังยา้ ยปลูก พรวนดนิ และใสป่ ยุ๋ เคมี มสี แี ดงจดั
ตามชว่ งอายุ คอื - กรณสี ง่ ตลาดขายสดเกบ็ ผลเรม่ิ
- อายุ 7-10 วนั หลงั สกุ
ปลกู
- อายุ 20-25วนั หลงั ปลกู
- อายุ 40 และ 60 วนั
หลงั ปลกู
ต-ก-- าาเภงลรมกดาอืนยรกากำ�ะหราเไยปรกลปใะบง็ัฏชใกเเชวบิส้กา้ลาย่รีัตารเวิกกเทผคบ็่อป่ีลมเนผกลีปยแล่ีออ้ตวิลดรงใะภบหีกหัยต้นนั ลร�ำกงังเำ�ขกกจา้บั าทดั วรร่ีศตั เม่ ตักถปรุ็บูพรเะกชื สี่ยงวค์

ศตั รูทีส่ �ำ คญั
โรคทส่ี �ำ คญั มะเขอื เทศมกี ารระบาดมากเมอ่ื มคี วามชน้ื สงู และอากาศเยน็ สว่ นใหญเ่ กดิ จาก เชอ้ื รา ไดแ้ ก่ โรคโคนเนา่ โรคเหย่ี วเขียว โรคใบจดุ วง โรคใบจดุ โรคแหง้ ด�ำ โรคใบใหม้
โรคราก�ำ มะหย่ี โรคราเขมา่ และโรคราแปง้ ก่อนปลูกทำ�การเขตกรรมตากดนิ ในสภาพแดดจัดใหน้ านกว่าปกติ ใชพ้ นั ธุ์ต้านทาน หากพบการระบาดใหถ้ อนต้นเผาทำ�ลายหรือ
พ่นดว้ ยสารเคมีปอ้ งกนั ก�ำ จดั เชอ้ื ราโรคพชื ตามค�ำ แนะน�ำ นอกจากนย้ี งั มโี รคทเ่ี กดิ เชอ้ื ไวรสั ไดแ้ ก่ โรคใบดา่ งเรยี วเลก็ และโรคใบหงกิ เหลอื ง ทำ�ใหต้ น้ แคระแกรน็ ไม่เจริญเติบโต ระบาด
โดยแมลงเปน็ พาหะ หากพบการระบาดใหถ้ อนตน้ เผาท�ำ ลายและก�ำ จัดแมลงพาหะ โดยใช้สารเคมกี �ำ จดั แมลงฉีดพ่นตามค�ำ แนะน�ำ
แมลงทส่ี �ำ คญั แมลงหวข่ี าว และ เพลย้ี ออ่ น เปน็ ตวั น�ำ และแพรก่ ระจายโรคไวรสั หากมกี ารระบาดใหก้ �ำ จดั โดยใชส้ ารเคมกี �ำ จดั แมลงฉดี พน่ ตามค�ำ แนะน�ำ หนอนเจาะผลมะเขอื เทศ
เพลย้ี ไฟ ไรแดง แมลงเหลา่ นห้ี ากมกี ารระบาดก�ำ จดั โดยใชส้ ารเคมกี �ำ จดั แมลงฉดี พน่ ตามค�ำ แนะน�ำ

เทคนคิ การปลกู และดูแลรกั ษามะเขือเทศ

1. การเตรยี มการกอ่ นปลกู
1.1 การเตรยี มดนิ
1) ไถเตรยี มดนิ ใหล้ กึ 30 -
40 เซนตเิ มตร โดยไถ 2 - 3 ครง้ั และตาก
ดนิ ใหแ้ หง้ 3 - 4 สปั ดาห์
2) ยอ่ ยดนิ อยา่ ใหล้ ะเอยี ด
เกนิ ไป ใสป่ ยุ๋ อนิ ทรยี อ์ ตั รา 2,000
กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ถา้ หากดนิ เปน็ กรดใหใ้ ช้
ปนู ขาวหวา่ นในอตั ราตามทไ่ี ดร้ บั ค�ำ แนะน�ำ จากผลการวเิ คราะหด์ นิ หากไมไ่ ดว้ เิ คราะหด์ นิ
ให้ใสป่ นู ขาวประมาณ 200 - 300 กิโลกรมั ตอ่ ไร่
1.2 การเตรยี มพันธุ์
1) พนั ธม์ุ ะเขอื เทศทน่ี ยิ มปลกู มี 2 ประเภท ไดแ้ กม่ ะเขอื เทศพนั ธอ์ุ ตุ สาหกรรม 
ลักษณะเปน็ พุ่มไมเ่ ลือ้ ย และพนั ธม์ุ ะเขอื เทศบรโิ ภคสด ส่วนใหญเ่ ปน็ พันธ์เุ ลอ้ื ย ไดแ้ กพ่ นั ธ์ุ
เชอร่ี ราชนิ ี สดี า เปน็ ตน้
2) การเพาะกลา้ แลว้ ยา้ ยปลกู มี 3 วธิ ี คอื
- ใชก้ ระบะเพาะ เลอื กกระบะทม่ี ขี นาดประมาณ 45 x 60 เซนติเมตร
ลึกไมเ่ กนิ 10 เซนตเิ มตร มรี รู ะบายน้ำ� ใส่ดนิ ทร่ี อ่ นแลว้ 3 ส่วน ปยุ๋ คอก 1 ส่วน ทราย
หรอื แกลบ 1 สว่ น คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั ปรบั ผวิ หนา้ ดนิ ใหเ้ รยี บ โรยเมลด็ เปน็ แถว ระยะหา่ ง
ระหว่างแถว 5 - 7 เซนติเมตร รดนำ�้ ให้ชุ่ม
- ใชถ้ าดเพาะกลา้ �ขน��า�ด��7�2��ห��ล�มุ ����น��ำ �ด�นิ��ท��ใ่ี�ช�เ�้ พ���า�ะ�ก�ล��า้ �ใส��ใ่ �น�ถ��า�ด�ห�ล��มุ �ใ�ห�้
เตม็ เพาะหลมุ ละ 1 เมลด็
- ใชแ้ ปลงเพาะ ขดุ หรอื ไถดนิ ลกึ ประมาณ 15 เซนตเิ มตร ใสป่ นู ขาว
ประมาณ 125 กรมั ตอ่ ตารางเมตร คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั ยอ่ ยดนิ ใหล้ ะเอยี ด ใสป่ ยุ๋ สตู ร 15 - 15
- 15 อตั รา 80 - 100 กรมั ตอ่ ตารางเมตร ยกแปลงเพาะกวา้ งประมาณ 1 เมตร ยาว 10 เมตร
เกลย่ี หนา้ ดนิ ใหเ้ รยี บ หยอดเมลด็ เปน็ แถวหา่ งกนั ประมาณ 10 เซนตเิ มตร ลกึ 1 เซนตเิ มตร
กลบดว้ ยดนิ ผสมปยุ๋ หมกั และคลมุ แปลงดว้ ยฟางขา้ วบางๆ รดน�ำ้ อยา่ งสม�ำ่ เสมอ เมอ่ื ตน้ กลา้
อายุ 17 - 22 วนั ลดปรมิ าณน�ำ้ ทใ่ี หล้ ง และใหไ้ ดร้ บั แสงแดดเตม็ ท่ี ตน้ กลา้ จะแขง็ แรง เหนยี ว
ไมอ่ วบฉ�ำ่ น�ำ้ ท�ำ ใหร้ อดตายสงู ยา้ ยปลกู เมอ่ื อายตุ น้ กลา้ อายุ 21 - 25 วนั หรอื มใี บจรงิ 3 - 4 ใบ
2. การปลกู
2.1 ยกแปลง สูงประมาณ 30 เซนตเิ มตร กวา้ ง 1 เมตร ระหวา่ งรอ่ งกวา้ ง 50
เซนติเมตร ปลกู เป็นแถวค่รู ะยะระหวา่ งแถว 70 เซนติเมตร ระหวา่ งตน้ 50 เซนติเมตร
2.2 จ�ำ นวนตน้ ประมาณ 4,200 -4,400 ตน้ ตอ่ ไร่

