The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ความรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสู่การเป็น Smart officer พืช ผัก เห็ด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

องค์ความรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสู่การเป็น Smart officer พืช ผัก เห็ด

องค์ความรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสู่การเป็น Smart officer พืช ผัก เห็ด

คมู่ ือปฏิบัตงิ านเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร
เรือ่ ง

องค์ความรู้ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิต
สูก่ ารเปน็ smart officer : พชื ผกั เหด็

ISBN

978-974-403-951-4

พิมพค์ รง้ั ท่ี 1

ปี 2556
จำ� นวน 10,000 เล่ม

พิมพ์ที่

โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั

ค�ำนำ�

การท�ำ งานสง่ เสรมิ การเกษตร เปน็ การท�ำ งานทม่ี งุ่ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพชวี ติ และความเปน็ อยู่
ของเกษตรกร โดยเจา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ การเกษตร เปน็ ผนู้ �ำ ความรแู้ ละเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม
ถา่ ยทอดสเู่ กษตรกรกลมุ่ เปา้ หมาย
ปี 2556 กรมสง่ เสรมิ การเกษตรไดจ้ ดั ท�ำ “คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ านเจา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ
การเกษตร” เพอ่ื เปน็ องคค์ วามรใู้ หเ้ จา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ การเกษตร ไดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน
สง่ เสรมิ การเกษตรในพน้ื ท่ี โดยไดร้ วบรวมและเรยี บเรยี งเนอ้ื หาตามหลกั วชิ าการทถ่ี กู ตอ้ ง
สามารถอา้ งองิ ได้ และถอดบทเรยี นจากหลกั ปฏบิ ตั จิ รงิ สามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานสง่ เสรมิ
การเกษตรในแตล่ ะพน้ื ท่ี จ�ำ นวน 24 รายการ แบง่ เปน็ เนอ้ื หา ดา้ นการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการ
ผลติ พชื เศรษฐกจิ ดา้ นเคหกจิ เกษตรและการเพม่ิ มลู คา่ สนิ คา้ เกษตร และดา้ นเทคนคิ การ
ท�ำ งานสง่ เสรมิ การเกษตร
คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ านเจา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ การเกษตร เรอ่ื ง “องคค์ วามรเู้ พม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
การผลติ สกู่ ารเปน็ smart officer : พชื ผกั เหด็ ประกอบดว้ ยเนอ้ื หาเกย่ี วกบั การเพม่ิ
ประสทิ ธภิ าพการผลติ พชื ผกั และเหด็ ชนดิ ตา่ งๆ ซง่ึ เจา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ การเกษตร สามารถน�ำ
ไปปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสมกับลักษณะการท�ำ งานตามบทบาทและหน้าทีค่ วามรับผดิ ชอบ
และหวังใหเ้ กดิ แนวคิด การพฒั นาทักษะในการทำ�งานส่งเสรมิ การเกษตรเพือ่ ประโยชน์
ของเกษตรกรต่อไป
กรมส่งเสรมิ การเกษตร ขอขอบคณุ ในความร่วมมืออย่างดยี ิ่งจากหนว่ ยงาน
และเจา้ หนา้ ทท่ี เ่ี กย่ี วขอ้ ง ในการใหข้ อ้ มลู และภาพประกอบส�ำ หรบั การจดั ท�ำ หนงั สอื เลม่ น้ี
และหากเจา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ การเกษตรมขี อ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ขอไดโ้ ปรดแจง้ มายงั กรมสง่ เสรมิ
การเกษตรใหท้ ราบดว้ ย ท้ังน้ี เพอ่ื ประโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ สำ�หรับการใช้งานครงั้ ตอ่ ไป

(นางพรรณพมิ ล ชญั ญานวุ ตั ร)
อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร

สงิ หาคม 2556

สารบญั หน้า

1
8
กระเทียม 14
กระเจี๊ยบเขียว 20
กะหลำ่�ดอก 27
กะหลำ�่ ปล ี 35
ขิง 42
คะนา้ 49
แคนตาลปู 55
แตงกวา 63
ถั่วฝักยาว 68
ผักชี 74
พรกิ 81
มะเขือเปราะ 90
มะเขือเทศ 99
มนั ฝรงั่ 106
หอมแดง 113
หอมหัวใหญ่ 121
หนอ่ ไมฝ้ ร่ัง 128
เห็ดนางรม-นางฟ้า 138
เห็ดฟาง
ภาคผนวก

บทน�ำ

พชื ผกั และเหด็ มคี วามสำ� คญั ตอ่ เศรษฐกจิ ของไทย เปน็ พชื ทใี่ หผ้ ลตอบแทนสงู

มคี วามตอ้ งการใชบ้ รโิ ภคภายในประเทศและสง่ ออกไปจำ� หนา่ ยตา่ งประเทศทง้ั ในรปู สด
แชแ่ ข็ง ดอง แปรรปู เป็นผลิตภัณฑ์ และเมล็ดพนั ธ์ุผัก ดงั น้ัน จึงจัดวา่ เป็นสนิ ค้าที่มี
ความสำ� คญั ในชวี ติ คนไทยทางดา้ นครอบครวั ท�ำใหม้ อี าหารบรโิ ภค ทางดา้ นเศรษฐกจิ
ครวั เรอื น ทำ� ใหม้ รี ายไดน้ ำ� ไปใชส้ อยในกจิ กรรมตา่ งๆ สำ� หรบั เศรษฐกจิ ระดบั ประเทศ
การสง่ ออกผกั และผลติ ภณั ฑ์ กอ่ ใหเ้ กดิ รายไดเ้ ขา้ ประเทศ ชนดิ ผกั ทม่ี กี ารสง่ ออก เชน่
พชื ผักตระกลู กะหลำ�่ มะเขอื เทศ ขงิ กระเจยี๊ บเขยี ว ผกั ชี พรกิ หนอ่ ไมฝ้ รง่ั เหด็ มะเขอื
เปราะ มนั ฝร่ัง แคนตาลูป กระเทียม หอมแดง หอมหัวใหญ่ ถัว่ ฝกั ยาว และแตงกวา
เป็นต้น
การผลติ พชื ผกั ของประเทศไทย มีพน้ื ท่ปี ลูกผกั ทัง้ ประเทศอยู่ระหว่าง 2 - 4
ลา้ นไร่ ผลผลิตอยรู่ ะหว่าง 3 - 4.5 ล้านตนั ผลผลติ ส่วนใหญร่ ้อยละ 85 – 90 ใช้บรโิ ภค
ภายในประเทศ ผลผลติ จะมีออกสู่ตลาดทั้งปี แตจ่ ะมีปริมาณมากทสี่ ุดในช่วงฤดหู นาว
คอื ระหวา่ งเดอื นธนั วาคม – กุมภาพันธข์ องทกุ ป ี เนือ่ งจากเปน็ ชว่ งทอ่ี ากาศเหมาะสม
ตอ่ การเพาะปลกู โดยเฉพาะผกั ประเภทกนิ ใบและตน้ สว่ นฤดฝู นและฤดรู อ้ น ปรมิ าณผลผลติ
จะลดลง เนือ่ งจากปรมิ าณนำ้�ฝนมากในฤดูฝนท�ำ ให้ผกั เน่าเสยี และในชว่ งฤดรู ้อน อากาศ
แหง้ แลง้ มาก ทำ�ให้มกี ารระบาดของแมลงมาก ทำ�ความเสยี หายกบั ผักในแปลงปลูกมาก
เช่นกัน แต่เนื่องจากในปัจจุบัน การผลิตผักของไทยประสบปัญหาเรื่องสภาพอากาศ
ทแ่ี ปรปรวนสง่ ผลกระทบตอ่ ปรมิ าณและคณุ ภาพของพชื ผกั นอกจากนน้ั การแขง่ ขนั ทางการคา้
ระหวา่ งประเทศ ท�ำ ใหก้ ารผลติ ผกั จ�ำ เปน็ ตอ้ งไดค้ ณุ ภาพและมาตรฐานตามทป่ี ระเทศคคู่ า้
ก�ำ หนด ดงั นน้ั การสง่ เสรมิ การผลติ ผกั ดว้ ยการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม จะช่วย
เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ใหแ้ กเ่ กษตรกร และสามารถใหผ้ ลติ พชื ผกั ทไ่ี ดค้ ณุ ภาพมาตรฐาน
และมีความปลอดภยั ตอ่ ผบู้ รโิ ภค

กลุม่ ส่งเสริมการผลติ ผกั
สำ�นกั ส่งเสรมิ และจดั การสินค้าเกษตร

กรมสง่ เสริมการเกษตร

กระเทยี ม ขนั้ ตอนการปลูกและการดูแลรกั ษากระเทียม

การเตรยี มการ 15 วนั 30 วัน 45 วนั 60 วัน 75 วัน 90 วนั

- วใสันป่ นูก2าข,0รา0เวต0กรอ่ -ียนม3ป,ด0ลนิ0กู 0 15 การปลกู การก�ำ จัดวัชพืช การให้น�้ำ การใสป่ ุย๋
กรัม - ตงั้ แตเ่ รม่ิ ปลกู
- ตหร่อวอ่าไงรนพ่ ป้นื ๋ยุ 2ค-อ3กต/ปัน๋ยุ /ไหรม่ ัก - ห1ลค2ฝก0.ึก-วล2ังวามุกเ0า้ซ1ตมลงลมเรสซบีะม.ียงู มกตมแ1.รรปแะกปลเลทงลีบยี งม - รีบกำ�จดั วัชพชื ท่เี ร่ิมงอก ให้นำ้ �ทุก 3 - 5 วนั - หอลายังปุ 1ล0ูก-ใ1ส4ป่ ยุ๋ วัน การเก็บเกี่ยว
โดยถอน ใช้มดี หรอื - หลงั ปลูก 30 วนั 46-0-0 หรือ 21-0- 0
การเตรยี มพนั ธุ์ เสยี มขนาดเล็ก เพราะ ใหน้ ้ำ�ทกุ 7-10 วัน อกตั กร.าต2่อ5ไร-่ 30 - อายเุ ก็บเกี่ยว 90-120 วัน
จะกระทบระบบรากน้อย - หลงั ปลูก 60 วัน - อายุ 30 วันหลังปลูก หลงั ปลูก
- เลอื กกลบี หรอื หวั ทไ่ี มฝ่ อ่ หรอื ใช้สารเคมกี รณี ให้นำ้ �ทุก 15 วนั ใสป่ ุ๋ย 10-10-15/
ไมม่ ีโรคและแมลง แปลงขนาดใหญ่ 13-13-21 - เกบ็ เกีย่ วเมื่อใบเปลีย่ น
- แยกขนาดกลบี คดั หวั อัตรา 50-100 กก.ต่อ เป็นสเี หลืองและเหย่ี วแหง้
ขนาดเดียวกนั ปลูก ไร่ - ถอนหัวกระเทียม นำ�ส่วน
ดว้ ยกัน กา้ นใบและแผ่นใบมดั รวม
กันเปน็ ฟ่อน

ศตั รูทีส่ �ำ คญั การปฏบิ ัตหิ ลังการเก็บเก่ียว

- โรคใบเน่า/แอนแทรกโนส�เ�ก�ิด��จ�า��ก�เช�ื้อ��ร��า� �ป�อ้�� �ง�ก�นั �ก�ำ�� ��จดั��โ�ด�ย�เ�ก�็บ�� �ส�่ว��น�ใ�บ��ท�ีเ่�ป�็น�� �แผ�ล� - ก่อนเกบ็ เกี่ยวต้องรอใหต้ น้ กระเทียมเหลืองกอ่ นแล้วค่อยเก็บเกยี่ ว
ทิ้ง  จะทำ�ใหเ้ กบ็ ผลผลติ ของกระเทียมไดน้ าน
หรอื เผาไฟ หรอื ฉีดพน่ สารเคมี - เกบ็ รกั ษาโดยการมดั จกุ แล้วนำ�ไปแขวนไวใ้ นโรงเรือนเปดิ
- โรคเน่าคอดิน ปอ้ งกนั โดยหว่านเมลด็ พนั ธุบ์ างๆ อย่ารดนำ้ �มากเกนิ ไป ที่ถ่ายเทอากาศดี ไม่ถูกฝน นำ้ �คา้ ง แสงแดด 3 - 4 สัปดาห ์
- ไรขาว หากพบใหถ้ อนท้ิงทันที กระเทียมจะแห้งสนทิ  
- �เ�พ��ล�้ีย�ไ�ฟ�ห��อ�ม��ป��อ้�� �ง�ก�นั �ก�ำ�� ��จดั��โ�ด�ย��ใช�้ส��า�ร�เ�ค��ม�ี

เทคนคิ การปลกู และดแู ลรักษากระเทยี ม

1. การเตรียมการก่อนปลูก
1.1 ฤดูปลูก ส่วนใหญ่ปลกู  2 ช่วง คอื  

1) ช่วงเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน และเก็บเก่ยี วเดือนมกราคม - กมุ ภาพันธ์
อายุ 75 - 90 วัน กระเทียมรุ่นน้เี รยี กวา่ กระเทยี มเบา ใชท้ ำ�กระเทยี มดอง เก็บไวไ้ ด้ไม่นาน
เพราะฝ่อเร็ว

2) ปลูกช่วงเดือนธนั วาคม - มกราคม หลังการเกบ็ เกี่ยวข้าว และเก็บเก่ียวเดือน
มนี าคม - เมษายน อายุ 90 - 120 วนั  เรียกวา่ กระเทียมปี ใชท้ ำ�กระเทียมแหง้
เพราะสามารถเก็บไวไ้ ดน้ าน
1.2 พนั ธ์ุ ภาคเหนือนยิ มปลูกพันธพุ์ นื้ เมืองเชียงใหม่ เชียงราย ส่วนภาคตะวันออก
เฉยี งเหนอื นยิ มปลกู พนั ธพ์ุ น้ื เมอื งศรสี ะเกษ และภาคกลางนยิ มปลกู พนั ธบ์ุ างชา้ ง และพนั ธจ์ุ นี
หรอื ไต้หวัน แบง่ ได้ตามอายกุ ารแกเ่ กบ็ เก่ียวได้  ดงั น้ี
1) พนั ธ์ุเบา หรือพนั ธขุ์ าวเมอื ง ลกั ษณะใบแหลม ลำ�ตน้ แขง็  กลบี เทา่ หัวแม่มือ 
กลีบและหวั สีขาว มกี ลิน่ ฉุนและรสจัด อายแุ กเ่ กบ็ เกย่ี ว 75 - 90 วนั  เชน่  พนั ธุพ์ ื้นเมือง
ศรีสะเกษ 
2) พนั ธก์ุ ลาง ลกั ษณะใบเลก็ และยาว ลำ�ตน้ ใหญแ่ ละแขง็  หวั ขนาดกลาง หวั และ
กลีบสมี ว่ ง อายุเก็บเกีย่ ว 90 - 120 วัน นิยมปลกู ในภาคเหนือ เช่น พนั ธุ์พน้ื เมอื งเชยี งใหม ่

3)  พนั ธุ์หนกั   ลกั ษณะใบกวา้ งและยาว  ลำ�ตน้ เลก็   หวั ใหญ ่ กลบี โต  เปลือกห้มุ
สชี มพู น้ำ�หนกั ดี อายเุ ก็บเก่ียว 150 วัน เช่น พันธ์ุจนี หรอื ไตห้ วนั  
1.3 การเตรียมดิน ถา้ หากเป็นกรดจดั จะทำ�ใหก้ ระเทียมไมเ่ จริญ ใส่ปนู ขาวกอ่ น
ปลูก 15 วนั ขน้ึ ไป อัตรา 2,000 - 3,000 กรมั ตอ่ ไร่ เพือ่ ปรับดินใหเ้ ปน็ กรดออ่ นๆ
pH 5.5 - 6.8 จากนน้ั หวา่ นปุย๋ คอกหรอื ปุ๋ยหมัก 2 - 4 ตนั ต่อไร่

2. การปลูก
2.1 วธิ ีปลกู

- เลือกพันธ์ุกระเทียมที่มีความสมบูรณ์
ไมฝ่ อ่ ปราศจากโรคและแมลง แยกขนาดของกลีบ
กระเทยี มให้มีขนาดกลีบสมำ่ �เสมอ โดยคัดหวั ที่มี
ขนาดเดยี วกันปลูกลงในแปลงเดยี วกัน
- เตรยี มแปลงกวา้ ง 1 - 2.5 เมตร
ความสูงแปลง 20 เซนตเิ มตร
2.2 ระยะปลกู

- กระเทียมพนั ธเ์ุ บาหรือพนั ธุก์ ลาง
ระยะปลกู 15 - 20 เซนติเมตร X 15 - 20 เซนติเมตร
สำ�หรบั กระเทยี มพนั ธห์ุ นกั ใชร้ ะยะปลกู 12 เซนตเิ มตร

2

2.3 จำ�นวนต้น
- ใช้หวั พนั ธุ์กระเทียมพนั ธ์ุเบาหรือพันธกุ์ ลาง 100 กิโลกรัมต่อไร่ หรือกรณี

แกะกลบี 75 - 80 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ สว่ นกระเทยี มพนั ธห์ุ นกั ใหใ้ ชห้ วั พนั ธ์ุ 300 - 350 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
3. การดูแลรักษา
3.1 การใส่ปุย๋
- ใสป่ ยุ๋ 46 - 0 - 0 หรือ 21 - 0 - 0 เพื่อเร่งการเจรญิ เติบโตในระยะแรก อัตรา
25 - 30 กโิ ลกรมั ต่อไร่ เม่ือพืชอายุ 10 - 14 วนั หลังปลูก

- ป๋ยุ สตู ร 10 - 10 - 15 หรอื 13 - 13 - 21 อตั รา 50 - 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่
หวา่ นท่ัวแปลง เมือ่ อายุ 30 วนั หลังปลกู

3.2 การให้น้าํ
- ควรรดนำ้ �หลังปลูกทนั ที จากนน้ั ให้นำ้ � 3 - 5 วันต��อ่��ค����ร�งั้��
- หลงั ปลกู 30 วนั รดน้ำ�ทุก 7 - 10 วนั ต��อ่��ค����ร�ั้ง��
- เมอื่ กระเทียมอายเุ กนิ กวา่ 60 วนั ลดปรมิ าณน้ำ�ใหเ้ หลือ 2 ครัง้ �ต�อ่ �เ�ด��อื �น��

- งดน้ำ�เมอื่ กระเทยี มแก่จดั หรอื ก่อนเก็บเกีย่ ว 2 - 3 สปั ดาห์
3.3 การคลุมดนิ

คลุมดินหลังปลูกดว้ ยฟางข้าวแหง้ เศษหญา้ แห้ง หรอื เศษวสั ดทุ สี่ ามารถผุพงั
เน่าเปื่อยอื่นๆ เพ่ือควบคุมวชั พืชทีจ่ ะมีขนึ้ ในระยะแรก รกั ษาความช้ืนในดิน ประหยดั
ในการให้นำ้ � และลดอุณหภูมิลงในเวลากลางวนั ทำ�ใหก้ ระเทยี มสามารถเจรญิ เติบโตได้ดี

3.4 การกำ�จัดวัชพชื
กระเทยี มเปน็ พชื ทมี่ รี ากตืน้ ควรกำ�จัดวัชพชื ในระยะทีว่ ชั พืชเร่มิ งอก ถ้าหาก
ปลอ่ ยท้งิ ไว้ นอกจากจะแยง่ นำ้ � อาหาร และแสงแดดจากกระเทยี มแล้ว เมอ่ื ถอนจะทำ�ให้
รากของกระเทยี มกระทบกระเทอื นทำ�ใหช้ ะงักการเจริญเตบิ โต หรือทำ�ให้ต้นเหี่ยวตายได้
เมือ่ วัชพชื มขี นาดใหญ่ ควรใชม้ ดี หรือเสียมเลก็ ๆ กำ�จัดวชั พืชออก
4. ศตั รูพืชทส่ี �ำ คัญ

- โรคใบเน่าหรอื แอนแทรคโนส เกิดจากเชือ้ รา กำ�จดั โดยเกบ็ สว่ นใบทเี่ ป็นแผลทิ้ง 
หรอื เผาไฟ หรอื พน่ สารเคมี
- โรคใบจดุ สมี ว่ ง เกดิ จากเชอ้ื รา ปอ้ งกนั กำ�จดั คลา้ ยกบั โรคใบเนา่  หา้ มใชส้ ารกนั รา
ประเภทดูดซึม
- โรคหวั และรากเนา่ ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยใหข้ ดุ กระเทยี มและดนิ ทเ่ี กดิ โรคนำ�ไปเผาทำ�ลาย
เพ่ือป้องกันการแพรร่ ะบาด ในพน้ื ทีท่ พี่ บการระบาด ควรปรับปรงุ ดนิ โดยใส่ปนู ขาว
100 - 200 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ จะช่วยให้โรคนีช้ ะงกั ไปไดร้ ะยะหนงึ่ หรอื หายไป หรอื ควรปลูก
พชื หมนุ เวียนสลับอยา่ งนอ้ ยไม่ต่ำ�กว่า 5 ปี

3

- ไรขาวหรอื ไรหอมกระเทยี ม ป้องกนั กำ�จดั โดยหมนั่ ตรวจดแู ปลงกระเทยี ม 
หากพบพชื แสดงอาการ ใหร้ ีบถอนต้นพชื ท้ิง หรือฉีดพ่นสารเคม ี ทกุ 3  วันตอ่ ครงั้  
จนแน่ใจวา่ หยดุ ลกุ ลาม จงึ ฉดี สารเคมีใหม้ ีระยะหา่ งได้

- เพล้ยี ไฟ ป้องกันกำ�จดั โดยใชส้ ารป้องกนั กำ�จัดแมลง อตั ราตามคำ�แนะนำ�
5. การเกบ็ เกีย่ วและการปฏบิ ัติหลงั การเก็บเก่ยี ว
5.1 การเก็บเกยี่ ว ลักษณะการแกจ่ ดั ของกระเทียม สังเกตไดโ้ ดยมีตมุ่ หรอื หวั
ขนาดเล็กๆ เกดิ ขึน้ ทลี่ ำ�ตน้ ของกระเทยี มต้ังแต ่ 1 ตุ่มขนึ้ ไป ส่วนของยอดเจริญข้นึ มาหมด
แลว้ และกำ�ลังมีตน้ ดอกชขู ้ึนมา ใบกระเทยี มเรมิ่ แห้งต้ังแตป่ ลายใบลงมามากกว่า  30%
ใบหรือตน้ กระเทียมเอนหกั ลม้ นอนไปกบั พืน้ ดนิ  25% ข้นึ ไป ดอกหรอื โคนลำ�ค้น บบี ดูจะ
ร้สู กึ อ่อนนิม่ เกบ็ เกยี่ วได้ตามพันธ์ุ พนั ธุ์เบาอายุเก็บเกย่ี ว 75 - 90 วัน พนั ธุก์ ลางอายุเกบ็
เกยี่ ว 90 - 120 วนั พันธห์ุ นักอายุเก็บเกย่ี ว 150 วัน
5.2 วิธเี ก็บเกย่ี ว ถอนและตากแดดในแปลงไว ้ 2 - 3  ช่วั โมง โดยวางสลบั กันให้ใบ
คลมุ หัวเพื่อปอ้ งกนั ไม่ให้ถกู แสงแดดโดยตรง ตากไว ้ 2 - 3 วนั  ระวังอย่าให้ถูกฝนและน้ำ�
ค้างแรงในเวลากลางคืน นำ�มาผง่ึ ลมในทรี่ ่ม 5 - 7  วัน  ให้หวั และใบแหง้ ดี  หลงั จากนัน้
นำ�มาคัดขนาดและมัดจกุ
5.3 การเกบ็ รักษา กระเทยี มทม่ี ดั จกุ นำ�ไปแขวนไวใ้ นโรงเรอื นทม่ี กี ารถา่ ยเทอากาศด ี
ไม่ถกู ฝนหรือน้ำ�ค้าง รวมท้ังแสงแดด 3 - 4 สัปดาห์ จะทำ�ใหก้ ระเทยี มแห้งสนิทคณุ ภาพดี 
กระเทยี มหลงั จากเก็บ 5 - 6 เดือน จะสญู เสียนำ้ �หนักไปประมาณ 30% ถ้าหากเกบ็ ข้ามปี
สูญเสียน้ำ�หนกั  60 - 70%
5.4 การเก็บพันธไ์ุ ว้ใชเ้ อง เลอื กคดั หัวท่ีมลี ักษณะรูปทรงของพันธุด์ ี สมบูรณ์
ปราศจากโรคและแมลงทำ�ลาย และแกเ่ ตม็ ท่ี คดั หวั ขนาดกลาง มกี ลบี 3 - 6  กลบี  นำ�มาผง่ึ
ในที่รม่ จนแห้งดี ทำ�การมัดรวมกันแล้วแขวนไว้ในทร่ี ่ม มีลมพัดผา่ น การถ่ายเทอากาศดี 
ไม่ควรแกะกระเทยี มเปน็ กลบี ขณะเกบ็ รักษาเพราะจะทำ�ใหผ้ ลผลิตลดลง  เมอื่ แกะแลว้
ควรปลกู ทนั ที กระเทียมจะมีระยะพกั ตัว 5 - 6 เดือน ถา้ สภาพอากาศเหมาะสมกระเทียม
จะงอกตงั้ แตเ่ ดอื นกันยายนเปน็ ต้นไป กระเทยี มทเี่ ก็บรกั ษาไว้จะตอ้ งนำ�ปลกู กอ่ นเดือน
กมุ ภาพนั ธ์ุ ถ้าหากไมน่ ำ�ลงปลกู จะฝ่อเสยี หาย หรอื งอกทัง้ หมด

4

แนวทางการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิต และแหล่งสบื คน้ ข้อมูลเพ่ิมเตมิ

แนวทางการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิต
- การคดั เลอื กพันธุ์กระเทยี มปลกู กระเทียมเป็นพืชที่ขยายพันธ์ุด้วยหัว การปลกู จงึ ควร
คัดหวั ทดี่ ีโดยคดั เลือกจากต้นพนั ธุด์ ี มีลกั ษณะตรงตามพนั ธุ์ โดยเลือกหัวทีส่ มบรู ณ์
ปราศจากโรคและแมลงรบกวน
- การคัดขนาดกลบี กอ่ นการปลกู ควรเลือกใชห้ วั ขนาดกลางในการปลูก เนอ่ื งจากจะให้
ผลผลิตสงู สว่ นกระเทียมกลบี ใหญ่ จะมเี ปอร์เซน็ ตก์ ารเนา่ สงู เลือกขนาดกลีบสม่ำ�เสมอ
ปลกู ในแปลงเดยี วกัน
- การเตรียมแปลงปลูก เกษตรกรต้องเตรียมดนิ ใหเ้ สมอกนั เพือ่ ป้องกนั การขงั ของนำ้ �
ถา้ มนี ำ้ �ขงั จะทำ�ใหก้ ระเทยี มไมเ่ จรญิ เตบิ โต อาการใบเหลอื ง หวั เลก็ และกา้ นใบเปอ่ื ยยยุ่
- ดนิ ท่เี หมาะสมสำ�หรับการปลูกกระเทียม ควรเป็นดนิ ท่ีร่วนซยุ ระบายน้ำ�ไดด้ ี ถ้าเป็น
ดนิ เหนียวควรไถบุกเบิกก่อนพรวน ถา้ เปน็ ดนิ ร่วนใช้พรวนและยกแปลงเพื่อการให้นำ้ �
และระบายนำ้ �ได้ดี ไม่ควรปลูกกระเทยี มในดินทราย เพราะจะทำ�ใหก้ ระเทียมหัวเลก็
- การควบคมุ วชั พชื หลงั ปลกู ควรใชฟ้ างคลมุ แปลงเพอ่ื ควบคมุ วชั พชื ทจ่ี ะมขี น้ึ ในระยะแรก

เก็บความชน้ื และลดความร้อนเวลากลางวนั
- การเก็บเกี่ยว ก่อนเกบ็ เกย่ี วตอ้ งรอให้ตน้ กระเทยี มเหลอื งก่อนแล้วคอ่ ยเกบ็ เกย่ี ว จะ
ทำ�ให้เก็บผลผลิตของกระเทยี มได้นาน อายุของกระเทยี มตง้ั แต่เรมิ่ ปลูกจนถึงหัวแก่
เกบ็ เกย่ี วไดค้ วรมอี ายุ 110 - 120 วนั การเกบ็ เกย่ี ว กระเทยี มทแ่ี กจ่ ดั จรงิ จะใหก้ ระเทยี ม
มหี ัวแกรง่ สามารถเก็บรกั ษาไดน้ าน และมเี ปอรเ์ ซ็นต์การฝอ่ น้อยลง แต่หากเกบ็ เก่ียว
ชา้ เกินไปจะทำ�ให้กลบี รว่ งไดง้ า่ ย และไดก้ ระเทยี มท่ีมคี ณุ ภาพไม่ดี
- เกบ็ รกั ษากระเทยี ม ไมค่ วรเก็บในท่ีอบั ชืน้ เพราะจะทำ�ให้ราดำ�ระบาด ทำ�ให้เกดิ ความ
เสยี หายในโรงเกบ็ ควรมัดจุกแล้วนำ�ไปแขวนไว้ในเรอื นโรงเปดิ ทีม่ ีการถา่ ยเทอากาศดี 
ไมถ่ กู ฝน น้ำ�ค้าง แสงแดด  3 - 4 สปั ดาห ์ กระเทียมจะแหง้ สนิท คุณภาพดี
- การจำ�หน่าย สง่ เสริมให้เกษตรกรมกี ารจัดชั้นคุณภาพกระเทยี มกอ่ นขาย

5

แหล่งสบื คน้ ข้อมูลเพ่ิมเติม
กลุ่มส่งเสริมและพฒั นาการผลิต สำ�นกั งานเกษตรจังหวดั เชยี งใหม.่ 2555
สถานการณก์ ารผลติ กระเทียมจังหวดั เชยี งใหมป่ ีการผลิต 2554/2555.
กรมสง่ เสริมการเกษตร.
ชมรมการเกษตร .การปลกู กระเทียม. แหล่งท่มี า : http://myveget.com. 1 กุมภาพนั ธ์
2556.
สทุ ธวิ ิทย์ ศรีสวุ รรณ. 2556. การผลติ กระเทยี มปลอดภยั จากสารพิษ.
สำ�นักงานเกษตรจังหวดั เชียงใหม่ กรมส่งเสริมการเกษตร.
สำ�นกั ส่งเสรมิ และฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2556. กระเทียม.

แหล่งที่มา : http://www.eto.ku.ac.th/neweto/e-book/plant/herb_gar/galic.pdf.
8 กมุ ภาพนั ธ์ 2556.
หอ้ งสมดุ ความรกู้ ารเกษตร. กรมส่งเสริมการเกษตร. กระเทียม.
แหลง่ ทมี่ า : http://www.doae.go.th/library/ 15 กมุ ภาพันธ์ 2556.ฃ
 

6

ข้อมลู สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตและใหผ้ ลผลติ ของกระเทยี ม

สภาพแวดล้อม ความเหมาะสม ขอ้ จำ�กัด
- อณุ หภูมแิ ละความยาวของชว่ งวนั มผี ลต่อการแตกกอ
1.สภาพภมู อิ ากาศ - เติบโตได้ดที ่ีอณุ หภูมิ 9 - 28 องศาเซลเซยี ส และเจรญิ เติบโตของหวั ซ่งึ เป็นล�ำตน้ ใต้ดนิ ในเขต
1.1 อณุ หภูมิ - อณุ หภมู ิ 12 - 18 องศาเซลเซยี ส ชว่ ยสร้างราก ใบ อากาศร้อนแถบเสน้ ศูนย์สตู ร สามารถปลกุ กระเทยี มได้
และ ลำ�ต้นไดด้ ี สง่ ผลใหห้ วั ใหญ่ บนภูเขาสงู ทอี่ ุณหภมู ติ �่ำกวา่ บริเวณพนื้ ทรี่ าบ
1.2 ความช้ืนสมั พทั ธ์ - อุณหภมู 1ิ 0 - 15 องศาเซลเซียส เหมาะสมต่อการเจรญิ
1.3 ความยาวชว่ งแสง - กระเทียมเป็นพืชที่มรี ะบบรากต้ืน ดินท่ใี ชต้ อ้ งรว่ ยซยุ
ของหัว ระบายนำ้ �ไดด้ ี มีหน้าดินลึก
- ต่ำ�กวา่ 60 % - ถ้าปลกู ในดินทราย จะทำ�ให้กระเทยี มหัวเล็ก

- ความยาวชว่ งวนั มากกวา่ 12 ช่วั โมง จะชว่ ยกระตุ้น
การสรา้ งกลีบของหัว
- ตอ้ งการแสงแดด อยา่ งนอ้ ย 9 ชวั่ โมงต่อวนั

2. สภาพดิน - การระบายนำ้ � ระบายได้ดี
- มีปรมิ าณอินทรยี วตั ถุสงู
2.1 ลกั ษณะของหน้าดนิ - ดินท่ีเหมาะสม คอื ดนิ ร่วนซยุ ดินรว่ นปนทราย
2.2 ความลกึ ของหนา้ ดนิ - ความลึกของหนา้ ดิน 20 เซนตเิ มตร
- pH 5.5 - 6.8

7 3. สภาพน้ำ� - ต้องการนำ้ �เพยี งพอตลอดปี

กระเจี๊ยบเขยี ว ขน้ั ตอนการปลูกและการดแู ลรักษากระเจี๊ยบเขียว

การเตรียมการ 20 วัน 40 วนั 60 วัน 80 วนั 100 วนั 120 วัน

การเตรียมดนิ การปลกู การใส่ป๋ยุ การเกบ็ เก่ียว การตัดแต่งตน้
- ไถตากดนิ 15 วัน - หยอดเมล็ด หลมุ ละ 2-3 เมลด็ - อายุ 10 วนั ใส่ปยุ๋ 21 - 0 - พชื อายุ 45 วัน เร่มิ เก็บ - เมื่อเก็บฝักไดป้ ระมาณ 1.5 - 2
- ใส่ปุ๋ย 15 - 15 - 15 - ระยะปลูก ขึนกับพันธ์ุ -0 ผลผลิต เดอื น ควรตดั ตน้ ให้เหลอื ตาสำ�หรับ
อัตรา หรือ 46-0-0 หรอื 15 - 15 - - เก็บผลผลติ ทุกวัน นาน แตกกง่ิ แขนง 6 - 7 ตา และให้เหลอื
20 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ การให้น�ำ้ 15 อัตรา 20 กิโลกรมั ต่อไร่ 2 เดือน ตอสงู 50 - 70 เซนตเิ มตร
- ใสอ่ ินทรยี วตั ถุ 2 ตนั ต่อไร่ - อย่าปล่อยให้ดนิ แห้ง โดยเฉพาะ - อายุ 30 วัน ใสป่ ยุ๋ 15 - 15 - ควรเก็บแต่เช้า - ใส่ปุ๋ย 46-0-0 หรือ 15-15-15
- ปรับสภาพความเปน็ กรด - ตดั ขัว้ ให้ตรง มีก้านตดิ อัตรา 20 กโิ ลกรมั ต่อไร่
เป็นด่างของดินใหม้ ีคา่ ชว่ งออกดอกและติดฝกั -15 อตั รา 20กิโลกรมั ตอ่ ไร่ 1 เซนติเมตร - อกี ประมาณ 20 วัน จะสามารถ
- ใหน้ ำ้ �สม่ำ�เสมอ ประมาณวนั ละ และใสท่ กุ 20 วัน เกบ็ ผลผลติ ไดอ้ ีก 2 – 3 เดอื น
6.5 - 7.5 8 มิลลิลิตรต่อตน้
การเตรียมพนั ธุ์ - ให้นำ้ �แบบเฉพาะจดุ