82

2.3 รองกน้ หลมุ ปลกู ดว้ ยปยุ๋ คอก 10 - 20 กรมั ตอ่ หลมุ และปยุ๋ สตู ร 15 - 15 - 15
อัตรา 2 - 4 กรมั ต่อต้น ใชป้ ุย๋ อัตรา 12 - 15 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ คลุกใหเ้ ขา้ กัน
2.4 วธิ กี ารปลกู
1) การยา้ ยกลา้ ปลกู เลอื กตน้ กลา้ ทแ่ี ขง็ แรง มยี อด และปราศจากโรค
และแมลงรบกวน ขดุ หลมุ ลกึ 4 - 5 เซนตเิ มตร หลมุ ละ 1 - 2 ตน้ ใหย้ อดตง้ั ตรง กลบดนิ รอบตน้
ใหแ้ นน่ เสมอระดบั ผวิ ดนิ รดน�ำ้ ตามทนั ที
2) ปลูกโดยการหยอดเมลด็ ลงแปลงปลกู โดยตรง ใชใ้ นกรณที ีส่ ามารถ
ใหน้ ำ้�ไดง้ ่าย แตจ่ ะเสยี เวลาและแรงงานในการดแู ลรักษามากกว่า อีกทัง้ ต้องใช้เมลด็ พนั ธ์ุ
มากขน้ึ เป็น 80 - 100 กรมั ตอ่ ไร่ หยอด 2 - 3 เมลด็ ตอ่ หลมุ เมือ่ งอกอายุ 15 - 20 วนั
ควรเลือกตน้ ท่แี ข็งแรงเพยี ง 1 ต้นตอ่ หลุม
ถ้าใช้ระยะปลกู แคบจะไดผ้ ลผลติ ตอ่ พ้ืนทมี่ ากขึน้ แตก่ ารปฏิบตั งิ านดูแล
รกั ษายาก ในฤดูแลง้ ควรปลกู ถี่ ส่วนในฤดูฝนควรใชร้ ะยะปลกู ห่าง เน่อื งจากมะเขือเทศ
เจริญเติบโตดี มที รงพุ่มสงู ใหญก่ วา่ ฤดูอ่ืนๆ
3. การดูแลรักษา
3.1 การใส่ปยุ๋
1) ครง้ั ที่ 1 เมื่ออายุ 7-10 วัน หลงั จากยา้ ยปลูก ใชป้ ยุ๋ 46 - 0 - 0 อัตรา
10 กโิ ลกรมั ต่อไร่ หรอื 21 - 0 - 0 หรือ 20 กิโลกรมั ต่อไร่ ถ้าแปลงปลูกท่ีเคยปลกู ผักกนิ ใบ
มาก่อนควรใช้ปยุ๋ 13-13-21 อตั รา 20 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ แทน
2) ครง้ั ท่ี 2 เม่อื อายุ 20 -
25 วัน หลงั จากยา้ ยปลกู ใชป้ ยุ๋ 15 - 15
- 15 อตั รา 30 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ครัง้ ตอ่ ไป
อายุ 40 และ 60 วนั ใช้ปยุ๋ 13 - 13 - 21
อัตรา 30 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่
3) ถ้าต้นมะเขือเทศไมค่ ่อย
สมบูรณ์ หรอื มีอาการเฝือใบ ควรฉดี พน่
ป๋ยุ ทางใบสตู รตา่ งๆ ตามระยะการเจริญ
เตบิ โต เช่น ระยะยงั ไมอ่ อกดอกใช้ปุ๋ย
ใบสูตรเสมอ เช่น 25 - 25 - 25 ระยะ
ออกดอกแล้วควรใช้ปุ๋ยท่ีมีฟอสฟอรัสและ
โปแตสเซ่ียมสูง เชน่ 10 - 23 - 20 หรอื
10 - 30 - 20 นอกจากน้ยี ังมีปุ๋ยทางใบที่
มีธาตุอาหารรองหลายชนดิ อย่ดู ้วย เช่น
แมงกานสี เหลก็ สงั กะสี โบรอน จะช่วย
ใหต้ น้ มะเขอื เทศสมบูรณย์ ่ิงข้นึ