- แช่เมล็ดในนำ้ �นาน ศตั รูทสี่ �ำ คญั และการปอ้ งกันก�ำ จดั
12 - 16 ชว่ั โมง 1. โรคใบจดุ เกดิ จากเช้ือรา ป้องกันโดยเกบ็ ใบท่เี ปน็ โรคมาเผาทำ�ลาย 2. โรคฝกั จุดหรือฝกั ลาย
- ผงึ่ เมล็ดให้หมาด เกิดจากเชอ้ื รา ระบาดมากในฤดูฝนถึงฤดูหนาว ป้องกนั โดยเกบ็ ฝักท่เี ปน็ โรคมาเผาทำ�ลาย คลกุ เมล็ด
- นำ�ไปปลกู ดว้ ยสารป้องกันกำ�จัดโรคพชื 3. โรคฝกั จุดหรือโรคแอนแทรคโนส เกดิ จากเชือ้ รา ระบาดมากในฤดูฝน
และฤดหู นาว ป้องกนั โดย เกบ็ ฝักกระเจย๊ี บเขียวท่เี ปน็ โรคมาเผาทำ�ลาย 4. หนอนกระทหู้ อม ระบาด
การปฎิบตั ิหลงั การเกบ็ เกีย่ ว มากชว่ งเดอื นเมษายน - มถิ นุ ายน ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยเกบ็ ทำ�ลายกลมุ่ ไขห่ รอื ตวั หนอน 5. เพลย้ี จกั จน่ั ฝา้ ย
- รีบขนสง่ โดยเร็ว ไม่วางภาชนะทใี่ สผ่ ลผลติ ซ้อนกนั หากไม่มรี ถ ระบาดมากช่วงเดอื นมนี าคม - สิงหาคม ปอ้ งกนั โดยเลอื กใชส้ ารเคมตี ามคำ�แนะนำ�
6. หนอนกระทผู้ กั พบระบาดตลอดฤดูปลูก ปอ้ งกันโดยทำ�ลายกล่มุ ไขห่ รอื หนอน หากระบาดรุนแรง
ห้องเยน็ ควรทำ�ให้ภาชนะท่ใี สผ่ ลผลิตโปร่ง ไมป่ ิดทบึ เลือกใชส้ ารเคมตี ามคำ�แนะนำ� 7. หนอนเจาะสมอฝา้ ย ระบาดมากช่วงเดือนตลุ าคม - ธันวาคม
- เกบ็ รกั ษาผลผลิตกระเจี๊ยบเขยี วในห้องเย็นอณุ หภมู ิ 10 - 15 ํC ปอ้ งกนั โดยทำ�ลายหนอนและกลุ่มไข่ 8. เพลย้ี ไฟ ระบาดมากในสภาพอากาศแห้งแลง้ ป้องกนั โดย
เลือกใช้สารเคมีตามคำ�แนะนำ�

เทคนิคการปลูกและดแู ลรกั ษากระเจ๊ียบเขยี ว

1. การเตรียมการกอ่ นปลูก
1.1 การเตรยี มพันธุ์ แชเ่ มลด็ ในนำ้ �เพ่ือให้เมล็ดดูดน้ำ�กอ่ น 12 - 16 ชัว่ โมง นำ�มาผงึ่
ใหแ้ ห้งพอหมาด
1.2 การเตรียมแปลงปลูก ไถตากดนิ 15 วนั ใส่ปูนขาวเพ่อื ปรับสภาพความเป็นกรด
เป็นด่างของดนิ ใหม้ ีคา่ 6.5 – 7.5 ใสป่ ุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 อตั รา 20 กิโลกรัมตอ่ ไร่
ใสอ่ นิ ทรยี วตั ถทุ ส่ี ลายตวั แลว้ อตั รา 2 ตนั ตอ่ ไร่ พรวนดนิ ใหร้ ว่ นละเอยี ด หากเปน็ ดนิ เหนยี วหนกั
ควรยกเป็นแปลงลกู ฟกู ข้นึ เพอื่ ช่วยให้มีการระบายน้ำ�ดีและช่วยให้การหมนุ เวียนถา่ ยเท
อากาศในดนิ ดี�แ���ป�ล�ง�ป�ล�กู �อ��าจ�ท�ำ����ได��้ท�้ัง�แ��บ�บ��ร�่อ�ง�ส�ว�น��แ�ล��ะ�แ�บ�บ��ไ�ร�่

2. การปลกู
หยอดเมล็ดลงในแปลงปลูกโดยตรง หลมุ ละ 2 – 3 เมล็ด พ้ืนที่ 1 ไร่ใชเ้ มลด็ พันธ์ุ
ประมาณ 1 กิโลกรมั ระยะหา่ งระหวา่ งต้นและแถวข้นึ กบั พันธุ์ พันธุข์ องญ่ปี นุ่ เปน็ พนั ธ์ุ
ทใ่ี ช้ระยะปลกู 20 - 30 x 50 - 60 เซนตเิ มตร พนั ธุข์ องอนิ เดียเป็นพนั ธ์ทุ ใี่ ชร้ ะยะปลกู
80 x 80 เซนตเิ มตร พนั ธท์ุ ่มี กี ารแตกแขนงมากควรมรี ะยะห่างมาก

3. การดแู ลรกั ษา
3.1 การใหน้ �ำ้ ก��ร�ะ�เจ�๊ยี��บ��เ�ข�ยี��ว�ช�อ��บ�ค�ว�าม�ช�้ืน��ป��า�น�ก��ล�า�ง��ค�ว��ร�ให��้น�้ำ����อ�ย�า่��ง�ส�ม�ำ่�� �เ�ส�ม��อ�
โดยเฉพาะช่วงออกดอกและตดิ ฝัก วธิ ีการให้นำ้ �ท่ีเหมาะสมทีส่ ดุ คือ ให้น้ำ�แบบเฉพาะจุด
ได้แก่ มินิสปรงิ เกลอร์ น้ำ�หยด

3.2 การใส่ปุย๋
คร้ังที่ 1 พืชอายุ 10 วัน ใส่ปุย๋ สูตร 21 - 0 - 0 หรอื 46 - 0 - 0 หรอื 15 - 15
- 15 อัตรา 20 กโิ ลกรัมต่อไร่ ข้ึนอยู่กับสภาพดนิ ในพื้นท่ีที่มอี นิ ทรยี วัตถุสงู โดยเฉพาะ

แปลงทป่ี ลูกผักกนิ ใบมากอ่ น ไม่จำ�เปน็ ตอ้ งใชป้ ๋ยุ ที่
มไี นโตรเจนสูง

คร้ังที่ 2 พืชอายุ 30 วัน หรือเรมิ่ ออกดอกชดุ แรก
ใสป่ ๋ยุ สูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่
และใสป่ ยุ๋ ทกุ 20 วัน

3.3 การตัดแต่งตน้ เม่ือเกบ็ ฝักไดป้ ระมาณ
1.5 - 2 เดอื น ฝกั ทแ่ี ตกยอดจะเรม่ิ หมดและไมแ่ ขง็ แรง
จะมีกิง่ แขนงเกดิ ออกมาจากขา้ งลำ�ตน้ ควรตดั ต้น
ประธานทง้ิ เพอ่ื ใหแ้ ตกแขนงใหม่ โดยตดั ใหเ้ หลอื ตา
สำ�หรับแตกก่ิงแขนง 6 - 7 ตา และให้เหลอื ตอสูง
ประมาณ 50 - 70 เซนตเิ มตรจากพ้นื ดิน หลังจาก
ตดั ตน้ แลว้ ควรใสป่ ยุ๋ สตู ร 46 - 0 - 0 หรอื 15 - 15 - 15

9

อตั รา 20 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ เพื่อเร่งการแตกแขนง หลังจากนั้นประมาณ 20 วัน จะเรมิ่ เก็บ
ผลผลติ ได้อกี ครัง้ โดยสามารถเกบ็ ผลผลติ ไดต้ ่อไปอีกประมาณ 2 - 3 เดือน

4. การปอ้ งกนั ก�ำ จัดศตั รพู ืช
4.1 โรคใบจดุ เกิดจากเช้ือรา ระบาดมากช่วงปลายฤดูฝน และรุนแรงมากข้นึ ใน
ฤดูหนาว ตามแหลง่ ปลูกทม่ี ีความชืน้ สูง ป้องกันกำ�จัดโดยเกบ็ ใบทเ่ี ป็นโรคไปเผาทำ�ลาย
4.2 โรคฝักจดุ หรอื ฝกั ลาย เกิดจากเชื้อรา ซง่ึ ตดิ มากับเมล็ดพนั ธ์แุ ละระบาด
มากในฤดฝู นถงึ ฤดหู นาว โดยเฉพาะในแหลง่ ปลกู ทม่ี คี วามชน้ื สงู ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยเกบ็ ฝกั ท่ี
เปน็ โรคไปเผาทำ�ลาย คลกุ เมลด็ ดว้ ยสารปอ้ งกนั กำ�จดั โรคพืช
4.3 โรคฝกั จดุ หรอื โรคแอนแทรคโนส เกดิ จากเชอ้ื รา ระบาดมากในฤดฝู นและ
ฤดหู นาวทม่ี หี มอกและนำ้ �คา้ งหรอื แหลง่ ปลกู ทม่ี คี วามชน้ื สงู โดยเฉพาะการปลกู แบบรอ่ งจนี
ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยเก็บฝกั ท่เี ปน็ โรคไปเผาทำ�ลาย
4.4 หนอนกระท้หู อม ระบาดมากชว่ งเดอื นเมษายน - มิถุนายน ป้องกนั กำ�จดั
โดย เก็บทำ�ลายกลุ่มไข่หรอื ตวั หนอน หากระบาดรนุ แรง ใชเ้ ชื้อจุลินทรีย์ ไวรัส (เอ็น พี วี)
ของหนอนกระทู้หอม ฉีดพน่ ทุก 5 วนั ต่อครงั้ ในชว่ งเวลาเยน็
4.5 เพลย้ี จักจ่ันฝา้ ย ระบาด
มากช่วงฝนตกท้ิงช่วงนานๆ ตง้ั แต่
เดอื นมีนาคม - สงิ หาคม ปอ้ งกนั กำ�จดั โดย
เลอื กใชส้ ารเคมใี หเ้ หมาะสม ตามคำ�แนะนำ�
เมื่อพบตัวอ่อนเพลี้ยจก๊ั จน่ั ฝ้ายมากกวา่
1 ตัวต่อใบ
4.6 หนอนกระทู้ผัก พบระบาด
ตลอดฤดปู ลกู ป้องกันกำ�จดั โดยทำ�ลาย
กลุม่ ไข่หรอื หนอน หากระบาดรนุ แรง เลือก
ใช้สารเคมีด้วยความรอบคอบและใช้ตาม
คำ�แนะนำ�
4.7 หนอนเจาะสมอฝ้าย ระบาด
มากช่วงเดือนตุลาคม - ธันวาคม ปอ้ งกัน
กำ�จดั โดยทำ�ลายหนอนและกลุ่มไข่ หาก
ระบาดรนุ แรง ใช้เชื้อไวรัสของหนอนเจาะ
สมอฝา้ ยฉดี พน่ ทุก 4 วนั ตดิ ต่อกนั 4 - 5
วันต่อครงั้
4.8 เพล้ียไฟ ระบาดมากในสภาพอากาศแห้งแล้ง ปอ้ งกนั กำ�จัดโดยเลอื กใช้
สารเคมีด้วยความรอบคอบและใชต้ ามคำ�แนะนำ�

10

5. การเก็บเกีย่ ว
เมื่ออายุประมาณ 45 วัน เรมิ่ เกบ็ ผลผลติ และเก็บทุกวันนาน 2 เดอื น หลงั จากนนั้
หากมกี ารตดั แตง่ ตน้ จะสามารถเก็บผลผลติ ไดอ้ ีก 2 - 3 เดือน การเกบ็ ฝักกระเจี๊ยบเขยี ว
ควรเกบ็ ตั้งแตเ่ ช้าไมเ่ กนิ 9 นาฬกิ า โดยใช้มีดหรือกรรไกรตัดกระเจี๊ยบเขยี วทลี ะฝกั วางใน
ภาชนะ อยา่ โยน การตัดขว้ั ต้องตดั ให้ตรง มกี ้านตดิ ไมเ่ กนิ 1 เซนตเิ มตร ระวงั อย่าใหเ้ ปน็
ปากฉลาม เพราะจะขดี ขว่ น หรอื ทำ�ใหฝ้ กั อน่ื เสยี หายได้ ควรสวมถงุ มอื ผา้ ทบั ดว้ ยถงุ มอื ยาง
เพอื่ ปอ้ งกนั การระคายเคืองจากขนของกระเจ๊ยี บเขยี ว และภาชนะท่ีใสผ่ ลผลิตระหวา่ ง
เก็บเกี่ยว ควรบรรจไุ ดไ้ มเ่ กนิ 3 กโิ ลกรัม
6. การปฏิบัติหลงั การเกบ็ เก่ยี ว
6.1 การขนสง่ รบี ขนส่งโดยเรว็ ไมว่ างภาชนะทใ่ี สผ่ ลผลติ ซ้อนกนั หากไม่มีรถ
ห้องเย็น ควรทำ�ให้ภาชนะท่ีใส่ผลผลติ โปร่ง ไม่ปดิ ทบึ
6.2 การคดั การบรรจหุ บี ห่อและการแปรรูป ทำ�โดยลา้ งผลผลิตด้วยน้ำ�ให้สะอาด
ผึง่ ลมให้แหง้ เกบ็ รกั ษาผลผลติ กระเจ๊ยี บในหอ้ งเย็นอุณหภมู ิ 10 - 15 องศาเซลเซียส

11

12 ขอ้ มลู สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและใหผ้ ลผลิตของกระเจี๊ยบเขียว

รายการ ความเหมาะสม ขอ้ จ�ำ กดั / รายละเอียดเพิ่มเติม
1.สภาพภมู อิ ากาศ
- อุณหภมู ิ - อุณหภูมกิ ลางวัน 18 – 35 องศาเซลเซยี ส - ไม่ทนตอ่ สภาพน้ำ�คา้ งแข็ง
- อุณหภูมิกลางคืนควรสงู กว่า 19 องศาเซลเซียส - ถ้าอุณหภมู ิดินตำ่ �กว่า 16 องศาเซลเซยี ส กระเจี๊ยบเขยี ว
- อณุ หภมู สิ ำ�หรบั การงอกของเมลด็ 30 – 35 องศาเซลเซยี ส จะงอกได้ช้าลง

- ความยาวชว่ งแสง 12 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า - ไมท่ นต่อสภาพน้ำ�ท่วมขงั
2.สภาพพ้ืนท่ี - หากดินเปน็ ดนิ หนัก ควรยกแปลงเป็นลูกฟกู เพื่อช่วยให้
- ความลาดเอียงของพน้ื ท่ี - มีความลาดเอยี งในระดบั 5 % และไมม่ ีนำ้ �ทว่ มขงั ระบายน้ำ�และอากาศถ่ายเทดี ทำ�ใหพ้ ืชดดู ธาตุอาหารได้ดขี ้ึน
3. สภาพดิน
- ลักษณะของเนื้อดิน - ดินร่วนปนทราย ระบายน้ำ�ดี ไม่ชอบความชน้ื มากเกนิ ไป - ควรมกี ารวเิ คราะห์ดินเพอื่ สามารถจดั การดนิ และธาตุ
- ไมน่ อ้ ยกว่า 1 เมตร อาหารพืชไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
- ความลึกของหน้าดนิ 6.5 - 7.5
- ความเปน็ กรดเปน็ ดา่ ง (pH) ไนโตรเจน 38.4 กก./ไร่ ฟอสฟอรัส 27.5 กก./ไร่
4. ความตอ้ งการธาตุ โพแตสเซียม 46 กก./ไร่
อาหารของพืช

5 สภาพน�ำ้ วนั ละ 8 มิลลลิ ิตรต่อตน้
- ปรมิ าณน้ำ�ทต่ี อ้ งการ

แนวทางการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ และแหล่งสืบค้นข้อมลู เพ่มิ เติม

แนวทางการเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิต
1. การตรวจวเิ คราะห์ดนิ เพอื่ เพ่มิ ปรมิ าณธาตอุ าหารได้ตรงตามความต้องการ
ของพืช เนอื่ งจากกระเจ๊ียบเขียวเป็นพืชที่ตอบสนองไดด้ ีกับปุ๋ย โดยเฉพาะปยุ๋ ไนโตรเจน
หากไดร้ ับปุย๋ ไนโตรเจนมากเกินไป จะทำ�ให้เฝอื ใบ ฝักโตเรว็ เกินไป ทำ�ใหอ้ ่อนแอต่อการ
เกดิ โรค และฝักจะชำ้ �ง่าย
2. การตดั ใบเพอ่ื ใหต้ น้ โปรง่ ชว่ ยลดการเกดิ โรคจากเชอ้ื ราและการรบกวนของแมลง
นอกจากนย้ี งั ทำ�ใหแ้ สงแดดสอ่ งถงึ ฝกั ดา้ นลา่ ง ทำ�ใหฝ้ กั มสี เี ขยี วสมำ่ �เสมอ ไมซ่ ดี การตดั ใบ
ทำ�ได้ในระหว่างการเกบ็ เกยี่ ว คือให้ตดั ใบทงิ้ ทลี ะใบพรอ้ มๆ กับการตัดฝกั ทุกคร้งั
3. การยดื อายุการเก็บรกั ษาผลผลติ ทำ�การลดอณุ หภูมขิ องผลผลิตจากแปลง
โดยการล้างผลผลติ ดว้ ยนำ้ �เย็นทส่ี ะอาดจำ�นวนมาก อาจผสมคลอรนี 200 ppm เพอ่ื ฆ่า
เช้อื โรค หลังจากน้นั แช่ในนำ้ �เยน็ เพอ่ื ให้กระเจ๊ียบเขียวมอี ุณหภูมิลดลงเหลอื 10 - 15 oC
แลว้ บรรจหุ บี ห่อ
4. การเกบ็ ผลผลิต ควรเก็บทกุ วนั ใหห้ มด ไม่ควรปล่อยฝกั ใหเ้ หลืออยู่บนตน้
เนื่องจากตน้ จะตอ้ งสง่ อาหารมาเลีย้ งฝกั ทำ�ให้ผลผลิตตำ่ �
แหล่งสบื คน้ ข้อมลู เพ่มิ เตมิ
จิราภา จอมไธสง. 2548. กระเจ๊ยี บเขียว. กลมุ่ ส่งเสริมการผลิตผักสำ�นักสง่ เสริมและ
จัดการสินค้าเกษตร กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
นิยมรัฐ ไตรศรี และลักษณา วรรณภรี .์ 2533. โรคกระเจีย๊ บเขียว. เอกสารประกอบ

การสมั มนา สนทนาปญั หาโรคพืช. 13 ธันวาคม 2533. สมาคมนกั โรคพชื แห่ง
ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพช์ วนพิมพ.์
ชำ�นาญ ทองกลัด และนรินทร์ พูลเพิ่ม. ไม่ปรากฏปีทพี่ มิ พ.์ การปลกู กระเจีย๊ บเขียว.
ศูนยว์ ิจยั พืชสวนพิจิตรและ สถาบนั วิจยั พชื สวน, กรมวิชาการเกษตร.
เบญจวรรณ ชตู ิชูเดช. 2534. การศึกษาดัชนกี ารเกบ็ เกีย่ ว การท�ำ precooling การ
บรรจุและการเกบ็ รกั ษาฝกั กระเจีย๊ บเขียว. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาโท มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
ปยิ รตั น์ เขยี นมีสุขและอนันต์ วัฒนธญั กรรม. “แมลงศตั รกู ระเจีย๊ บเขยี ว”. วารสารเคหะ
การเกษตร ปที ี่ 14 ฉบับท่ี 3 มนี าคม 2533.
สมพร ทรพั ย์สาร.ไม่ปรากฏปีท่พี ิมพ์. กระเจี๊ยบเขยี วฝักสด. (อดั สำ�เนา)
ศูนย์วิจัยพืชสวนพิจิตร.2532. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรการปลูกพริก

และกระเจ๊ียบเขียว. 16 สงิ หาคม 2532. ฝา่ ยฝกึ อบรม สถาบันวิจัยพชื สวน
กรมวิชาการเกษตร.