83

3.2 การให้น�ำ้
ระยะแรกของการเติบโตควรให้นำ้�อยา่ งพอเพยี ง และชว่ งทีก่ ำ�ลังออกดอก
และติดผล อายุ 20 - 35 วนั หลงั ย้ายกล้าไมต่ อ้ งการน้ำ�มาก เนื่องจากจะมผี ลทำ�ใหก้ าร
ตดิ ผลนอ้ ยจากความช้นื สงู ทำ�ใหล้ ะอองเกสรตวั ผู้จะจับตวั ยดึ ติดกนั แน่น ภายหลังการติด
ผลแล้วชว่ งทผี่ ลกำ�ลังขยายขนาด อายุ 35 - 50 วัน หลังจากย้ายกล้า ตอ้ งการน้ำ�อยา่ ง
เพียงพอระวังอยา่ ให้ขาด ถา้ ให้นำ้�แบบเขา้ ตามรอ่ งแปลงจนชุ่ม แลว้ ปล่อยนำ้�ออกควรให้
ทุก 7 - 10 วนั หรอื ตามความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับสภาพภมู อิ ากาศ
3.3 การคลมุ แปลงปลกู
คลมุ ดว้ ยผา้ พลาสตกิ สเี งนิ หรอื ฟางขา้ ว เพอ่ื รกั ษาความชน้ื ของดนิ และเปน็ การ
ปอ้ งกนั การชะลา้ งผวิ หนา้ ดนิ เมอ่ื ฝนตกหรอื ใหน้ �ำ้ นอกจากนย้ี งั ชว่ ยลดเปอรเ์ ซน็ ตผ์ ลเนา่ และ
การระบาดของโรคทางใบ ซง่ึ จะชว่ ยใหผ้ ลผลติ เพม่ิ สงู ขน้ึ ประมาณ 20 - 40% ควรคลมุ ให้
หา่ งโคนตน้ เพอ่ื ไมใ่ หโ้ คนตน้ มคี วามชน้ื สงู เกนิ ไป
3.4 การพรวนดนิ และการกำ�จดั วชั พืช
การพรวนดนิ พนู โคน เปน็ การกระตนุ้ ใหร้ ากเจรญิ เตบิ โตลงไปไดล้ กึ และกระจาย
ทางดา้ นขา้ ง สามารถท�ำ ไปพรอ้ มกบั การก�ำ จดั วชั พชื พรอ้ มการใสป่ ยุ๋ ทอ่ี ายุ 20 และ 40 วนั
ถ้ามีการพรวนดินก็ไมจ่ ำ�เป็นต้องใช้สารเคมคี วบคมุ วัชพชื
3.5 การปกั คา้ ง
จะทำ�เม่ือมะเขือเทศมีอายุ 20 - 25 วนั หลงั ยา้ ยปลูก และมดั ค้างเรื่อยๆ
ตามความเหมาะสม
4. ศตั รูพืชที่สำ�คัญ
4.1 โรคทสี่ ำ�คัญ
1) โรคโคนเนา่ เกดิ จากเชื้อรา
เกดิ ไดท้ ง้ั ระยะกลา้ และในแปลงปลกู สามารถ
ปอ้ งกันโดยการเขตกรรม ตากดินในสภาพ
แดดจดั ใหน้ านกวา่ ปกติ ไมเ่ พาะกลา้ แนน่ เกนิ ไป
และไมค่ วรใหน้ �ำ้ มากเกนิ ไป
2) โรคเห่ยี วเขยี ว เกดิ จาก
เช้อื แบคทีเรีย ปอ้ งกันโดยการเขตกรรมตาก
ดินในสภาพแดดจัดใหน้ านกวา่ ปกติ ใชพ้ ันธ์ุ
ต้านทาน หากพบการระบาดให้ถอนต้นเผา
ท�ำ ลาย
3) โรคใบจุดวง เกิดจากเชือ้ รา
มั ก ร ะ บ า ด ม า ก ใ น ส ภ า พ ที่ ค ว า ม ช้ื น แ ล ะ