13

กะหล่�ำ ดอก 20 วัน ขั้นตอนการปลกู และการดูแลรกั ษากะหล�ำ่ ดอก 80 วนั 95 วนั

การเตรียมการ 35 วนั 50 วนั 65 วัน

---- ดตยใใรไอสสถอินกาตัป่ป่ดงกแรพินนูุ๋ยดกปาอลื้นขนิาล1ึการนิปง55วเปทุ๋ยต1--ตลรส725ราียูก0ตู-ยีมว2์รม1ันคก0ก่า4ดตซว6.ิน/ันมิเ-ไค0ร/.ไร-่ ร0า่ ะห์ - แซปครรจ6ำะดปมลล�,7ยนนมุ.ลูกก0ะว้ำงดเา�0ปปนใ้วรหล็นตยตปชู้กหน้ฟ้นลมุ่ ล/า4กู 6ไมุง0ร,ข4บ่x้า06นว00- - 1กใหส5กล-่ป.1ัง/๋ยุย5ไรส-้า่1กยูต5าปรรอล1ใตักูส3ร-ป่ 13า3ุ๋ย05--24010-1หว0รัน0อื --- - คถดปกรใคหะา้าอววรย้นรขรริมกสใใะาำ้าล�หหดกรดณกด้า้้ดนำนูต�ลางแลนิำ้้ำา�รตงล�อังชมใจาเะน้ืผยะหสจดคพกลา่รภน้อณุงรญิผอา�้ำกพะลพภเเทหอิตตทาดบมเตบิพำนิพ�ตาำ่ใโ �ยีหตะอ่ ง ้ - --จพหม14ดกกะ0นิรีขราาสทวอืนแรรปันกำวลกกค�าพนัดดาะด่อล�ำ หรนรใาิ จมุนสอ้พห1ลัดปด่เ6ม0งั์กรย๋อุ5วปกว็บเ--ัชกคบัล7นเทพ1มกูก0กด6ชำีาีย่ืช�วินวเ่รวแมนัซงพอ่ืลม3รดะ.ว0อน- ก
-- -
--- --2 อขเใอเ-รมช3นา่อยี ม้ือ่ ยา นบดีดดตุ เ ตอปมา1ัดกมนกสี็ 0โกพาีคกค-ระ1รอ้นันเหีม6นกธใลขห็บ์ุเซกาำ่ ม้�เมใวาโกบตีใ.ะหย่ีบเตหนวตตวัรา้ม็ดิกอื ดทมนันอ่ีาแับดกน อน่ ก

การเตรยี มพนั ธุ์
- เลือกพันธุท์ ่ีเหมาะสมกบั พ้ืนท่ี
- เพาะกล้าอายุ 30-40 วัน มีใบจรงิ 3-4 ใบ

แโปดปหจรานออ้มุ๋ยค กกะงอุนเเกนนกินชเนัวะ่าำือ้ท�ยีหกดแโแรหนำลำรียบ��มรำ่คจ�จ์เคหือดัลำกทเทโ�าใมงิดดนชส่ีกเีทอ่ืจยร้เวำ�เชพ่ีสียากในค้ือชกบดิำ�มญัปส้แเคโดชาารอ้บญัอกือ้รคงคเกโแกคครแทกนบัวคมหลีเะรโรครปีะนหดงียาทอเ้ดอยลกมบีเงำก่รนรป�อื่ากทะียาใซมนพัมแ่ยีรลิ กปปบดสัผจลำดร้อลไกัา�สัะสจงงกูกดัทวอ้เปกศพไดงแัราสันอ้ ัตอืชอืมูรก้เกงยตรินดนลากำทูา่รือรงเฝ�นัจใะใจป่สีนอหหัดกนกร�ำฝยเ้โต้ำลูซะกคด�อรดัเสิกจดิ ภยัญะัดยเฉะแผบใทโหผชดีาปดาดล้เลพทยด้อดูมบำ่ำน่ใค�งซ�ลอชลนกทวมึด็ าส้ยดันรฉำทยา�า่เอลกดีปรี่ปงกาำพเนลล�คกยนจ่้อ่ยีอะมัดตนหยหดโีกาดนไโลำ3มปร�ยำอ่ ค�จคปไปดันกำถล�แตีเำแตจูก�ลวันจาาพโดะหั ะะกรคแชืนนยคดมวอออเำนิ �นรล่ืนดนใปงา่ หกตทลเ1ะล้ลาก่-ีกู ห2กึมะดัพลคกปเใชืำ่ กำ�นิส�ี ิด่ -- จรกปหคตกำะอ่�ลฏดัาาหเงันบิเมหรกกนตักปรยราา่ะงิาฏดรยาแยรเตบินกเละกาบ็ตตัเะมบ็วอ้เใิกมลกหเงอ่กย่ีาาอใ้ ่ยีนทตวบยวรแป่ีเหู่คหฐลลคา่วาีย่ งอะรวนวจรหรดแเบีางลภลลกดน็กัยังะสกำนกก�ง่ิเาคขปาาอ้ ราว้รรฏยใทบรเหกิเเกร่ีรพ้นลกู ม่ร็บอ่ืเ็บำ้จหพ�เแมภเุกรอ่ืกลใิณัอื่ียปีย่หะโวฑวอ้รง้ใบงผดง์ เเกลแกรกนัอืผลาบ็ เรนละรชใกกติทัอ้ชื า้ษมใ่ีส้โนนรากีาคชผแารป่วรลตเครนงผกะแมเลปบปดีปติ อ้อ้าืดใอ้ งยนนเงกพอทกนัทาอ่ืเ่ีันยกกำใ�กคน็หาาำศวรแ้น�เาดจล้ำนดัม�ีะคสา่ศสรา้เถบีะัตสงาอสรียนูพาง่ ทอดืช ่ีอก

เทคนิคการปลูกและดแู ลรกั ษากะหลำ่� ดอก

1. การเตรยี มการกอ่ นปลกู
1.1 การเตรียมดนิ ปลูก
1) ไถพลกิ ดนิ ใหล้ ึก 15 - 20 เซนติเมตร
ตากดนิ ไว้ 5 - 7 วนั เกบ็ เศษหญา้ เศษวชั พชื ออกใหห้ มด
2) ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักท่ีสลายตัวดีแล้ว
ไรล่ ะ 1 ตนั คลกุ เคลา้ กับดนิ ยอ่ ยหนา้ ดนิ แต่ไม่ควร
ละเอียดเกนิ ไป
3) ถ้าดินเป็นกรดควรใส่ปูนขาวเพื่อปรับ
สภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินให้อยู่ในช่วงที่
เหมาะสมตามคา่ วิเคราะหด์ นิ
4) ยกแปลงปลกู ตามขนาดทต่ี อ้ งการหรอื ปลกู ในพน้ื ทส่ี งู แลว้ แตร่ ะบบการปลกู พชื
5) รองก้นหลุมดว้ ยปุ๋ยไนโตเจน สตู ร 46 - 0 - 0 อัตรา 15 - 20 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
1.2 การเตรียมพันธุ์
1) พันธ์ุกะหล่ำ�ดอก แบ่งตามอายุการเกบ็ เกยี่ วได้ 3 กลมุ่
- พนั ธุ์เบา เปน็ พนั ธ์ุทมี่ อี ายุการเกบ็ เกยี่ วสัน้ ประมาณ 60 - 75 วัน
- พนั ธก์ุ ลาง เปน็ พนั ธท์ุ ม่ี อี ายกุ ารเกบ็ เกย่ี วปานกลาง ประมาณ 80 - 90 วนั
- พนั ธห์ุ นกั เปน็ พนั ธท์ุ ม่ี อี ายกุ ารเกบ็ เกย่ี วยาวนาน ประมาณ 90 - 150 วนั
ปจั จบุ นั ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ พนั ธจ์ุ ากหนว่ ยงานราชการและบรษิ ทั เอกชน เพอ่ื ใหไ้ ด้
พนั ธท์ุ เ่ี หมาะสมกบั ประเทศไทย และสามารถปลกู ไดใ้ นสภาพภมู ปิ ระเทศและอากาศทห่ี ลากหลาย

2) การเพาะกลา้ เตรยี มแปลงเพาะกลา้ ไถดนิ ลกึ ประมาณ 10 - 15 เซนตเิ มตร
ตากดนิ ทง้ิ ไวป้ ระมาณ 5 - 7 วนั ใสป่ ยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั ทส่ี ลายตวั ดแี ลว้ คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กบั ดนิ
พรวนยอ่ ยชน้ั ผิวดนิ ใหล้ ะเอยี ด ยกแปลงเพาะแลว้ ทำ�การหวา่ นเมลด็ ใหก้ ระจายทว่ั พน้ื ผิว
แปลงเพาะอยา่ งสมำ่ �เสมอ อยา่ หวา่ นใหแ้ นน่ แลว้ กลบดว้ ยดนิ ละเอยี ดผสมปยุ๋ คอกหรอื
ปยุ๋ หมกั หนา 0.6 - 1 เซนตเิ มตร หรอื ทำ�รอ่ งเปน็ แถวลกึ ประมาณ 1.5 – 2 เซนตเิ มตร หา่ งกนั
ประมาณ 10 - 15 เซนตเิ มตร แลว้ กลบดว้ ยดนิ ละเอยี ดผสมปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั คลมุ ดว้ ย
ฟางหรอื หญา้ แหง้ สะอาดบางๆ รดนำ้ �ใหช้ มุ่ เมอ่ื ตน้ กลา้ งอกเรม่ิ มใี บจรงิ ควรถอนแยกตน้ ท่ี
ออ่ นแอไมส่ มบรู ณแ์ ละขน้ึ เบยี ดกนั แนน่ เกนิ ไปออก ใหม้ รี ะยะหา่ งระหวา่ งตน้ ประมาณ 3 - 5
เซนตเิ มตร ชว่ งนค้ี วรใหป้ ยุ๋ พวกสารละลายสตารท์ เตอรโ์ ซลชู น่ั แกต่ น้ กลา้ และหมน่ั ตรวจดแู ล
ปอ้ งกนั โรคและแมลง จนตน้ กลา้ อายปุ ระมาณ 30 - 40 วนั มใี บจรงิ 3 - 4 ใบ ตน้ สงู ประมาณ
10 - 12 เซนตเิ มตร จงึ ยา้ ยปลกู
2. การปลกู

1) รองกน้ หลุมด้วยปุ๋ยเคมีสตู ร 46 - 0 - 0 อัตรา 15 - 20 กิโลกรัมต่อไร่

15

2) ทำ�การยา้ ยกลา้ ท่สี มบรู ณล์ งแปลงปลูก ไมค่ วรปลอ่ ยใหต้ น้ กลา้ มอี ายุแก่
เกนิ ไป รากอาจเกดิ การกระทบกระเทอื นไดง้ ่ายขณะทำ�การย้าย จะทำ�ให้ชะงักการเจริญ
เตบิ โต ก่อนย้ายตน้ กลา้ ให้รดนำ้ �บนแปลงเพาะกล้าให้ชุ่มแตไ่ ม่แฉะ เลอื กยา้ ยกลา้ ในวนั ที่
แสงแดดไม่จดั และยา้ ยในเวลาเย็นหรอื ชว่ งอากาศคร้ึม เพ่ือหลีกเลยี่ งการคายน้ำ�มากเกนิ
ไปของต้นกลา้ จะทำ�ให้กล้าเหยี่ วตาย

3) ระยะปลกู ระหวา่ งตน้ และแถว 40 x 60 เซนตเิ มตร ปลกู เปน็ หลมุ บนแปลง
หลงั ปลกู ควรกลบดนิ กดบรเิ วณโคนตน้ ใหแ้ นน่ จากนน้ั ใชฟ้ างหรอื หญา้ แหง้ คลมุ โคนตน้
เพอ่ื รกั ษาความชน้ื ในดนิ รดนำ้ �ใหช้ มุ่ ในพน้ื ทท่ี ม่ี แี สงแดดจดั ควรหาทบ่ี งั แดดโดยใชท้ าง
มะพรา้ วคลมุ ประมาณ 3 - 5 วนั จงึ เอาออก

4) จำ�นวนต้นประมาณ 6,400 - 6,700 ต้นตอ่ ไร่
3. การดแู ลรกั ษา
3.1 การใสป่ ๋ยุ
ปุ๋ยเคมมี คี วามสำ�คัญตอ่ การเจริญเติบโตของกะหลำ่ �ดอกมาก เม่ือกะหลำ่ �ดอก
อายปุ ระมาณ 30 - 40 วนั หลงั ยา้ ยปลกู ใชป้ ยุ๋ สตู ร 13 - 13 - 21 หรอื 15 - 15 - 15 ในอตั รา
50 - 100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ขน้ึ อยกู่ บั ความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ โดยโรยใสข่ า้ งตน้ แลว้ พรวนดนิ กลบ
3.2 การให้น�้ำ
ชว่ งแรกหลงั ยา้ ยปลกู ไมต่ อ้ งใหน้ ำ้ �มาก เพยี งใหด้ นิ มคี วามชน้ื สมำ่ �เสมออยา่ งเพยี งพอ
อยา่ ใหด้ นิ แฉะเกนิ ไปจะทำ�ใหต้ น้ กะหลำ่ �ดอกเกดิ โรคเนา่ เละไดง้ า่ ย เมอ่ื กะหลำ่ �ดอกโตขน้ึ ใหน้ ำ้ �มาก
ขน้ึ อยา่ งสมำ่ �เสมอ สงั เกตคุ วามชน้ื ในดนิ ถา้ แหง้ ควรใหน้ ำ้ �อยา่ ปลอ่ ยใหก้ ะหลำ่ �ดอกขาดนำ้ �
เพราะจะทำ�ใหช้ ะงกั การเจรญิ เตบิ โตและกระทบกระเทอื นตอ่ การสรา้ งดอก ทำ�ใหค้ ณุ ภาพและ
ปรมิ าณดอกลดลง ในฤดแู ลง้ ควรมกี ารคลมุ ดนิ ดว้ ยฟางหรอื หญา้ แหง้ จะชว่ ยใหร้ กั ษาความชน้ื ใน
ดนิ ไดด้ ี
3.3 การพรวนดนิ และก�ำ จัดวัชพืช
ทำ�การพรวนดินในระยะแรกขณะทว่ี ชั พชื ยงั เลก็ อยู่ และช่วงอายุ 30 - 40 วนั
หลังปลกู พร้อมกับการใส่ปุ๋ยเคมี จากนน้ั ให้กำ�จัดวชั พืชตามความเหมาะสม ช่วง 65 - 70
วนั หลงั ปลกู อีกคร้ัง
3.4 การคลมุ ดอก
เมอ่ื ดอกกะหลำ่ �มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 10 - 16 เซนตเิ มตร หรอื ดอกโตได้
ขนาด ควรทำ�การคลมุ ดอก โดยรวบใบบรเิ วณปลายยอดเขา้ หากนั อยา่ งหลวมๆ ระวงั อยา่ ให้
แนน่ เกนิ ไป แลว้ ใชย้ างรดั ไวเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั แสงแดด จะทำ�ใหด้ อกกะหลำ่ �มสี ขี าวนวล นา่ รบั ประทาน
มคี ณุ ภาพดี หากไมม่ กี ารคลมุ ดอกเพอ่ื ปอ้ งกนั แสงแดดจะทำ�ใหด้ อกกะหลำ่ �มสี เี หลอื งเนอ่ื ง
มาจากรงั สอี ลุ ตรา้ ไวโอเลต หลงั จากคลมุ ดอกประมาณ 1 สปั ดาห์ สามารถเกบ็ เกย่ี วได้ ถา้ ใน
ฤดรู อ้ นจะเกบ็ เกย่ี วไดเ้ รว็ ขน้ึ ปจั จบุ นั พนั ธก์ุ ะหลำ่ �ดอกทป่ี รบั ปรงุ พนั ธใ์ุ หมๆ่ จะมใี บคลมุ ดอก
ไดเ้ องโดยธรรมชาตไิ มจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งคลมุ ดอก

16

4. ศตั รพู ืชทส่ี �ำ คัญ
4.1 โรคท่ีสำ�คญั

1) โรครากปมของกะหล่ำ� เกดิ จากไสเ้ ดอื นฝอย ป้องกันกำ�จัดโดยไถตากดิน
ใหล้ ึก ใส่ป๋ยุ อนิ ทรียจ์ ำ�นวนมาก และเมอ่ื พบไส้เดือนฝอยระบาดควรเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น
1 - 2 ปี

2) โรคเน่าดำ� เกิดจากเช้ือแบคทีเรยี ป้องกันกำ�จัดโดยใชเ้ มลด็ ท่ปี ลอดโรค
โดยนำ�เมล็ดมาแชน่ ำ้ �อนุ่ ท่ีอณุ หภมู ิ 50 - 55 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลานาน 20 - 30 นาที
ก่อนปลูกเพอ่ื ฆ่าเช้ือดงั กลา่ ว และควรปลกู พืชหมนุ เวยี นสลบั หากเกิดโรคนี้บนแปลง
ควรงดการปลูกพืชตระกลู กะหล่ำ�อยา่ งน้อย 3 ปี
3) โรคเนา่ เละของกะหล่ำ�ดอก เกดิ จากเช้ือแบคทเี รยี ป้องกันโดยระมดั ระวัง
อยา่ ใหเ้ กดิ แผลบนดอกกะหล่ำ� กำ�จดั แมลงทกี่ ัดกินดอกกะหล่ำ� เม่ือพบดอกกะหลำ่ �ที่
แสดงอาการใหต้ ดั เผาทำ�ลาย
4.2 แมลงศตั รพู ชื ทส่ี �ำ คญั
1) หนอนใยผกั ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยการใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั หนอนฉดี พน่ ตาม
คำ�แนะนำ� หรอื การใชเ้ ชือ้ แบคทีเรียบาซิลลัสทรรู ินเจนซิสฉดี พ่นทำ�ลาย และหมัน่ ตรวจดู
แปลงกะหล่ำ�ดอกอยเู่ สมอ
2) หนอนเจาะยอดกะหลำ่ � ปอ้ งกนั กำ�จัดโดยใช้สารเคมีกำ�จัดแมลงประเภท
ดูดซมึ ตามคำ�แนะนำ�
5. การปฏบิ ัติก่อนและหลังการเก็บเก่ียว