84

อณุ หภมู สิ ูง การแพรร่ ะบาดโดยเชอื้ สาเหตุโรคติดมากับเมล็ดพนั ธ์ุ ป้องกันก�ำ จดั โดยการ
คลกุ เมล็ดดว้ ยสารป้องกันกำ�จดั เชอื้ ราโรคพืช หากมกี ารระบาดในแปลงปลกู พ่นดว้ ยสาร
เคมปี ้องกันก�ำ จดั เชือ้ ราโรคพชื ตามค�ำ แนะน�ำ
4) โรคใบจุด เกิดจากเชอื้ รา โรคนีพ้ บระบาดมากในภาคเหนอื โดยเฉพาะ
ถา้ มคี วามชนื้ สงู หรอื มีฝนตก ใบทเ่ี ป็นโรคมากๆ จะรว่ งหลดุ ไป ปอ้ งกนั กำ�จัดดว้ ยการ
รักษาความชื้นในแปลงปลกู อยา่ ให้สูงมากเกนิ ไป เมื่อพบการระบาดของโรคพน่ ด้วยสาร
เคมีปอ้ งกนั กำ�จัดเช้อื ราโรคพืชตามค�ำ แนะนำ�
5) โรคแหง้ ดำ� เกิดจากเช้ือรา มกี ารระบาดรุนแรงและรวดเรว็ เมือ่ มี
ความช้นื และอุณหภูมสิ งู เช้อื สาเหตโุ รคนสี้ ามารถติดมากบั เมลด็ พนั ธุ์ ปอ้ งกันก�ำ จัดโดย
คลุกเมลด็ ด้วยสารปอ้ งกันกำ�จดั เชือ้ ราโรคพชื ถ้ามีการระบาดในแปลงปลกู พน่ ด้วยสาร
เคมปี ้องกันกำ�จัดเช้ือราโรคพืชตามค�ำ แนะน�ำ
6) โรคใบไหม้ เกดิ จากเชอ้ื รา พบระบาดมากทางภาคเหนอื ของประเทศไทย
ในฤดูหนาวและมีความชืน้ สมั พัทธส์ งู กว่า 90% ป้องกนั การระบาดได้ถ้าปลกู มะเขือเทศ
แบบยกคา้ ง ตดั แตง่ ใบลา่ งใหโ้ ปรง่ เมอ่ื เรม่ิ พบโรคควรใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั ก�ำ จดั เชอ้ื ราโรคพชื
ตามคำ�แนะน�ำ
7) โรคราก�ำ มะหยี่ เกดิ จากเชือ้ รา ปอ้ งกนั การระบาดด้วยการตดั แต่งกง่ิ
มะเขือเทศเพอื่ ให้การหมนุ เวยี นของอากาศในแปลงดขี ึน้ เมอ่ื เรม่ิ พบโรคพน่ ดว้ ยสารเคมี
ปอ้ งกนั ก�ำ จดั เชอ้ื ราโรคพชื ตามค�ำ แนะน�ำ
8) โรคราแปง้ เกดิ จากเชอ้ื รา ปอ้ งกนั การระบาดโดยการลดความชน้ื บรเิ วณ
โคนตน้ หรอื ในทรงพมุ่ ดว้ ยการตดั แตง่ กง่ิ ก�ำ จดั วชั พชื เมอ่ื พบการระบาดควรพน่ ดว้ ยสารเคมี
ปอ้ งกนั ก�ำ จดั เชอ้ื ราโรคพชื ตามค�ำ แนะน�ำ
9) โรคราเขมา่ เกดิ จากเชือ้ รา ระบาดท�ำ ความเสยี หายในภาคตะวันออก
เฉยี งเหนอื มากกว่าแหลง่ อื่น ปอ้ งกันการระบาดโดยการตดั แตง่ ใบลา่ งๆ ของมะเขอื เทศ
ออกเพอ่ื ใหม้ กี ารระบายอากาศดขี น้ึ เมอ่ื เรม่ิ พบการระบาดในแปลงพน่ ดว้ ยสารเคมปี อ้ งกนั
กำ�จัดเชอื้ ราโรคพชื ตามค�ำ แนะนำ�
10) โรคใบดา่ งเรยี วเลก็ เกดิ จากเชอ้ื ไวรสั โรคนส้ี ามารถถา่ ยทอดโดยเพลย้ี ออ่ น
และการสมั ผสั ต้น ถ้ามกี ารระบาดกำ�จดั ด้วยสารเคมีก�ำ จัดแมลงประเภทดูดซึมทส่ี ามารถ
ก�ำ จดั เพล้ียออ่ นตามค�ำ แนะน�ำ
11) โรคใบหงิกเหลือง เกดิ จากเชอ้ื ไวรัส แมลงหวข่ี าวสามารถถ่ายทอด
โรคได้ถึง 88% ป้องกันการระบาดโดยการรกั ษาความสะอาดแปลงปลกู ปรบั ปรงุ ดนิ ดว้ ย
ปุ๋ยคอกและปนู ขาว ถา้ พบตน้ มะเขือเทศที่เป็นโรคนค้ี วรรีบถอนทำ�ลายด้วยการเผา และ
งดปลกู มะเขอื เทศในพน้ื ทเี่ ดิมไมน่ ้อยกวา่ 4 ปี
4.2 แมลงศัตรูที่สำ�คญั
1) แมลงหวข่ี าว เปน็ ตวั น�ำ เชอ้ื ไวรสั โรคใบหงิก ปอ้ งกนั ก�ำ จดั โดยใชส้ ารเคมี

85

ปอ้ งกนั ก�ำ จดั แมลงประเภทดดู ซมึ ฉดี พน่ ตามค�ำ แนะน�ำ และกบั ดกั กาวเหนยี ว
2) หนอนเจาะผลมะเขือเทศ ระบาดมากในเดอื นกุมภาพนั ธ์ - มนี าคม
กรณีมกี ารระบาดใหใ้ ชส้ ารเคมีป้องกันก�ำ จัดแมลงฉดี พ่นตามคำ�แนะน�ำ
3) เพล้ยี ไฟ ปอ้ งกนั การระบาดดว้ ยการรดน�้ำ แปลงปลูกใหเ้ พียงพออยา่ ง
สม่ำ�เสมอ กรณมี ีการระบาดให้ใชส้ ารเคมปี ้องกันกำ�จดั แมลงฉดี พน่ ตามคำ�แนะน�ำ
4) เพลี้ยอ่อน เป็นพาหะนำ�โรคไวรสั ท่ีสำ�คัญของมะเขือเทศ กรณีมกี าร
ระบาดใหใ้ ช้สารเคมีปอ้ งกันก�ำ จัดแมลงฉีดพ่นตามคำ�แนะน�ำ
5) ไรแดง กรณีมกี ารระบาดให้ใช้สารเคมปี อ้ งกนั กำ�จัดแมลงฉดี พ่นตาม
คำ�แนะนำ�
5. การปฏิบตั กิ ่อนและหลงั การเก็บเกย่ี ว
1) การปฏิบตั กิ อ่ นการเก็บเก่ียวมะเขอื เทศ ควรงดการใหน้ ำ้� และงดการใชส้ าร
เคมปี ้องกนั ก�ำ จัดศัตรูพชื ตามระยะเวลาทป่ี ลอดภัย
2) การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ อายุ 70 - 90 วนั และจะเกบ็ ไปเรอ่ื ยๆ จนกระทง่ั เกบ็ เกย่ี วหมด
3) การปฏบิ ัติหลงั การเก็บเก่ยี ว
- กรณสี ง่ เขา้ โรงงานควรคดั เลอื กผลสกุ และมสี แี ดงจดั ทว่ั ทง้ั ผล ไมม่ รี อยเนา่
รอยถลอกหรือแตกชำ้� เป็นมะเขอื เทศพันธ์ุเดยี วกนั และขนาดรปู ร่างใกลเ้ คียงกนั
- กรณีส่งตลาดขายสด เกบ็ ผลเร่ิมสกุ และมีขว้ั ผลติด บรรจมุ ะเขอื เทศ
ในภาชนะทส่ี ะอาด คดั ขนาดตามมาตรฐานของผรู้ บั ซอ้ื ภายหลงั การเกบ็ เกย่ี วรบี น�ำ เขา้ ทร่ี ม่
หรอื โรงเรอื นท่ีมีการระบายอากาศดี สถานทีเ่ กบ็ ชั่วคราวหรอื ปฏิบตั ิงาน ตอ้ งอยูห่ า่ งจาก
สิง่ ปฏกิ ูลเพอ่ื ป้องกนั เชื้อโรคปนเปือ้ น ทำ�ความสะอาด บรรจหุ บี หอ่ และเก็บรักษาผลผลติ
ตามมาตรฐาน

86

ขอ้ มลู สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของมะเขอื เทศ

สภาพแวดล้อม ความเหมาะสม ขอ้ จำ�กดั / รายละเอยี ดเพมิ่ เติม
1 สภาพภูมอิ ากาศ - ส�ำ หรบั การงอกของเมล็ด 20 - 21 Cํ - ถา้ อุณหภมู ิตำ�่ กว่า 20 ํC ท�ำ ให้เปอรเ์ ซน็ ต์การงอกของเมลด็ ต่ำ� แต่ถ้าอณุ หภูมสิ ูง
1.1 อณุ หภูมิ - การเจริญเติบโตของตน้ กลา้ 25 Cํ กว่า 21 Cํ ทำ�ใหเ้ ปอร์เซ็นต์การงอกของเมลด็ ตำ�่ แตถ่ ้าอุณหภมู ิสูงเกนิ ไป จะทำ�ให้ตน้
- การออกดอกและตดิ ผล 18 - 24 Cํ กลา้ ผดิ ปกติ ในชว่ งเวลากลางคืนจะมีผลดตี ่อกระบวนการผลิต และเกบ็ สะสมอาหาร
ของมะเขอื เทศ อณุ หภูมทิ ่เี หมาะสมในชว่ งออกดอกระหว่าง 15 - 25 ํC ถา้ อากาศ
1.2 ความช้ืนสัมพทั ธ์ 60 – 70 % ร้อนจะท�ำ ให้ดอกร่วง ดงั นน้ั มะเขอื เทศจึงเหมาะสมทจี่ ะปลกู ในฤดหู นาว
1.3 ความยาวช่วงแสง 8 – 16 ชว่ั โมงตอ่ วัน ละอองเกสรตัวผจู้ ะจบั ตัวยดึ ติดกันแนน่ ถา้ ความชน้ื สัมพทั ธส์ งู กว่า 70%
1.4 ความเขม้ ของแสง 3,000 – 10,000 lux เป็นพชื ที่ไม่ตอบสนองต่อชว่ งแสง
1.5 ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ 300 - 1,000 ppm ความเข้มของแสงตำ่� ท�ำ ให้พืชสงั เคราะห์แสงได้นอ้ ย ท�ำ ให้ผลผลติ ตกต�ำ่
การเพม่ิ ระดบั คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นระยะแรกของการเจรญิ เตบิ โต จะท�ำ ใหม้ ะเขอื เทศ
1.6 ความเรว็ ลม ความเรว็ ของลม 1 เมตร : วินาที มลี �ำ ตน้ ใหญ่ขึ้น สามารถช่วยในการเจริญเตบิ โตและเพมิ่ ผลผลติ มะเขอื เทศได้
การหมนุ เวยี นของลมในอตั ราทีส่ มำ�่ เสมอ จะช่วยในการเจรญิ เตบิ โตและเพิ่มผลผลิต

2. สภาพพ้ืนที่ ไมเ่ กิน 800 เมตร ในพนื้ ที่สงู อุณหภมู ิจะต่ำ� อาจมผี ลทำ�ใหพ้ ืชชะงักการเจริญเตบิ โต ท�ำ ให้ผลผลติ ลดลง
2.1 ความสูงจากระดับน้�ำ ทะเล ทเี่ หมาะสม ประมาณ 5 - 15 % ถา้ พ้นื ที่มคี วามลาดชันเล็กน้อยจะเหมาะสม เพราะจะช่วยใหด้ นิ ระบายนำ้�ได้ดี
2.2 ความลาดชนั ของพนื้ ที่ เจรญิ เติบโตได้ดีท้ังในดนิ ร่วนเหนยี ว มีผลท�ำ ให้มะเขอื เทศมตี น้ สงู ใหญ่สมบูรณ์แขง็ แรง และสามารถให้ผลผลติ มาก
3. สภาพดนิ และดนิ ร่วนปนทราย ถา้ ดนิ เป็นกรดหรือเป็นดา่ งมากเกินไปจะท�ำ ให้ดนิ ขาดธาตอุ าหารบางอย่างได้
3.1 ลักษณะดิน 30 – 120 เซนตเิ มตร
87 6.5 - 6.8
3.2 ความลกึ ของหน้าดนิ 15 - 20 ํC
3.3 ความเปน็ กรดเป็นด่างของ
ดิน (pH)
3.4 อณุ หภูมดิ ิน