1) การเกบ็ เกย่ี ว สงั เกตไดจ้ ากขนาดของดอกกะหลำ่ �มขี นาดโตเตม็ ท่ี แตด่ อกยงั
ออ่ นมสี คี รมี และหนา้ ดอกเรยี บเปน็ กอ้ นเกาะตวั กนั แนน่ ขนาดประมาณ 10 - 16 เซนตเิ มตร
หรอื นับอายุการเกบ็ เก่ยี ว ทง้ั น้ขี ้นึ อยู่กับสภาพอากาศ เกบ็ เก่ียวโดยใชม้ ดี ตัดดอกกะหล่ำ�
ใหม้ ใี บบรเิ วณใกลด้ อกตดิ มา 2 - 3 ใบ เพ่ือป้องกนั ความเสยี หายอันเกิดจากการขนสง่
ผลผลิตในฤดรู ้อนจะไดป้ ระมาณ 1,300 - 1,500 กโิ ลกรัมต่อไร่ ในฤดูหนาวจะได้ผลผลติ
ประมาณ 2,000 - 3,000 กิโลกรัมตอ่ ไร่

2) การปฏบิ ตั กิ อ่ นการเกบ็ เกย่ี วกะหลำ่ �ดอก ควรงดการใหน้ ำ้ �และงดการใช้
สารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั ศตั รพู ชื ตามระยะเวลาทป่ี ลอดภยั เกบ็ เกย่ี วผลผลติ ในชว่ งแดดเพอ่ื ให้
นำ้ �คา้ งระเหย และใหใ้ บเหย่ี วเลก็ นอ้ ยเพอ่ื มใิ หใ้ บและกา้ นแตกปอ้ งกนั การเนา่ เสยี ใชม้ ดี ตดั
ตน้ ชิดโคนแลว้ รบี ขนออกมาตดั แตง่ ในทร่ี ม่
3) ภายหลงั การเกบ็ เกย่ี ว ควรรบี นำ�เขา้ ทร่ี ม่ หรอื โรงเรอื นทม่ี กี ารระบายอากาศดี
สถานท่เี ก็บช่วั คราวหรือปฏิบัติงานต้องอยู่ห่างจากส่งิ ปฏิกูลเพ่ือป้องกันเช้อื โรคปนเป้อื น
ทำ�ความสะอาด คดั เกรดตามมาตรฐานและการบรรจุภัณฑ์ เก็บรักษาผลผลิตในทเ่ี ยน็
แนวทางการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิตและแหลง่ สืบคน้ ขอ้ มลู เพิม่ เติม

17

ขอ้ มลู สภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและให้ผลผลิตของก�ำ หลำ�่ ดอก

18 รายการ ความเหมาะสม ขอ้ จำ�กัด / รายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ
ที่เหมาะสม ระหวา่ ง 15.5 - 18.3 ํC
1. สภาพภูมอิ ากาศ หากปลูกกะหล่ำ�ดอกในท่อี ณุ หภูมติ ่ำ�เกินไปจะทำ�ใหด้ อกกะหล่ำ�โตช้าและยืดอายุ
1.1 อณุ หภูมิ 80 - 90 % การเก็บเก่ยี วออกไป
10 - 14 ชัว่ โมงตอ่ วนั ความช้นื สัมพทั ธใ์ นอากาศต่ำ� ทำ�ให้การเจริญเติบโตชา้
1.2 ความช้ืนสัมพทั ธ์ กะหลำ่ �ดอกจะเจริญเตบิ โตได้ดี ตอ้ งได้รบั แสงแดดเต็มทตี่ ลอดวัน ถ้าแสงแดดน้อย
1.3 ความยาวช่วงแสง กวา่ ปรมิ าณที่ตอ้ งการ จะทำ�ใหอ้ ัตราการสงั เคราะห์แสงลดลง ส่งผลต่อการเจริญ
เตบิ โตและความสมบูรณข์ องตน้
22..1สคภวาาพมพสน้ื ูงทจา่ี กระดับนำ้ �ทะเล 800 เมตร
ในพ้นื ที่สูงอณุ หภูมิจะต่ำ�มผี ลทำ�ใหพ้ ืชเจริญเตบิ โตได้ดี แต่ถา้ เปน็ พ้นื ท่รี าบควรใช้
พันธุ์ทีท่ นต่ออณุ หภมู สิ ูง

2.2 ความลาดชนั ของพน้ื ที่ ถ้าพน้ื ที่ปลกู มคี วามลาดเอยี งเลก็ นอ้ ยจะช่วยในการระบายน้ำ�ส่วนเกนิ ไดด้ ี

3. สภาพดิน เจรญิ เตบิ โตได้ดใี นดินร่วนเหนยี วอุม่ นำ้ �ดี ลักษณะดินในการปลูกมีผลต่อคุณภาพของดอกอย่างมาก การปลกู กะหล่ำ�ดอกใน
3.1 ลักษณะดนิ มอี ินทรียวตั ถสุ งู ดินร่วนโปร่ง โอกาสทจ่ี ะไดร้ บั ผลกระทบจากอากาศร้อนและแหง้ แลง้ มมี าก จะได้
ดอกทีห่ ลวมและคณุ ภาพตำ่ � ถ้าปลกู ในดนิ เหนยี วจะโตช้าในระยะแรกแต่การเจรญิ
44ตแ..ต้อ1คล่งปกะวาชารริมม่วสงาตรำณ�อ้ะหธยงรากะบั ตาขกอุรอาธางรหพาเจตาืชรรอุ ิญทาเ่ีพหตืชาิบรโพตชื กะหล่ำ�ดอกต้องการปยุ๋ ท่มี ีไนโตรเจนสงู ใน เตบิ โตทางใบก็เพยี งพอที่จะทำ�ใหด้ อกกะหล่ำ�เกาะตวั กันเปน็ กอ้ นแน่น
ช่วงแรก เม่ือเจริญเตบิ โตสร้างดอก มีความ กะหล่ำ�ดอกเปน็ ผกั กินดอกและลำ�ต้น จึงต้องใสป่ ุ๋ยทม่ี ธี าตุฟอสฟอรัสสงู สัดส่วน
ตอ้ งการธาตฟุ อสฟอรสั มากข้ึน ของธาตุอาหารในปยุ๋ ท่ีใช้คือ N:P:K เท่ากับ 1: 2 :1

55..1สภปารพมิ นาณ�ำ้ น้ำ�ทพี่ ืชตอ้ งการ ในช่วงแรกไมต่ อ้ งการนำ้ �มากแค่ดินมคี วามชืน้ สม่ำ�เสมอ ถ้าแฉะมากเกนิ ไปอาจเกิด
โรคเนา่ เละได้ เม่อื โตขึ้นจะตอ้ งการน้ำ�มากข้ึนเพราะการคายน้ำ�เกิดขนึ้ ไดเ้ รว็
ควรให้นำ้ �อย่างสมำ่ �เสมออยา่ ใหข้ าดนำ้ � จะทำ�ให้ชะงักการเจริญเตบิ โต กระทบ
ตอ่ การสร้างดอก ทำ�ใหค้ ณุ ภาพและนำ้ �หนักดอกลดลง

แนวทางการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลิต และแหล่งสบื ค้นขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ

แนวทางการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต
ควรใช้พันธ์ุที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี

และภมู ิอากาศ ถ้าปลูกในพนื้ ท่รี าบจะต้องใช้
พนั ธทุ์ ท่ี นตอ่ สภาพอากาศรอ้ นได้ดี

ลกั ษณะดนิ ในการปลกู มผี ลตอ่ คณุ ภาพ
ของดอกอย่างมาก การปลกู กะหลำ่ �ดอกใน
ดินร่วนโปรง่ โอกาสที่จะไดร้ ับผลกระทบจาก
อากาศรอ้ นและแหง้ แล้งมีมาก จะได้ดอกที่
หลวมและคณุ ภาพตำ่ � ถา้ ปลกู ในดนิ เหนยี วจะ
โตช้าในระยะแรก แตก่ ารเจรญิ เติบโตทางใบก็
เพียงพอท่ีจะทำ�ให้ดอกกะหลำ่ �เกาะตัวกันเป็น
ก้อนแน่น

ควรมกี ารคลมุ ดอก เมอ่ื ดอกกะหลำ่ �มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 10 - 16 เซนตเิ มตร
หรอื ดอกโตจวนจะได้ขนาดแล้ว โดยรวบใบบริเวณปลายยอดเข้าหากนั อย่างหลวมๆ แลว้
ใชย้ างรัดไว้ จะทำ�ใหด้ อกกะหล่ำ�มีสขี าวนวลนา่ รบั ประทานและมคี ณุ ภาพดี

เก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงแดดเพื่อใหน้ ำ้ �คา้ งระเหย และให้ใบเห่ยี วเลก็ น้อยเพ่อื
ไม่ใหใ้ บและก้านแตกปอ้ งกันการเนา่ เสีย
แหล่งสืบคน้ ข้อมูลเพม่ิ เติม
กรมวิชาการเกษตร. 2545. การจัดการคณุ ภาพพืชผกั , กรมวิชาการเกษตร. กรงุ เทพฯ.
ไฉน ยอดเพชร. 2536. พืชผกั ในตระกลู ครูซิเฟอร์, พมิ พค์ รงั้ ที่ 2. สถาบันเทคโนโลยีราช

มงคล วทิ ยาเขตบางพระ. สำ�นกั พมิ พ์ร้ัวเขียว. กรุงเทพฯ.
ไฉน ยอดเพชร. 2542. พชื ผักอุตสาหกรรม, พิมพ์ครงั้ ที่ 2. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

วิทยาเขตบางพระ. สำ�นักพิมพร์ ั้วเขียว. กรงุ เทพฯ.
ทศพร แจ้งจรสั . 2531. ผกั ฤดหู นาวและผกั ตระกูลกะหล�ำ่ , กรงุ เทพฯ.
มณีฉตั ร นกิ รพันธ.์ุ 2545. กะหล่ำ�, คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. โอ เอส

พรน้ิ ติ้ง เฮาส์, กรงุ เทพฯ.
กรมวิชาการเกษตร. 2547. กะหล�่ำ ปล,ี คู่มือการจัดการศัตรพู ชื และระบบนิเวศ. กรม

วิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.
http://www.doae.go.th/library/html/veget_all.html 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2556.
http://www.vegetweb.com 14 กุมภาพนั ธ์ 2556.

19

กะหล�ำ่ ปลี ข้ันตอนการปลูกและการดูแลรักษากะหล�่ำ ปลี

การเตรยี มการ 15 วัน 30 วัน 45 วัน 60 วัน 75 วัน 90 วนั

----- ใไตขใสสถนึ้า่่ปปดกแนิยนุู๋ดปกอลขนิลาึกานิ งร5วปทเ1-ตตลร75ารียูก-มวีย2์ 1คัน0มา่ ดตซวันินมเิ ค/.ไรรา่ ะห์ -ซ---- มแ3โรครปจ9คำะด0.ปลล�,นยน-น5มุลกู4ะกต0วำ้งเด0�ปป0ในน้าว้หกน็ลxรใยตดช8้หปกูหฟ3น้ม,ุ่ดแ้ร0ลล0า/นิะน0ไม-ุงกู รห4บ0น่ขบ่0-วรา้ นา่เิววงณ --0-- -ออ0หแใ1ห0กสลาต6ัลลอำยป่ว้0รงั�งัตัจุพปายุ๋ยด4ั รกลร0า้ว5าก5วก-ูชักย05.-น3/พ-1ปา0ไ301ดร0รชืล-0่นวิว-ใ5ูก0น5ันแักส0ลลใกป่1อใสกส้วบก0ัตุ๋ยป่กปใ่.พ-ร/หย.ุ๋2ย๋ไ/ุ ารรไ0้นอ้ร2่21่ำ้1มว�10-นั-00-- --ด-- นิช7ลเกรเรพปกะน-้อืด่ม่ิ1าอย้ยี พกนโ0รงงะตาเอใดกแกหรวคกเนตัูรบใ็นัหนว้ หกาาหเรมำ้รกคมน�้ใวัแายให่ีวำส้แบ�ะหวลรน้ภตบใง้นำ้กา1ห�เรอพพ�้ำสนอ้่ ยปัดอ่ืำง้ า�่ นพใิดงหาอพท้หอกุ์ แพใ-สลกรป่ ะอ้ายุ๋ แรม4เกกคลก0าำม-บัะ�5รชีจกก0ดักว่ าาวง�ำวรอรชันจัพพาพัดรยชืรววุ จว1นัชะ0นดพ-ทด2นิ ชืำ0�นิแลวนะั
การเตรียมพันธุ์
-พ--2-อใลอ3ชกัเาห้มใษยบมีดุเณกตาะกะบ็ดั หาเโกอค่รย่ีหนเกววัใขหแ็บึ้นนม้ เอนก่ีใบยมยี่ แู่กขีวกบันต่ าพดิดันมธาุ์
- เลือกพันธท์ุ ่เี หมาะสมกบั
พื้นท่ี
- เพาะกล้าใหไ้ ด้อายุ 25-30
วัน มี 2-3 ใบ

ฟมสแรพไคอหสะลาวนกิีรนัอเ้บแรอรืะาดทธสโเใารมใใแร์ุอืคชฟรชสดรชคยีลสมน้เะ้อ่ปคใ่ชทจ์ากีงฝนบรำวอุย๋้ืรทส่�ีำอสันารนเ�อแ�ำคยี่สใยจำ้ บปวช�ดัินคอนม�ำ นส้คแ้อญทันุ่าคก้ีํ ามมทงทรำัญรเกา�ลเีียด่ีพเรจกโนังคดั์ขยีีรอ่ืปมณแโคบหไฆดรถมกีเานไะะาน่ยตำลมซเเเอ�า่กชาภตงลิขจ่ เนอดั้กืาปงลรทัลรแโดแใยีระสัดรยใมะนฉิมคทสดู ผเเละใทกดภร่ปซหักงรูดอิ่นิีมึทยุ๋ฉล้นิโจาถฉดรซดกีึเโจาคา้ดีจดูปุรแพกตรเนคพซลเนน่เดิะปรชมซึน่ะบาตอ่าอ้ืสอิคฉตดศากยาแทวดรีาำมดใ่ัตปู�บฟ์รนำมพคอ�มรปเลคเอคกน่ำยทูมขลา�ทำดิแสตา่�อยลกูส่ีแเีจนเงารด็งพฟน�ำรามยะีกนหคุชืกะตคนคะปอนนเแัญวำำหชป��รน่อื้รำอแอ้ืล�งดปรเงนนแคำ่มบัว้ก�ละเบวอ่ืงจนัจกปูนรคหพาาพกรใำทะกมช�บำุงชื ย�สเไ้ีหดัดหกรจสอาดัินนยผีามเ้รดโดรกัดอนุดเปกรอืคว้นเยะอห้ะวมนยคกบยีหงากีฝปากืบนากลำอรนูนัด�มกสำ่ จ�ยจขกเละกดีัดัพหาำบหัาตปก�อ่ืาวรจกวลัอ้ากดัเตรนหัมำ่รงมโะด�ั แดกนือ่บกีวกหปนยัอดางาาานลโจนรดินรกดงรำรขคโ�เมยปะเชดปาวมกีบใวลีดยรน็สลาติกาูธตใป่ดก็รชดขใารยรุ๋ห้อตงด้งุ -ตคแปจ- ำดลัาฏ�หมเะบิหกกนใรอ่ตัลรหะา่ งงิดันใ้ยยากตบกนะาาาเเรตหมวรเอ้กเลย่ีมกงบ็าวา็บอทตเเกลยเรป่ีกย่ีก็หู่ฐลี่ยวนา่าอวงนอ้คจดแกยควาภลราเวกพัยระรรสบี งปื่อง่ิกคดนปมฏาวกำฏิใร�รบิเาหบขกิเตัรกาใ้้ลรู ใบิกบ็ทรเหพจแร่่อีเ้นกภมุ่อ่ลืน้ำี่ยณัหปะ�แแวกรอ้ฑลลผอืา้งะ์ะลโนกเรงหกผนัแงดบ็ลลเตเกรชริตงักอืาอ้ืกั กใปรนษโนารใอ้ทาชชครงมผ่ี้สว่เปกกลกีงานนัผแาบ็รเรกเดลปเคราตกิดอ้ืะมรใี่ยเนบนเพปี วนาทอ้ื่อทยา่ เ่ีงใำเยอ�หกสคน็าัน้นยีวกแาก้ำาล�มคำศะ�ส้าดจระงดับีี รอสศสะถาตัง่ เดาอหรนูพอยทกืช่ี