88

ข้อมลู สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของมะเขอื เทศ (ต่อ)

สภาพแวดลอ้ ม ความเหมาะสม ขอ้ จำ�กดั / รายละเอยี ดเพิม่ เติม
3.5 ค่าการน�ำ ไฟฟา้ ของดนิ (EC) 2 - 4 เดซซิ เี มนตอ่ เมตร ดนิ ท่ีมีปรมิ าณเกลือในดินประมาณ 0.12 - 0.25 % พืชท่ีไมท่ นเค็มจะมีการเจรญิ
3.6 ปรมิ าณอนิ ทรีย์วัตถุ 2-4% เติบโตลดลง ใบสีเข้มข้นึ หนาขึน้ ปลายใบไหม้ ปลายใบมว้ นงอ ผลผลิตลดลง
3.7 ปริมาณธาตุอาหารในดนิ ธาตุอาหารหลกั - หากมะเขอื เทศได้รบั ธาตุอาหารหลกั ไม่พอเพยี งและเหมาะสม จะมผี ลกระทบต่อ
N = 38 - 45 กรัมตอ่ ตารางเมตร การเจริญเตบิ โตมาก ซง่ึ จะแสดงอาการผิดปกตอิ อกมาให้เหน็
4. สภาพน�ำ้ P = 3.48 - 5.16 กรัมต่อตารางเมตร - ธาตอุ าหารรองมคี วามส�ำ คัญตอ่ คณุ ภาพของผล โดยเฉพาะถา้ ขาด แคลเซียม (Ca)
4.1 ปรมิ าณน�้ำ ทต่ี ้องการ K = 134 กรมั ตอ่ ตารางเมตร จะทำ�ให้เกิดโรค กน้ ผลเนา่ หรือผลเนา่ แหง้ สีดำ� (Blossom end rot )
ธาตุอาหารรอง
Ca = 2.5 % มะเขือเทศต้องการนำ้�มาก ทุกระยะในการเจริญเติบโต
Mg = 0.5 %
S = 1.6 %
500 - 1,500 ลูกบาศเ์ มตร.ตอ่ รอบการผลิต
ตอ่ ไร่

แนวทางการเพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิต และแหลง่ สบื ค้นขอ้ มูลเพิ่มเตมิ

แนวทางการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลิต
1) ควรใชพ้ นั ธท์ุ เ่ี หมาะสมกบั สภาพพน้ื ทภ่ี มู อิ ากาศ และวตั ถปุ ระสงคข์ องการน�ำ ไปใช้
การปลกู เพือ่ สง่ โรงงานอุตสาหกรรม ควรใชพ้ นั ธ์ลุ ูกผสมทมี่ ขี นาดผลใหญ่ เนอื้ แนน่ สสี วย หาก
ปลกู มะเขอื เทศเพอ่ื บรโิ ภคผลสด ควรใชพ้ ันธ์ุที่ตรงกบั ความตอ้ งการ
2) ควรหลีกเล่ยี งการปลูกในทล่ี ุ่มมีน้ำ�ทว่ มขัง การปฏิบัติดแู ลรักษายากและอาจเกดิ
โรคระบาดได้งา่ ยหากความชื้นในดนิ สงู เกินไป
3) การปกั คา้ งมะเขอื เทศ ควรมดั คา้ งเรอ่ื ยๆ ตามความเหมาะสม เพอ่ื ใหต้ น้ มะเขอื เทศ
เจรญิ เติบโตได้ดีให้ผลผลติ สูง การดูแลรักษางา่ ย ทรงพ่มุ โปร่งระบายอากาศดี ทนทานต่อการ
ระบาดของโรคและแมลง
4) ปอ้ งกนั การเกดิ โรคผลเนา่ สดี �ำ ท�ำ ใหผ้ ลผลติ มะเขอื เทศเสยี หาย โดยการฉดี พน่ ธาตุ
แคลเซย่ี มแกม่ ะเขอื เทศทางใบเมอ่ื มะเขอื เทศเรม่ิ ตดิ ผล เพอ่ื ลดความเสยี หายของผลมะเขอื เทศท่ี
จะเปน็ โรคผลเนา่ สดี �ำ หรอื โรคปลายผลเนา่ ด�ำ จากการขาดธาตแุ คลเซย่ี ม ใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนในอตั ราท่ี
เหมาะสม และปรบั ปรงุ ดนิ ทม่ี สี ภาพเปน็ กรดใหม้ คี า่ ความเปน็ กลาง
5) ในพน้ื ทท่ี ม่ี กี ารระบาดของแมลงหวข่ี าว ซ่ึงเปน็ ตวั แพร่กระจายท�ำ ใหเ้ กิดการระบาด
ของโรคใบหงกิ จะท�ำ ใหผ้ ลผลติ ของมะเขอื เทศลดต�ำ่ ลงอยา่ งมาก เพอ่ื เปน็ การเพม่ิ ผลผลติ มะเขอื เทศ
ในพน้ื ทท่ี ม่ี กี ารระบาดของแมลงหวข่ี าว ก�ำ จดั แมลงหวข่ี าวโดยการฉดี พ่นสารเคมีตามคำ�แนะน�ำ
เริ่มตง้ั แตแ่ ปลงกล้าและแปลงปลกู อย่างสม่ำ�เสมอ สามารถป้องกนั แมลงหว่ีขาวและโรคใบหงกิ
ทำ�ใหผ้ ลผลติ มะเขือเทศเพ่มิ ข้ึนเป็น 2 เท่าของแปลงทไ่ี มไ่ ด้ป้องกัน
6) ตัดแต่งกิ่งใหบ้ ริเวณโคนต้นโปรง่ อากาศถ่ายเทได้สะดวก และเกบ็ ใบท่ีมโี รคเผา
ทำ�ลายนอกแปลงปลกู สามารถลดการระบาดของโรคลงได้