เทคนคิ การปลูกและดแู ลรกั ษากะหลำ่� ปลี

1. การเตรยี มการกอ่ นปลกู
1.1 การเตรียมดนิ ปลูก
1) ไถดินลึกประมาณ
15 - 20 เซนตเิ มตร ตากดนิ ไว้
ประมาณ 5 - 7 วนั
2) ใสป่ ยุ๋ อนิ ทรยี ์
ประมาณไรล่ ะ 1 ตนั เพอ่ื ปรบั ปรงุ
สภาพของดนิ และเพม่ิ ความอดุ ม
สมบรู ณ์ โดยเฉพาะดนิ ทรายและดนิ
เหนยี ว
3) ใส่ปูนขาวตามค่า
วเิ คราะหด์ นิ หรอื 200 - 300 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
4) ยอ่ ยหนา้ ดนิ ใหม้ ขี นาดเลก็ ลงแตไ่ มถ่ งึ กบั ละเอยี ดจนเกนิ ไป ยกแปลงปลกู
ตามขนาดที่ต้องการ หรอื ปลูกในทส่ี งู แล้วแต่ระบบการปลูกพืช
1.2 การเตรียมพันธุ์
1) พนั ธก์ุ ะหลา่ํ ปลที น่ี ยิ มปลกู และบรโิ ภค โดยทว่ั ไปแบง่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ คอื
- พนั ธเุ์ บา มีอายุการเก็บเกยี่ วประมาณ 60 - 75 วัน
- พนั ธก์ุ ลาง มอี ายกุ ารเกบ็ เกย่ี วประมาณ 80 - 90 วนั
- พนั ธห์ุ นกั มอี ายกุ ารเกบ็ เกย่ี วประมาณ 90 - 120 วนั
บจั จบุ นั ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ พนั ธจ์ุ ากบรษิ ทั เอกชน เพอ่ื ใหไ้ ดพ้ นั ธท์ุ เ่ี หมาะสมกบั
สภาพภมู อิ ากาศ และสภาพภมู ปิ ระเทศทห่ี ลากหลาย โดยเฉพาะสายพนั ธท์ุ ส่ี ามารถปลกู ได้
ตลอดทง้ั ปี
2) การเพาะกล้า ยกดนิ เปน็ แปลงขนาดความกวา้ ง 1 เมตร ยาวตามความ
ตอ้ งการ ขดุ ไถใหล้ กึ ประมาณ 15 - 20 เซนตเิ มตร ตากดนิ ไวป้ ระมาณ 5 - 7 วนั ใสป่ ยุ๋ อนิ ทรยี ์
ทส่ี ลายตวั ดแี ลว้ คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั พรอ้ มกบั ยอ่ ยหนา้ ดนิ ใหล้ ะเอยี ด รดนา้ํ ใหช้ น้ื แลว้ หวา่ น
เมลด็ ใหก้ ระจายบางๆ ทว่ั แปลงอยา่ งสมา่ํ เสมอ กลบดว้ ยดนิ ผสมปยุ๋ อนิ ทรยี ห์ นาประมาณ
0.6 - 1 เซนตเิ มตร หรอื ใชว้ ธิ หี ยอดเมลด็ เปน็ แถว ลกึ ประมาณ 0.6 - 1 เซนตเิ มตร หา่ งกนั
แถวละ 15 เซนตเิ มตร ระยะหา่ งแตล่ ะเมลด็ 3 - 5 เซนตเิ มตร กลบดว้ ยดนิ ผสมปยุ๋ อนิ ทรยี ์
คลมุ ดว้ ยฟางบางๆ รดนา้ํ ดว้ ยบวั ฝอยละเอยี ดทกุ วนั เมอ่ื กลา้ งอกมใี บจรงิ ประมาณ 1 - 2 ใบ
ทำ�การถอนแยกตน้ ทไ่ี มส่ มบรู ณข์ น้ึ เบยี ดกนั แนน่ ทง้ิ ควรใชป้ ยุ๋ พวกสตารท์ เตอรโ์ ซลชู น่ั รดเพอ่ื
ชว่ ยใหต้ น้ กลา้ แขง็ แรงสมบรู ณ์ ดแู ลปอ้ งกนั กำ�จดั โรคแมลงทเ่ี กดิ ขน้ึ จนถงึ ระยะยา้ ยตน้ กลา้ ไป
ปลกู เมอ่ื ตน้ กลา้ อายไุ ดป้ ระมาณ 25 - 30 วนั หรอื มใี บจรงิ 2 - 3 ใบ จงึ ยา้ ยตน้ กลา้ ไปปลกู
ในแปลงปลกู ทเ่ี ตรยี มไว้

21

2. การปลูก
2.1 ระยะปลกู กะหลา่ํ ปลที น่ี ยิ มปลกู เปน็ พนั ธเ์ุ บา มที รงพมุ่ และหวั ขนาดเลก็
ระยะปลกู ระหวา่ งตน้ และแถวทเ่ี หมาะสมคอื 30 - 40 X 30 - 40 เซนตเิ มตร ปลกู เปน็ แบบ
แถวเดยี วหรอื แถวคู่ ขน้ึ อยกู่ บั ขนาดของสวน
2.2 วธิ ปี ลกู ใชม้ อื จบั ใบเล้ียงคู่แรกหยอ่ นโคนลงไปในหลมุ แลว้ กลบดนิ ลงไป
ใหเ้ สมอระดบั หลงั แปลง กดดนิ ใหจ้ บั รากพอสมควรแลว้ รดนา้ํ คลมุ ดนิ รอบๆ โคนตน้ ดว้ ย
ฟางหรอื หญา้ แหง้ บางๆ เพอ่ื ชว่ ยรกั ษาความชน้ื ในดนิ เมอ่ื ปลกู เสร็จแลว้ ควรทำ�รม่ บงั แดดให้
ในวนั รงุ่ ขน้ึ ประมาณ 3 - 4 วนั จงึ เอาออก
2.3 จำ�นวนตน้ ต่อไร่ 8,000 – 9,500 ตน้ ต่อไร่ ตามแตร่ ะยะปลูกและระบบ
การปลูก
3. การดูแลรักษา
3.1 การใส่ปุย๋
1) ระยะตงั้ ตัว นับตั้งแตว่ ันย้ายกล้าจนถึงอายปุ ระมาณ 10 วนั ระยะน้ี
ตน้ กล้ามีความออ่ นแอ ดงั นนั้ การรดนํา้ ใสป่ ุ๋ย การทำ�รม่ บังแดด ตอ้ งเอาใจใสเ่ ป็นอยา่ งดี
ระยะน้ีควรใส่ปุ๋ยคอกหรอื ปุ๋ยหมักที่สลายตวั ดีแล้วโรยรอบๆ ตน้ แลว้ พรวนกลบ หลงั จาก
นั้น 3 วันให้ใสป่ ุ๋ย 21 - 0 - 0 อัตรา 30 - 50 กโิ ลกรัมต่อไร่ โรยรอบๆ ต้นแล้วพรวนกลบ
หรอื ใช้ปุ๋ย 2 กำ�มอื ละลายน้ํา 1 ปีบ รดด้วยบวั รดนา้ํ แล้วใช้นาํ้ เปลา่ รดล้างทนั ที
2) ระยะขยายตวั นบั ตงั้ แตอ่ ายุ 10 - 20 วันหลังปลูก ระยะน้ีควรใส่ปุ๋ย
อินทรียเ์ พ่ิม โดยเพิม่ จำ�นวนเปน็ สองเทา่ ใสป่ ยุ๋ สูตร 5 - 10 - 5 จำ�นวน 100 - 160
กโิ ลกรัมต่อไร่ โรยรอบๆ ลำ�ต้น
3) ระยะห่อหวั อายุประมาณ 40 - 50 หลงั ปลกู กะหล่ําปลเี รม่ิ หอ่ หวั เข้า
ปลี ใหใ้ ส่ปยุ๋ 21 - 0 - 0 อัตรา 50 - 100 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ระยะนี้ ถา้ พิจารณาเหน็ ว่ากะหล่ำ�
ปลมี ีการเจริญเตบิ โตแข็งแรงดแี ล้วก็ไม่จำ�เป็นต้องใส่
3.2 การใหน้ าํ้
1) ควรรดนำ้ �อยา่ งสมา่ํ เสมอและเพยี งพอ เนอ่ื งจากกะหลา่ํ ปลเี ปน็ ผกั ราก
ตน้ื จงึ ไมส่ ามารถดดู นา้ํ ในระดบั ลกึ ได้ ควรรดในตอนเชา้ และเยน็ รอบๆ ตน้ ไมแ่ ฉะเกนิ ไป
2) การใหน้ า้ํ แบบปลอ่ ยไปตามรอ่ งระหวา่ งแปลงประมาณ 7 - 10 วนั ตอ่ ครง้ั
ตามความเหมาะสม ระยะท่ตี อ้ งการน้าํ มากคอื ชว่ งทผี่ กั กำ�ลงั เจรญิ เติบโต หรือหลังปลกู
ประมาณ 2-3 สปั ดาห์ ถึงกอ่ นวนั เก็บเกีย่ ว 7 วนั เมอื่ กะหล่าํ ปลีเข้าปลเี ต็มทีแ่ ล้วควรลด
ปริมาณน้าํ ใหน้ ้อยลงทลี ะนอ้ ย หากได้รบั น้าํ ในชว่ งนี้มากเกนิ ไปหวั ปลีอาจจะแตกได้

22

3.3. การพรวนดินและกำ�จดั วชั พืช
การพรวนดิน การกำ�จัดวชั พืชและการใหป้ ยุ๋ จะทำ�พรอ้ มกนั ในระยะแรก
ควรปฏิบตั บิ ่อยๆ เพราะ วัชพืชจะเป็นตัวแย่งนํ้าแยง่ อาหารในดนิ รวมท้งั เป็นท่ีอยอู่ าศัย
ของโรคและแมลงทำ�ลายกะหลา่ํ ปลี กำ�จดั วัชพชื ดว้ ยการถอนหรอื ใชจ้ อบ แลว้ พรวนดิน
บริเวณโคนตน้ ด้วยเสยี มขนาดเล็ก
4. ศัตรูพืชท่สี ำ�คัญ
4.1 โรคที่ส�ำ คัญ
1) โรคเนา่ เละของกะหล่ำ�ปลี เกดิ จากเชื้อแบคทีเรีย ปอ้ งกนั กำ�จัดโดย
การจัดการแปลงปลกู ให้มกี ารระบายนํา้ ดี ไมข่ งั แฉะ ฉดี พ่นสารเคมีป้องกนั กำ�จัดแมลง
ปากกดั ระวงั อยา่ ให้เกิดแผลหรอื รอยชำ้ � ทง้ั ขณะเกบ็ เกย่ี วและขนสง่ และหลงั การเกบ็ เกย่ี ว
แลว้ ใหเ้ กบ็ กะหลา่ํ ปลไี วใ้ นทอ่ี ณุ หภมู ติ า่ํ ประมาณ 10 องศาเซลเซยี ส
2) โรคเนา่ ดำ� เกดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี เชอ้ื สาเหตขุ องโรคอาศยั อยใู่ นดนิ
เมอ่ื ฝนตกจะระบาดทว่ั ไปและยงั สามารถตดิ ไปกบั เมลด็ พนั ธผ์ุ กั ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยนำ�เมลด็ พนั ธ์ุ
แชใ่ นนำ้ �ทอ่ี ณุ หภมู ิ 50 - 55 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลานาน 20 - 30 นาที เพอ่ื ฆา่ เชอ้ื โรคทอ่ี าจ
ตดิ มากบั เมลด็ พนั ธ์ุ และไมค่ วรปลกู พชื ตระกลู กะหลา่ํ ตดิ ตอ่ กนั เกนิ 3 ปี ควรปลกู พชื หมนุ เวยี น
สลบั กนั
3) โรคขาดธาตุฟอสฟอรสั ป้องกนั โดยการใสป่ ุ๋ยซปุ เปอร์ฟอสเฟต
ปรับปรงุ ดินด้วยปูนขาว เมื่อดินเป็นกรดและใสป่ ๋ยุ อินทรียข์ ณะเตรยี มดินจำ�นวนมาก
4) โรครากปม เกดิ จากไสเ้ ดอื นฝอย ปอ้ งกนั โดยใสป่ ยุ๋ อนิ ทรยี จ์ ำ�นวนมาก
ขณะเตรยี มดนิ ปลกู ไถตากดนิ ใหล้ กึ และควรปลกู พชื อน่ื เมอ่ื พบการระบาด เพอ่ื ตดั วงจรชวี ติ
ของไสเ้ ดอื นฝอย
4.2 แมลงศตั รพู ชื ทส่ี �ำ คญั
1) หนอนใยผกั หากมกี ารระบาดอยา่ งรนุ แรงควรใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั
แมลงตามคำ�แนะนำ� หรอื ใชเ้ ชอ้ื แบคทเี รยี บาซลิ ลสั ทรรู นิ เจนซสิ ทำ�ลาย และหมน่ั ตรวจดู
แปลงกะหลา่ํ ปลอี ยเู่ สมอ เมอ่ื พบควรรบี ทำ�ลายทนั ที
2) หนอนเจาะยอดกะหลำ่ �หากมีการระบาดอย่างรุนแรงใช้สารเคมีกำ�จัด
แมลงประเภทดดู ซมึ ฉดี พน่
3) หนอนคบื กะหลำ่ � หากมกี ารระบาดใหใ้ ชส้ ารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั แมลงฉดี
พน่ ตามคำ�แนะนำ� ขณะทห่ี นอนยงั มขี นาดเลก็
4) ดว้ งหมดั ผกั ปอ้ งกนั ไดด้ ว้ ยการไถตากดนิ ในฤดแู ลง้ จะชว่ ยทำ�ลาย
ตวั ออ่ นหรอื ดกั แดท้ อ่ี ยใู่ นดนิ กำ�จดั วชั พชื ในบรเิ วณแปลงผกั เพอ่ื ตดั วงจรอาหารของตวั ดว้ งหมดั
หากมกี ารระบาดอยา่ งรนุ แรงควรฉดี พน่ ดว้ ยสารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั แมลงตามคำ�แนะนำ�

23

5. การปฏิบตั กิ อ่ นและหลงั การเก็บเกีย่ ว
1) อายุการเก็บเก่ียวของกะหลำ่ �ปลีข้ึนอยู่กับลักษณะประจำ�พันธ์ุและดู
ลกั ษณะหวั กะหลา่ํ ปลดี ว้ ย โดยเลอื กหวั ทห่ี อ่ แนน่ และมขี นาดพอเหมาะหวั ปลที ส่ี มบรู ณ์
นำ้ �หนกั ประมาณ 1 - 2 กโิ ลกรมั ถา้ เกบ็ ขณะออ่ นเกนิ ไปหวั จะไมแ่ นน่ หากปลอ่ ยไวน้ าน
เกินไปหัวจะหลวมทำ�ให้คณุ ภาพลดลง เก็บเกีย่ วโดยใชม้ ดี สะอาดตดั ใหม้ ใี บนอกหมุ้ หัวตดิ
มาด้วย
2) กอ่ นการเกบ็ เกย่ี วควรงดการใหน้ ำ้ � และงดใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั ศตั รพู ชื ตาม
ระยะเวลาทป่ี ลอดภยั
3) เกบ็ เกย่ี วผลผลติ ในชว่ งแดดเพอ่ื ใหน้ ำ้ �คา้ งระเหย และใหใ้ บเหย่ี วเลก็ นอ้ ย
เพอ่ื ไมใ่ หใ้ บและกา้ นแตกปอ้ งกนั การเนา่ เสยี เกบ็ รกั ษาผลผลติ ตามมาตรฐานและการบรรจุ
หบี หอ่ รบี นำ�เขา้ ทร่ี ม่ หรอื โรงเรอื นทม่ี กี ารระบายอากาศดี สถานทเ่ี กบ็ ชว่ั คราวหรอื ปฏบิ ตั งิ าน
ตอ้ งอยหู่ า่ งจากสง่ิ ปฏกิ ลู เพอ่ื ปอ้ งกนั เชอ้ื โรคปนเปอ้ื น

24

ข้อมูลสภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตและให้ผลผลติ ของกะหลำ่�ปลี

รายการ ความเหมาะสม ข้อจ�ำ กัด / รายละเอยี ดเพิ่มเตมิ
1. สภาพภมู อิ ากาศ ทเ่ี หมาะสม ระหวา่ ง 15 - 20 ํC ถ้าอณุ หภูมิสงู กวา่ 25 Cํ ทำ�ใหช้ ะงกั การเจรญิ เติบโตและทนอณุ หภูมติ ่ำ�ได้ถงึ -10 Cํ
1.1 อุณหภูมิ

1.2 ความช้ืนสมั พัทธ์ 80 - 90 % ความชนื้ สัมพัทธใ์ นอากาศต่ำ� ทำ�ให้การเจรญิ เติบโตชา้
1.3 ความยาวช่วงแสง 10 - 14 ชวั่ โมงตอ่ วนั กะหลำ่ �ปลจี ะเจริญเติบโตได้ดี ต้องได้รบั แสงแดดเต็มท่ีตลอดวัน ถา้ แสงแดดนอ้ ยกว่า
ปรมิ าณทต่ี ้องการ จะทำ�ให้อัตราการสังเคราะหแ์ สงลดลง สง่ ผลตอ่ การเจริญเตบิ โต
22..1สคภวาาพมพสน้ื ูงทจา่ี กระดับน้ำ�ทะเล 800 เมตร และความสมบรู ณ์ของตน้

ในพ้นื ท่ีสงู อณุ หภมู ิจะต่ำ�มีผลทำ�ให้พืชเจรญิ เตบิ โตได้ดีแตถ่ า้ เปน็ พ้นื ทีร่ าบควรใชพ้ นั ธ์ุ
ทท่ี นต่ออณุ หภมู ิสงู

2.2 ความลาดชนั ของพ้นื ท่ี 3–5% ถ้าพื้นทป่ี ลกู มีความลาดเอยี งเล็กน้อยจะช่วยในการระบายน้ำ�สว่ นเกนิ ไดด้ ี
33..1สลภกั าษพณดินะดิน
เรจะรบญิ ายเตนิบ้ำ�โดตอี ไดนิ ด้ทใี รนียดวนิัตทถุสุกงูชนดิ มีการ ไรมากช่ เอนบา่ ดไดนิ ้ท่ีมีนำ้ �ขงั แฉะ เพราะจะทำ�ใหร้ ากไม่แผ่ขยาย เจรญิ เติบโตชา้ และเกดิ โรค
3.2 ความลึกของหน้าดิน 18 - 20 เซนตเิ มตร กะหลำ่ �ปลมี รี ะบบรากตน้ื แตถ่ ้าหน้าดินตนื้ เกินไปทำ�ให้ต้องรดน้ำ�บ่อยรากลอยล้มงา่ ย
3.3 ความเป็นกรดเป็นดา่ งของดิน (pH) pH 6.0 - 6.8 ถา้ pH สงู หรอื ตำ่ �เกินไปธาตุอาหารในดินจะอยใู่ นรปู ทีไ่ ม่สามารถใช้ประโยชน์ได้
3.4 ปรมิ าณอนิ ทรีย์วตั ถุ 2-4%
ก44..า1รคเปวจารรมิมิญตาเณ้อตงบิ ธกโาตาตรแุอธตาาล่หตะาอุ ชรา่วทหง่ีพารืชระขยตอะ้องขงพอกชืางพรสชื ำ�หรบั -
เกนะอื่หงลจำ่ �าปกลเปีตน็้อผงกักาบรรปโิ ภยุ๋ ทคใ่ีมบีไนโตรเจนสงู
กทะ่ใี ชห้คลอื ำ่ �ปNล:Pีเป:K็นผเทกั ่ากกนิ ับใบจ2ึงต: ้อ1ง:ใส1่ปยุ๋ ที่มีธาตไุ นโตรเจนสูง สดั ส่วนของธาตุอาหารในปยุ๋