แหลง่ สืบค้นขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ
กรมส่งเสรมิ การเกษตร. 2551. คู่มอื นักวชิ าการสง่ เสริมการเกษตร “มะเขือเทศ”,
กรมส่งเสริมการเกษตร. กรงุ เทพฯ.
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. 2551. ผกั สวนครัวสานใยรกั แห่งครอบครวั ,
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. กรงุ เทพฯ.
กรมวชิ าการเกษตร. 2545. การจดั การคุณภาพพชื ผกั , กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.
ไฉน ยอดเพชร. 2542. พชื ผักอุตสาหกรรม, พิมพ์ครัง้ ที่ 2. สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล
วทิ ยาเขตบางพระ. ส�ำ นักพิมพร์ ั้วเขียว. กรุงเทพฯ.
มณฉี ัตร นกิ รพนั ธ์ุ. 2538. มะเขือเทศ, โอ.เอส.พรน้ิ ต้ิง เฮา้ ส.์ กรงุ เทพฯ.
สมภพ ฐตะวสนั ต์. 2530. การผลติ มะเขือเทศเพ่อื การคา้ , สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบงั . กรงุ เทพฯ.
http://www.doae.go.th/library/htm 14 กุมภาพนั ธ์ 2556.
http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php 14 กุมภาพนั ธ์ 2556.
http://blog.eduzones.com/offy/3964 14 กุมภาพนั ธ์ 2556.
http://www.thaikasetsart.com 14 กมุ ภาพันธ์ 2556.

89

มนั ฝร่งั ขั้นตอนการปลูกและการดแู ลรกั ษามนั ฝรั่ง

การเตรยี มการ 20 วนั 40 วัน 60 วนั 80 วัน 100 วัน 120 วนั 140 วัน

การเตรียมดิน การใสป่ ยุ๋ การให้น�้ำ
- ไถดินลึก 20 เซนตเิ มตร - หลงั ปลกู 15 - 20 วนั ใส่ยเู รีย - ให้อยา่ งสม่ำ�เสมอ
- ตากดนิ 10 - 15 วนั 25กิโลกรัมต่อไร่ และ 13-13-21 25 - ระยะแรกใหแ้ คเ่ พียงพอต่อการงอก
- ถา้ ดนิ เปน็ กรดสงู ใชโ้ ดโลไมท์ 200 - 500 กก.ตอ่ ไร กิโลกรัมตอ่ ไร่ โรยข้างตน้ และไถกลบ - ให้น้ำ�เพม่ิ ข้นึ เม่อื ตน้ เรม่ิ เจรญิ เติบโต
-่ ไถพรวน 2 - 3 ครงั้ - งดน�ำ้ ก่อนขุดหวั 2 สัปดาห์

การเตรียมพนั ธ์ุ การเกบ็ เกยี่ ว
ปลูกทง้ั หวั - ผง่ึ หวั พันธ์ุ 2 - 4 สัปดาห์ - มนั ฝรั่งพร้อมเกบ็ อายุ 100 - 150 วนั
- ขดุ มนั ฝรั่งเม่ือแกจ่ ดั (ล�ำ ตนั และใบเร่มิ แห้ง)
- หัวพนั ธแ์ุ ตกหน่อ 1 - 2 เซนติเมตร - ไม่เก็บขณะฝนตก
ใช้การผ่าหัว - ผ่าหัวเป็นชน้ิ มี 1 ตาตอ่ ช้นิ
- จุ่มชิ้นพนั ธ์ุในสารเคมีป้องกนั กำ�จดั
เชอ้ื รา การปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เก่ยี ว
เช้อื รา - ช�ำ ในถุงพลาสตกิ 1 สปั ดาหไ์ ด ้ 1. ไม่ทงิ้ หัวมนั ฝรง่ั ที่ขุดแลว้ ไวก้ ลางแจ้งใหถ้ ูกแสงแดดนานเกนิ ไป
หน่อยาว 1 - 2 เซนตเิ มตร 2. ระมัดระวังในการขนยา้ ยหวั มันฝรง่ั
3. ผ่ึงหัวมันฝรง่ั ในทร่ี ่มระบายอากาศได้ดี
4. คัดแยกหวั ที่เป็นแผลหรอื เป็นโรคเนา่ ผดิ ปกติ และหัวสีเขียว
การปลูก ท้ิงก่อนสง่ โรงงานหรือจำ�หน่าย
- ระยะปลกู 20 X 80 เซนติเมตร
- ใสป่ ุย๋ คอก 1 ตันตอ่ ไร่ และปุ๋ยเคม(ี 15-15-15) ศัตรูท่สี �ำ คญั และการปอ้ งกันก�ำ จดั
1. โรคใบไหม้ ปอ้ งกนั และก�ำ จดั โดย พน่ สารเคมี เชน่ โพรพเี นบ เมตาแลกซลิ แมนโคเซบ็ และคอปเปอรอ์ อ๊ กซค่ี ลอไรด์ เปน็ ตน้
150 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ขา้ งหวั พนั ธ์ุ 2. โรคเนา่ ถ้าพบต้นเปน็ โรคใหถ้ อนทงิ้ ทนั ที แลว้ นำ�ไปเผาท�ำ ลายนอกแปลงปลูก
- ใช้รถไถกลบหัวพันธุ์
3. โรคใบด่าง ตน้ แคระแกรน็ จากไวรสั พน่ สารปอ้ งกนั แมลง เพ่อื กำ�จัดเพลี้ยอ่อนท่ีเปน็ พาหะของโรค เชน่ สารคารบ์ ารลิ สลบั
กบั คารโ์ บซลั แฟน ทุก 10 วัน
4. ไส้เดอื นฝอยรากปม ทำ�ใหห้ วั มันฝร่งั เกดิ ปมุ่ ปมเหมือนหดู ปอ้ งกันโดยดแู ลรักษาแปลงให้สะอาด กำ�จดั วัชพืช เกบ็ หวั มนั
ฝรัง่ ที่เปน็ โรคหูดออกจากแปลง

เทคนิคการปลกู และดแู ลรกั ษามันฝรั่ง

1. การเตรยี มการกอ่ นปลูก
1.1 การเตรียมดนิ
1) ไถดินลกึ อยา่ งน้อย 20 เซนติเมตร
2) ตากดนิ กอ่ นปลกู 10 – 15 วัน
4) หากดนิ เป็นกรดมากใชโ้ ดโลไมท์ จ�ำ นวน 200 – 500 กโิ ลกรมั /ไร่
5) ท�ำ การไถพรวนอีก 2 – 3 ครงั้ ให้ดินร่วนซุย
1.2 การเตรียมพันธ์ุ
1) กรณปี ลกู ทงั้ หวั
- ถ้าหัวพันธม์ุ ีหน่อยอดงอกออกมาให้ปลดิ ท้งิ
- นำ�หวั พันธุ์ไปวางผ่งึ เปน็ ช้ันๆ ทับซอ้ นกันไม่เกิน 2 – 3 ชน้ั
- ผึ่งในท่ีรม่ ท่มี ีแสงสว่าง อยา่ ให้ถกู แดดโดยตรง 1 – 2 สัปดาห์
- เมอ่ื หวั พันธ์ุเรม่ิ แตกหนอ่ จากตาตา่ งๆ 1 - 2 เซนตตเิ มตร สามารถ
นำ�ไปปลกู ได้

การผา่ หวั พนั ธุ์
2) กรณกี ารผา่ หัวพันธ์ุ
- หวั พันธ์ุท่ีพร้อมจะผ่าหวั คอื หวั พันธ์ทุ ่ีเริม่ แตกตาขา้ งพอสงั เกตเหน็
- ผา่ หวั พันธ์กุ อ่ นปลกู อย่างนอ้ ย 1 สัปดาห์
- ใช้มีดคมชบุ แอลกอฮอลห์ รอื น�ำ้ ยาฆา่ เชื้อโรค ผ่ากลางหวั แบง่ คร่ึง
ตามยาว ผา่ จากดา้ นท้ายไปดา้ นหัว
- ตัดแบ่งช้นิ ส่วนทผ่ี า่ เป็นชิ้นๆ ตามแนวยาว และแนวตงั้ ให้ 1 ชน้ิ มี
ตาอยา่ งน้อย 1 ตา

91

- หลงั ผา่ เสรจ็ แตล่ ะหวั จมุ่ ใบมดี ในแอลกอฮอล์ 70% หรอื น�ำ้ ยาฆา่ เชอ้ื โรค
อืน่ ๆ กอ่ นนำ�ไปผ่าหัวอ่ืน
- นำ�หวั พนั ธท์ุ ่ผี า่ เปน็ ชิ้นๆ ไปแชย่ าฆา่ เชือ้ รา เชน่ สารละลาย
เมตาเลก็ ซิล (10 เอพรอน) อตั ราสว่ น 1 ช้อนโต๊ะ ผสมนำ�้ 20 ลติ ร นาน 5 นาที
และนำ�ไปผ่งึ ใหแ้ ห้ง
- น�ำ หัวพันธท์ุ ีผ่ ่ึงแห้ง ใส่ในถุงตาขา่ ยพลาสติกบรรจพุ อประมาณ
มดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ วางในทร่ี ม่ และน�ำ กระสอบปา่ นชน้ื คลมุ ทบั เพอ่ื รกั ษาความชน้ื ประมาณ
1 สัปดาห์
- ดูแลใหช้ นื้ เสมอ อยา่ ใหเ้ ปยี กแฉะหรอื น้ำ�ขัง
- ประมาณ 1 สัปดาห์ ชน้ิ พันธจุ์ ะงอก พร้อมนำ�ไปปลูก

หัวพนั ธทุ์ ช่ี �ำ แลว้ 1 สปั ดาห์
2. การปลกู
2.1 ฤดปู ลูกทเี่ หมาะสม
ชว่ งเดอื นทเ่ี หมาะสมส�ำ หรบั การปลกู มนั ฝรง่ั คอื ชว่ งเดอื นตลุ าคม - พฤศจกิ ายน
2.2 วธิ ปี ลกู
1) การปลูกแบบในร่อง
- ขดุ รอ่ งยาวตามแนวแปลงลกึ ประมาณ 20 เซนตเิ มตร ระยะระหวา่ ง
รอ่ ง 80 เซนตเิ มตร
- วางหัวพนั ธ์ใุ นรอ่ งห่างกัน 20 เซนติเมตร
- กลบดินหนาประมาณ 5 - 10 เซนตเิ มตร

92

การปลูกในรอ่ งโดยใช้เครอ่ื งจักร

2) การปลกู แบบยกร่อง
- ขุดยกรอ่ งให้สูงขึน้ สันร่องสูงประมาณ 20 เซนติเมตร ระยะหา่ ง
ระหว่างร่อง 80 เซนตเิ มตร
- ขดุ หลมุ บนสันร่องหา่ งหัน 20 เซนตเิ มตร วางหัวพันธ์ใุ นหลมุ
- กลบดินหนาประมาณ 5 -10 เซนติเมตร

การปลูกแบบยกร่อง

93


Click to View FlipBook Version