25 5. สภาพน้ำ� ใน 1 ฤดูปลูกใชน้ ำ้ � 300 - 450 เมอื่ กะหล่ำ�ปลีเข้าปลีเตม็ ท่ีแลว้ ควรลดปริมาณนำ้ �ใหน้ ้อยลง ถา้ ปริมาณนำ้ �มากอาจจะ
5.1 ปรมิ าณนำ้ �ทพ่ี ืชตอ้ งการ ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่ ทำ�ใหห้ ัวปลแี ตก

แนวทางการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิต และแหล่งสืบค้นข้อมลู เพม่ิ เติม

แนวทางการเพิ่มประสิทธภิ าพการผลิต
- ควรใชพ้ นั ธุ์ที่เหมาะสมกบั สภาพพ้นื ที่และภมู ิอากาศ
- การใหธ้ าตอุ าหารโบรอน ในระยะหอ่ หวั จะชว่ ยใหก้ ะหลำ่ �ปลหี อ่ หวั ไดด้ แี ละแนน่
- เกบ็ เกย่ี วผลผลติ ในชว่ งมแี สงแดดเพอ่ื ใหน้ ำ้ �คา้ งระเหย และใหใ้ บเหย่ี วเลก็ นอ้ ย
เพ่ือไม่ใหใ้ บและก้านแตกป้องกนั การเนา่ เสีย
แหลง่ สบื คน้ ข้อมูลเพิม่ เตมิ
กรมสง่ เสริมการเกษตร. 2551. ผักสวนครัวสานใยรกั แหง่ ครอบครวั , กรมสง่ เสรมิ
การเกษตร. กรงุ เทพฯ.
กรมวิชาการเกษตร. 2545. การจัดการคุณภาพพืชผกั , กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.
กรมวิชาการเกษตร. 2547. กะหล่ำ�ปล,ี คมู่ อื การจดั การศัตรพู ืชและระบบนิเวศ. กรม

วิชาการเกษตร. กรงุ เทพฯ.
ไฉน ยอดเพชร. 2536. พชื ผักในตระกูลครซู ิเฟอร์, พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. สถาบนั เทคโนโลยี

ราชมงคล วทิ ยาเขตบางพระ. สำ�นักพมิ พร์ ้วั เขียว. กรงุ เทพฯ.
ไฉน ยอดเพชร. 2542. พชื ผกั อตุ สาหกรรม, พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล

วทิ ยาเขตบางพระ. สำ�นกั พิมพ์ร้ัวเขียว. กรุงเทพฯ.
ทศพร แจง้ จรัส. 2531. ผกั ฤดูหนาวและผักตระกลู กะหล่ำ�,
มณีฉัตร นิกรพันธ์ุ. 2545. กะหลำ�่ , คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. โอ เอส

พรนิ้ ต้งิ เฮาส์. กรงุ เทพฯ.
http://www.doae.go.th/library/html/veget_all.html 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2556
http://myveget.com 14 กุมภาพันธ์ 2556
http://202.28.48.140/isaninfo 14 กมุ ภาพันธ์ 2556

26

ขงิ ข้ันตอนการปลูกและการดูแลรักษาขิง

การเตรียมการ 1 เดือน 2 เดอื น 3 เดือน 4 เดอื น 5 เดอื น 6 เดือน 7 เดอื น 8 เดอื น 9 เดอื น 10 เดอื น 11 เดอื น 12 เดอื น

-2-----อร0ใยตไใอตั สสถซกางรป่ป่ดมแกพานูปนิ.ุย๋ดน้รืก5ขละอลินด0าางหกึนิไว-้วรวกว6ยทเา่2ว้02ตง2รา้001รงยีก-ร-05อ3่ยี3ก์1--2ง401ม.สม/-055ได4ปัซ.ร00-ส1ิน่มด-ต7งกู5า.0ันก1หซ/.5/มไ์ -ไรร.่ ่ - xแจหรพฤ1ำะถ3ล�ด2.ยนคว,มุ0ูป0ะว.กป0xลป-น0าลกูหล21กรู ชตก5ู0ลปลน,ร้่วมุ8กึซะลง/0มไห5กู4ร0เ.0ว-่ม-5า่ -.งยซ7.ม0-. - ชหเข2กหด1นอ้กลลอื .นามงุั อ/นกปดไโตัรหาตเลใ่ลรระ๊โลสกู าก็ดใแมุป่ สรย2ล5ลยุ๋ะขป่ว0้ ะแหดุก1ุย๋ล-ว1ห3ละา่6-บล-ง104มุ 32- - คหดจใกรหะวะนาิวั วนร้มรขแทงัใำ้งิตีห�หอำเตน้�นง้กน้ยาแทา่าา่ำ้ม�ลรนุใแรกใหะบสอ่หาตน้งูบนง้รน้แำ้ ำ�ส้ใ�ทขตทหหปงิจว่่นัาเร้นมะรทกงิ มใ่�้ำิขเพีหกงัเหผ้บอลย่ีลอาววผาจ่รหทล์ ตนิำ�ใสา้ หงู ้ - เชกแกดวล่าำอื�แงระจนกอพดัเลมาาวระอ่รืยชัวกกอนพุ าา�ำ2ดชื รยจ0นทิ พุดัแ2ำ-�รพลว2แวะชัร5ลนอ้ใพะสวดมปืช่นั4กินยุ๋ บั
-
-
- -
-
การเกบ็ เกีย่ ว
การเตรียมพันธุ์ การกลบโคน - เก็บขิงออ่ นช่วงอายุ 4 - 6
- ตดั แงง่ ขงิ ขนาด 2 ซม. ใหม้ ี 2 - 3 ตา - เมอ่ื ขงิ อายุ 2 เดอื น พรอ้ มกบั การใสป่ ยุ๋ และอายุ 3 เดอื น เดือน
- แชส่ ารเคมปี อ้ งกนั เชอ้ื ราแลว้ ผง่ึ ใหแ้ หง้ หลงั ปลกู - เกบ็ เก่ยี วขิงแก่ประมาณ
- อตั ราการใช้ 300 - 400 กก.ตอ่ ไร่ 8 - 12 เดือน
- ผลผลิตประมาณ 3,000 -
ศัตรูทสี่ �ำ คญั 5,000 กโิ ลกรัมต่อไร่

โรคทส่ี ำ�คญั เชอ้ื รา ระบาดมากเมอ่ื สภาพแวดลอ้ มมคี วามชน้ื และอณุ หภมู สิ งู ไดแ้ ก่ โรคแอนแทรคโนส โรค การปฏบิ ตั ิกอ่ นและหลงั การเก็บเกี่ยว
ตดิ พนั ธข์ุ งิ โรคเหย่ี ว หรอื แงง่ เนา่ หรอื รากเนา่ และโรคใบจดุ ปอ้ งกนั โดยการคดั เลอื กแงง่ ขงิ ทส่ี มบรู ณไ์ วท้ ำ�พนั ธ์ุ กอ่ น - กอ่ นการเกบ็ เกย่ี ว ควรงดการใหน้ ำ้ �เพอ่ื ใหส้ ะสมอาหารลง
ปลกู แชท่ อ่ นพนั ธข์ งิ ในสารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั เชอ้ื รา ถา้ มกี ารระบาดใหใ้ ชส้ ารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั เชอ้ื ราตามคำ�แนะนำ� โรค หวั มากขน้ึ และงดการใชส้ าร เคมปี อ้ งกนั กำ�จดั ศตั รพู ชื ตาม
เหีย่ วหรอื แง่งเน่าของขิงทเ่ี กดิ จากเชื้อแบคทเี รีย ระบาดในสภาพช้นื และร้อน ปอ้ งกนั โดยเลอื กใชแ้ ง่งหรอื ท่อนพนั ธุ์ ระยะเวลาทป่ี ลอดภยั
ขงิ ทีส่ ะอาดปราศจากเชื้อ โรครากปม เกดิ จากใสเ้ ดอื นฝอย กอ่ นปลกู ใหไ้ ถตากดนิ รองกน้ หลมุ หรอื จมุ่ ทอ่ นพนั ธด์ุ ว้ ย - หลงั การเกบ็ เกย่ี ว ทำ�ความสะอาดขงิ โดยการลา้ งดนิ และ
สารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั ไสเ้ ดอื นฝอย ถา้ ระบาดใหง้ ดปลกู ขงิ ปลกู พชื อน่ื 4-5 ปี เอารากทต่ี ดิ มากบั แงง่ ขงิ ออก ตดั แตง่ แงง่ ขงิ และระวงั อยา่ ให้
แมลงทส่ี ำ�คญั หนอนและตก๊ั แตน เขา้ ทำ�ลายใบขงิ จะถกู กดั เปน็ รอยแหวง่ หนอนเจาะลำ�ตน้ และกนิ ใบ ใบขงิ เกดิ บาดแผล จนเปลอื กขงิ ถลอก แลว้ ผง่ึ ใหแ้ หง้ คดั เกรดตาม
หรอื ยอดทอ่ี ยตู่ รงกลางยงั ไมค่ ล่ี จะมอี าการเหลอื ง แหง้ ใบพรนุ เปน็ รู หนอนเจาะแงง่ ขงิ ตวั ออ่ นเขา้ ทำ�ลายแงง่ ขงิ ทอ่ี ยู่ มาตรฐาน
ในดนิ ทำ�ใหแ้ งง่ ขงิ มตี ำ�หนเิ ปน็ รู เพลย้ี หอย จะกนิ นำ้ �เลย้ี งพชื เปน็ กลมุ่ ๆ ทำ�ใหข้ งิ เหย่ี วแหง้ เพลย้ี ไฟหรอื ไรแดง ใบขงิ จะ
เกดิ อาการเหลอื ง แหง้ ทรดุ โทรม เพลย้ี แปง้ จะดดู กนิ นำ้ �เลย้ี งทำ�ใหข้ งิ เหย่ี วแหง้ เรว็ ถา้ มกี ารระบาดของแมลงให้ใช้สาร
เคมีปอ้ งกันกำ�จดั แมลงตามคำ�แนะนำ�

เทคนคิ การปลกู และดแู ลรักษาขิง

1. การเตรียมการกอ่ นปลูก
1.1 การเตรียมดนิ
1) ไถดินลึก 20 - 30 เซนติเมตร

ตากดนิ 2-3 สปั ดาห์ เกบ็ เศษวชั พชื ออกจากแปลง
2) ใส่ป๋ยุ อินทรยี ใ์ นอตั รา 2 - 4

ตันต่อไร่
3) ใสป่ ูนขาวอัตรา 200 - 400
กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ หรอื ตามคา่ วเิ คราะหด์ นิ คลกุ เคลา้
ให้เข้ากันโดยไถพรวนดนิ 1 - 2 ครั้ง

4) ยกแปลงปลูกให้มีขนาดกว้าง
1 เมตร สงู 15 - 20 เซนตเิ มตร ระยะระหวา่ งรอ่ ง
50 - 70 เซนติเมตร ความยาวขนึ้ อยูก่ บั ขนาด
พ้ืนที่ รดน้ำ�ท้งิ ไว้ 15 - 30 วัน จึงปลกู

1.2 การเตรียมพันธ์ุปลูก
1) พนั ธข์ุ งิ
- ขงิ ใหญ่ ขงิ หยวก หรอื ขงิ ขาว
ขิงชนดิ นี้มขี ้อห่าง แง่งขิงมีขนาดใหญ่ไมเ่ บียด
กันชิด เน้อื ละเอยี ด มีเสยี้ นน้อยหรือไม่มเี สี้ยน
รสเผ็ดน้อย เป็นขงิ สดท่มี ีจำ�หน่ายในท้องตลาดทวั่ ๆ ไป
- ขงิ เลก็ หรอื ขงิ เผ็ด จะมแี งง่ เลก็ สน้ั ขอ้ ถ่ี เนอ้ื มเี สย้ี นมาก รสคอ่ นขา้ งเผ็ด
ตาบนแงง่ แหลม แตกแขนงดี ปลูกเป็นขิงแกไ่ ดน้ ำ้ �หนกั ดี ใชท้ ำ�เปน็ พชื สมุนไพรประกอบ
ทำ�ยารักษาโรคและสกดั ทำ�น้ำ�มนั
2) การเตรยี มท่อนพันธุ์ ทำ�การตัดท่อนพนั ธุเ์ ปน็ ทอ่ นๆ ยาวประมาณ
5 เซนตเิ มตร ให้มีตาบนแง่ง 2 - 3 ตา นำ�ทอ่ นพนั ธด์ุ งั กล่าวไปแช่ในนำ้ �ผสมสารเคมปี อ้ งกนั
กำ�จดั เชอ้ื รา ประมาณ 10 - 15 นาที หรอื คลกุ ดว้ ยสารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั เชอ้ื ราใหท้ ว่ั ทอ่ นพนั ธ์ุ
แลว้ นำ�มาผง่ึ แดดใหแ้ หง้ จงึ นำ�ไปปลกู จะใชท้ อ่ นพนั ธข์ุ งิ ประมาณ 300 - 400 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
2. การปลกู
2.1 วธิ ีปลูกขิง
1) เตรยี มแปลงแลว้ นำ�แงง่ ขงิ ทเ่ี ตรยี มไวล้ งในแปลงปลกู ขดุ ดนิ ลกึ 4 - 5 เซนตเิ มตร
แลว้ วางท่อนพันธุใ์ นแนวตงั้ แลว้ กลบดิน รดนำ้ �ให้ชุม่
2) การปลกู โดยอาศยั นำ้ �ฝน เปน็ การปลกู ในรอ่ งหรอื ระหวา่ งรอ่ ง โดยมสี นั รอ่ ง
สูง 15 - 20 เซนติเมตร ปลกู โดยนำ�ท่อนพนั ธ์ุวางลงในหลุมปลูกหลมุ ละ 1 ท่อน

28

หลุมปลกู ควรมีความลึก 4 - 5 เซนติเมตร ระยะระหวา่ งหลุม 20 - 25 เซนติเมตร และ
ระยะห่างระหวา่ งแถว 50 - 70 เซนตเิ มตร จะไดจ้ ำ�นวนหลมุ ขงิ ประมาณ 10,800 - 13,000
หลมุ ตอ่ ไร่

3) การปลูกโดยอาศัยนำ้ �ชลประทาน จะทำ�การปลกู บนแปลงสนั ร่องสูง
15 - 20 เซนตเิ มตร และมคี วามกวา้ ง 1 เมตร ระหวา่ งแปลงกวา้ ง 30 เซนตเิ มตร หลมุ ปลกู
ลกึ 4 - 5 เซนตเิ มตร ระยะปลกู ระหวา่ งตน้ 30 - 35 เซนตเิ มตร ระหวา่ งแถว 50 - 70
เซนตเิ มตร จะได้จำ�นวนหลุมขิงประมาณ 7,500 - 9,500 หลมุ ต่อไร่

2.2 ฤดูการปลูกขงิ
การปลกู ตน้ ฤดฝู น ระหวา่ งเดอื นเมษายนถงึ พฤษภาคมของทกุ ปี และการปลกู
นอกฤดฝู นจะปลูกในฤดูหนาว ประมาณเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพนั ธ์
3. การปฏิบตั ดิ แู ลรกั ษา

3.1 การใสป่ ยุ๋
ปุ๋ยรองพ้นื ใชส้ ตู ร 15 - 15 - 15 อตั รา 50 - 60 กโิ ลกรัมต่อไร่ เมื่อขิงอายุได้
2 และ 4 เดือน ใชป้ ยุ๋ สตู ร 13 - 13 - 21 อตั รา 50 - 60 กโิ ลกรมั ต่อไร่ การใสค่ วรขดุ หลมุ
ใสร่ ะหวา่ งหลมุ ปลกู ประมาณหลุมละ 1 - 2 ช้อนโต๊ะ
3.2 การใหน้ �้ำ
มี 2 วธิ ี โดยมากจะใชว้ ิธีใหน้ ้ำ�ตามร่อง หากพบวา่ หน้าดนิ แห้งและต้นขิงเรม่ิ
แสดงอาการเห่ียวควรใหน้ ้ำ�ทันที ระวงั อยา่ ให้น้ำ�ท่วมขงั อาจทำ�ให้หัวขิงเนา่ และการให้น้ำ�
แบบสปรงิ เกลอร์ จะมตี ้นทนุ สูงแต่จะให้ผลผลิตสูงกว่าการให้น้ำ�ตามรอ่ ง
3.3 การคลุมดิน
การคลมุ ดนิ จะลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการกำ�จดั วชั พชื ชว่ ยรกั ษาความชน้ื ในแปลงปลกู
โดยใช้ทางมะพร้าว ใบหญ้าคา ฟางขา้ ว เปน็ ต้น
3.4 การก�ำ จดั วัชพืช
เรมิ่ ต้ังแตก่ ารเตรยี มแปลงปลกู โดยจะตอ้ งทำ�การไถพรวนเกบ็ เอาเศษวัชพืช
ออกใหห้ มด หลงั จากปลูกขงิ เรยี บร้อยแล้วในช่วงแรกประมาณ 20 - 25 วนั หลังปลกู
จะมีวชั พชื แซมขน้ึ มามากเน่ืองจากขิงยังข้ึนแขง่ กบั วัชพืช เมือ่ ขงิ งอกและโตเตม็ ที่แลว้ จะ
คลมุ วัชพชื ใหก้ ำ�จดั ตามความเหมาะสม กำ�จัดวชั พืชโดยการถอนด้วยมือเทา่ นั้นเนื่องจาก
เปน็ วธิ ที ีก่ ระทบกระเทอื นต่อขงิ นอ้ ยทส่ี ดุ
3.5 การกลบโคน
การกลบโคนนอกจากจะเปน็ การกำ�จดั วชั พชื ไปในตวั แลว้ ยงั เปน็ การกระตนุ้
ให้ขงิ แตกหนอ่ แตกกอดแี ละแงง่ จะเจรญิ สมบูรณ์ ทำ�ครั้งแรกเมือ่ ขงิ มอี ายุ 2 เดอื น หรอื
เมอ่ื ตน้ ขงิ งอกขน้ึ มาไดป้ ระมาณ 3 ตน้ ตอ่ กอ ครั้งท่ีสองทำ�หลงั จากคร้งั แรกประมาณ 1 เดือน
หรอื ขิงมีอายุ 3 เดือนโดยใช้จอบโกยดินบนสันร่องกลบโคนต้นขงิ เพยี งครง่ึ หนงึ่ ของร่อง

29

4. ศตั รูพชื ทส่ี ำ�คัญ
4.1 โรคทีส่ ำ�คัญ
1) โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเช้ือรา หากมีการระบาดใหใ้ ช้สารเคมีปอ้ งกนั

กำ�จัดเช้ือราฉีดพน่ ตามคำ�แนะนำ�
2) โรครากปม เกิดจากไส้เดือนฝอย ป้องกนั การระบาดโดยการปรบั ปรุงดนิ

ใหม้ ีอนิ ทรีย์สงู ใสป่ ยุ๋ อนิ ทรีย์อัตรา 1 - 4 ตันต่อไร่ ไถตากดินเพื่อทำ�ลายไขแ่ ละตวั ออ่ น
ไส้เดือนฝอย ก่อนปลกู ควรรองกน้ หลุมด้วยสารเคมีปอ้ งกนั กำ�จัดไสเ้ ดอื นฝอยหรือจุม่
ทอ่ นพนั ธด์ุ ้วยสารเคมปี ้องกันกำ�จดั ไส้เดอื นฝอย หากมกี ารระบาดในพน้ื ทค่ี วรงดปลูกขงิ
แลว้ ปลกู พชื ชนิดอ่นื เพือ่ ตัดวงจร 4 - 5 ปี หรือปลูกพชื อน่ื สลบั

3) โรคตดิ พันธขุ์ ิง เกดิ จากเช้อื รา ปอ้ งกันโดยการคดั เลอื กแงง่ ขิงทส่ี มบูรณ์
ไวท้ ำ�พนั ธ์ุ กอ่ นปลกู ตดั เนือ้ เยอื่ ท่ีมสี ผี ิดปกติท้งิ สถานทเี่ กบ็ ทอ่ นพนั ธ์คุ วรมีอากาศถา่ ยเท
ได้สะดวก ไมช่ นื้ และร้อนเกินไป กอ่ นปลูกแชท่ อ่ นพนั ธุข์ ิงในสารเคมีป้องกนั กำ�จดั เชื้อรา
ตามคำ�แนะนำ�

4) โรคเห่ียว หรอื แงง่ เน่า หรือรากเน่า เกิดจากเช้ือรา ป้องกนั โดยงด
การปลกู ขงิ ในแหลง่ ทเ่ี คยเป็นโรคมากอ่ น ปลูกพชื หมุนเวียน ก่อนปลกู ควรใส่ปนู ขาว
และป๋ยุ อนิ ทรีย์จำ�นวนมากเพอ่ื ปรับสภาพดินทำ�ให้ดินร่วนซุยระบายนำ้ �ดี ไม่ควรปลกู ขิง
แน่นเกินไป ใช้พนั ธตุ์ า้ นทาน หากพบการระบาดถอนขงิ และขดุ ดินรอบกอขิงนำ�ไปเผาไฟ
ทำ�ลายและราดบรเิ วณท่ีเป็นโรคดว้ ยเอทธาโซล พซี เี อ็นบี ควินโตซีนตามคำ�แนะนำ�

5) โรคใบจดุ เกดิ จากเชอ้ื รา ระบาดมากในฤดฝู นหรอื ชว่ งท่มี ีความช้นื สูง
ปอ้ งกนั โดยการใชท้ อ่ นพนั ธท์ุ ส่ี ะอาดปราศจากโรค ชบุ ทอ่ นพนั ธด์ุ ว้ ยสารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั
เชอ้ื รา หากมกี ารระบาดควรทำ�ลายตน้ ทเ่ี ปน็ โรคโดยการขดุ ถอนไปฝงั ลกึ เพอ่ื ทำ�ลาย หา้ มเผา
จะทำ�ใหส้ ปอรฟ์ งุ้ กระจาย หากระบาดฉดี พน่ ดว้ ยสารเคมปี อ้ งกนั กำ�จดั เชอ้ื ราตามคำ�แนะนำ�
6) โรคเหย่ี วหรอื แงง่ เนา่ ของขงิ ทเ่ี กดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี ระบาดอยา่ งรวดเรว็ หาก
สภาพแวดลอ้ มชน้ื และรอ้ น ปอ้ งกนั โดยเลอื กใชแ้ งง่ หรอื ทอ่ นพนั ธข์ุ งิ ทส่ี ะอาดปราศจากเชอ้ื
หรือจากแหล่งท่ีไม่เป็นโรคก่อนปลูกควรล้างแง่งขิงด้วยน้ำ�จนสะอาดและระวังอย่าให้เกิด
แผลถลอกหรอื รอยช้ำ�ขนึ้ กับผิวหรอื เปลอื ก และหลกี เลยี่ งการปลูกขิงลงในดนิ ที่มี
โรคระบาดมากอ่ น

4.2 แมลงศตั รูพืชทสี่ �ำ คญั
1) หนอนและต๊กั แตน ใบขิงจะถูกกัดเปน็ รอยแหวง่ ถา้ มีการระบาดรุนแรง
อาจเหลอื แตก่ ้านใบ ป้องกันกำ�จัดโดยใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดแมลงฉีดพน่ ตามคำ�แนะนำ�
2) หนอนเจาะลำ�ตน้ และกนิ ใบ ปอ้ งกนั กำ�จดั โดยฉดี พน่ ดว้ ยสารเคมปี ระเภท
ดูดซมึ หรอื รองกน้ หลมุ กอ่ นปลกู ในบริเวณท่ีมีพนื้ ท่ีตดิ กับปา่ หรือเปน็ ปา่ เปดิ ใหม่ ดว้ ยสาร
เคมีป้องกันกำ�จดั แมลงตามคำ�แนะนำ� หม่ันตรวจแปลงอยา่ งสม่ำ�เสมอหากมีการระบาด
ตอ้ งดำ�เนินการปอ้ งกนั กำ�จัดอยา่ งเรง่ ดว่ น

30

3) หนอนเจาะแงง่ ขงิ ป้องกันกำ�จัดโดยฉีดพน่ ดว้ ยสารเคมีประเภทดดู ซึม
หรือรองกน้ หลุมก่อนปลูก ในบริเวณท่ีมพี นื้ ทตี่ ิดกับป่าหรอื เปน็ ปา่ เปดิ ใหม่ ด้วยสารเคมี
ปอ้ งกันกำ�จัดแมลงตามคำ�แนะนำ� หมน่ั ตรวจแปลงอย่างสมำ่ �เสมอหากมีการระบาดตอ้ ง
ดำ�เนนิ การป้องกันกำ�จดั อย่างเรง่ ด่วน

4) เพลย้ี หอย ป้องกันกำ�จัดโดยการแชท่ อ่ นพันธุป์ ้องกันกำ�จัดแมลงกอ่ นนำ�
ไปปลกู ด้วยสารเคมปี ระเภทดูดซึม หมั่นตรวจแปลง หากมีการระบาดอยา่ งรุณแรงฉีดพ่น
ดว้ ยสารเคมปี ้องกันกำ�จดั มด ท่ีเป็นตวั การพาตัวอ่อนของเพลีย้ หอยไปยงั แหล่งอาหาร

5) เพลยี้ ไฟหรอื ไรแดง ปอ้ งกนั โดยการฉีดน้ำ�พน่ ฝอยให้เปยี กใบอยู่ตลอด
เวลาติดต่อกัน จะลดปรมิ าณของไรและเพลี้ยไฟลงได้ ถา้ มกี ารระบาดฉีดพ่นสารเคมี
ปอ้ งกนั กำ�จัดแมลงฉดี พน่ ตามคำ�แนะนำ�

6) เพลย้ี แปง้ ปอ้ งกนั กำ�จดั โดย แชท่ ่อนพันธ์ดุ ้วยสารเคมีปอ้ งกันกำ�จดั
ประเภทดูดซึม หมัน่ ตรวจแปลง หากมกี ารระบาดอย่างรุณแรงฉีดพ่นด้วยสารเคมปี อ้ งกนั
กำ�จดั มด ท่เี ป็นตัวพาตวั อ่อนของเพลย้ี ไปยังแหลง่ อาหาร
5. การปฏบิ ัตกิ อ่ นและหลงั การเก็บเกี่ยว

1) กอ่ นการเก็บเกี่ยวขงิ แกค่ วรงดการใหน้ ้ำ�สักระยะหนึ่ง เพ่อื ใหใ้ บและ
ลำ�ต้นเทยี มเฉา และลำ�เลียงอาหารจากใบและต้นเทียมไปสะสมท่แี งง่ ขิงมากขนึ้ ทำ�ให้
น้ำ�หนักเพ่ิมขึน้ และงดการใช้สารเคมีป้องกันกำ�จดั ศตั รพู ชื ตามระยะเวลาท่ีปลอดภยั
2) การเก็บเกีย่ วขงิ โดยใช้การถอนและใช้เสียมช่วยในการขุดและแงะออก
จากดนิ ให้ระวงั การหักและเกิดแผลของขิงในขณะเกบ็ เกีย่ ว
การเก็บเกยี่ วขิงอ่อน จะเริม่ เกบ็ เมอ่ื อายปุ ระมาณ 4 - 6 เดือน หรือสงู
30 - 40 เซนติเมตร กท็ ำ�การเกบ็ หนอ่ ขายได้ ระยะเวลาทีเ่ ก็บแตล่ ะคร้ังหา่ งกันประมาณ
12 - 15 วัน แม่ขิงที่เพาะ 100 กโิ ลกรมั จะเก็บขิงออ่ นรุ่นแรกได้ประมาณ 13 กิโลกรมั
สว่ นรุ่นหลงั ๆ จะเกบ็ ได้รนุ่ ละประมาณ 6 - 12 กิโลกรัม ผลผลิตของแง่งสดไดป้ ระมาณ
3,000 - 4,000 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
การเกบ็ เกย่ี วขงิ แก่ จะเรม่ิ เกบ็ เมอ่ื ขงิ มอี ายไุ ดป้ ระมาณ 8 - 12 เดอื น โดยจะ
สงั เกตได้จากใบและลำ�ตน้ เริม่ มีอาการเหย่ี วเฉา ผลผลติ ทไี่ ดป้ ระมาณ 3,000 - 5,000
กิโลกรัม

3) ภายหลงั การเกบ็ เกย่ี ว ควรทำ�ความสะอาดขงิ โดยการลา้ งดนิ และเอาราก
ทต่ี ดิ มากบั แงง่ ขงิ ออก ตดั แตง่ แงง่ ขงิ และระวงั อยา่ ใหเ้ กดิ บาดแผลเปลอื กขงิ ถลอก แลว้ ผ่งึ
ให้แหง้ ไมค่ วรกองขงิ ทับกันหนาเกินไปอาจทำ�ใหเ้ กิดความรอ้ นและเน่าได้ เมือ่ ขงิ แห้งแล้ว
ทำ�การคดั เกรดตามช้ันคุณภาพ เชน่ เปน็ ขิงท้ังเหงา้ หรือแงง่ เปน็ ขิงสด สะอาดปราศจาก
สงิ่ แปลกปลอมท่ีมองเห็นได้ ไมเ่ สือ่ มคณุ ภาพไม่เน่าเสีย ที่ทำ�ใหเ้ หมาะแกก่ ารบรโิ ภค รอย
ถลอกทีเ่ กดิ ขนึ้ ท่ผี ิวและรอยตัดต้องแห้ง ไม่มีศตั รูพืชที่มีผลกระทบตอ่ ลักษณะภายนอก

31

ไม่มีร่องรอยความเสียหายเนอื่ งมาจากศตั รพู ชื ท่มี ีผลกระทบต่อคุณภาพ และตอ้ งไม่มี
กลิ่นแปลกปลอม และรสชาติที่ผิดปกตติ ามมาตรฐานคุณภาพสนิ ค้าขิง

4) การเกบ็ พนั ธแ์ุ ละการเกบ็ รกั ษาพนั ธข์ุ งิ ควรคดั เลอื กทอ่ นพนั ธข์ุ งิ ทส่ี มบรู ณ์
ปราศจากร่องรอยการทำ�ลายของโรคและแมลง และไม่มีลกั ษณะเปน็ ขยุ ท่อนขิงต้องขอ้ ถี่
แง่งใหญ่ กลมปอ้ ม ตาเตง่ เนือ้ ขงิ ไมน่ ม่ิ ผิวเปน็ มันอายปุ ระมาณ 10 - 12 เดือน แง่งขงิ จะ
มรี ะยะการฟักตัวประมาณ 1 - 3 เดอื นหลงั ขดุ ควรเกบ็ ไว้ในทแ่ี ห้งและเยน็ อากาศถา่ ยเท
ได้สะดวก กอ่ นเก็บใหน้ ำ�ท่อนพนั ธ์มุ าจุ่มสารเคมีป้องกันกำ�จดั เชอื้ ราและแมลงศัตรขู งิ
นำ�ไปผงึ่ ให้แห้งแล้วเกบ็ รกั ษาไว้

32

ขอ้ มลู สภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตและให้ผลผลติ ของขงิ

33 รายการ ความเหมาะสม ข้อจำ�กดั / รายละเอยี ดเพิ่มเติม
1. สภาพภมู ิอากาศ จะชะงักการเจริญเตบิ โตท่อี ุณหภมู ติ ่ำ�กวา่ 15 Cํ
1.1 อุณหภูมิ เจรญิ เติบโตไดด้ ีที่อุณหภมู ิ ระหวา่ ง เชปา้ ็นพืชทีต่ อ้ งการอากาศรอ้ นชื้น ความช้ืนสมั พัทธใ์ นอากาศต่ำ�ทำ�ใหก้ ารเจรญิ เตบิ โต
20 – 35 ํC ความยาวช่วงแสงมีผลต่อการกระตุ้นการออกดอกของขิง ทำ�ใหข้ ิงแก่เร็วขน้ึ
1.2 ความช้ืนสมั พทั ธ์ ประมาณ 60 - 80 % ความเขม้ ของแสงแดดในประเทศไทยเหมาะสมต่อการเจรญิ เตบิ โตของขงิ ถ้าได้รบั
1.3 ความยาวช่วงแสง ขแิงสจงะแเดจดรเิญตเม็ ตทบิ ่ตี โลตอไดดด้ วีนั ต้องไดร้ ับ แดดจัดจะทำ�ใหอ้ อกดอกและแกเ่ รว็
เจริญเตบิ โตได้ทัง้ ในทโ่ี ลง่ แจ้งหรือมี
1.4 ความเขม้ ของแสง แสงรำ�ไร เปน็ พืชที่ชอบแสงแดด พ้ืนท่สี ูงจะมอี ณุ หภูมติ ำ่ � ขงิ จะชะงกั การเจริญเติบโตผลผลิตจะตำ่ �
ถ้าพนื้ ที่ปลูกมคี วามลาดเอียงเลก็ นอ้ ยจะชว่ ยในการระบายนำ้ �ส่วนเกนิ ได้ดี
2. สภาพพนื้ ที่ ควรมคี วามสูงจากระดับน้ำ�ทะเล
2.1 ความสูงจากระดบั น้ำ�ทะเล ไมเ่ กนิ 1,500 เมตร ทดนิว่ มตขอ้ ังงรถะ้าบปาลยกู นเำ้ก�ไ็บดขด้ งิ แี อลอ่ ะนมคีคววราปมลอูกดุ ใมนสดมินบทูรรณาย์สหงู ยไามบช่ ไอดบร้ ับดนิแสเหงรนำยี�ไวรขจ่งิัดจหะรไอื ดท้ไมี่ล่แมุ่ กมเ่ ีนร็ว้ำ�
2.2 ความลาดชันของพื้นที่ 2–3% ถา้ pH สงู หรอื ต่ำ�เกินไปธาตอุ าหารในดนิ จะอยู่ในรปู ท่ีไมส่ ามารถใช้ประโยชนไ์ ด้
33..1สลภกั าษพณดะนิ ดนิ พืชท่ีไมท่ นเคม็ จะมีการเจริญเติบโตลดลง ใบสเี ขม้ ขึน้ หนาข้นึ ปลายใบไหม้ ปลายใบ
3.2 ความลึกของหนา้ ดิน ดต20นิ้องร-ก่ว3นา0รปดเนซนิ ทนโปรตารเิ ยม่งแตลระ. อุดมสมบูรณ์ เชน่ มว้ นงอผลผลติ ลดลง
3.3 ความเปน็ กรดเปน็ ดา่ งของดิน (pH) 6.0 - 6.5
3.4 ความเคม็ ของดนิ ดินทมี่ ปี ริมาณเกลอื ในดินประมาณ -
0.12 - 0.25 % ทNขิง่ีม:Pีธต:Kา้อตงเุโกทปาา่ แรกตปับสุ๋ยเ1ทชีม่่ีย: ีไม1นสโ:ูงตเ2มรเ่ือจเนรสมิ งูลใงนหรัวะสยะะสแมรกอาหแตาร่เปส็นดั ผสัก่วกนนิ ขลอำง�ตธน้าตใตอุ ด้ านิหาจรึงใตนอ้ปงุ๋ยใทสใ่ีป่ ชุย๋ ค้ ือ
3.5 ปริมาณอินทรยี ว์ ตั ถุ 2-4%
ก44..า1รคเปวจารรมิมญิ าตเณตอ้ ิบธงโากตตาแุอรตธาล่หาะตาชรอุ ว่ทางี่พหรืชะายตรขะอ้ ของอกงางพพรืชสืชำ�หรบั เปน็ น้ำ�จากแหล่งทไ่ี มก่ ่อใหเ้ กดิ การปนเปอ้ื นจลุ นิ ทรยี ส์ ารเคมีและโลหะหนัก
ลรธขะาิงำ�ยตตตะุน้ ้อแโใงรปตกกด้ราแนิแรตสปตสะผุ่๋ยเสลทชมผียมี่ อลมไี นาิตสหโทงู ตเาใี่ มรชรเอ่ื้บจจขรนึงิงโิ ตสภเรอ้งู ค่มิใงเนลกปงา็นหรัว
55..1สภปารพมิ นาณ�้ำ นำ้ �ทีพ่ ืชต้องการ
ใชน้ ้ำ�ฤดูปลูกละ 2,000 - 2,500
ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่

แนวทางการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลิต และแหล่งสืบค้นขอ้ มูลเพ่มิ เติม

แนวทางการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต
ควรใชพ้ นั ธข์ุ งิ ทป่ี ลอดจากเชอ้ื แบคทเี รยี และไวรสั และไดจ้ ากแหลง่ ปลกู ทป่ี ราศจาก

การระบาดของโรคทเี่ กิดจากเชอื้ แบคทีเรยี และไวรัส
ดินปลกู ควรเปน็ ดนิ รว่ น ดินรว่ นปนทราย ตอ้ งระบายนำ้ �ได้ดแี ละมคี วามอดุ ม

สมบรู ณ์สงู
ควรปรับปรงุ บำ�รุงดิน ก่อนปลกู ควรตากดนิ เพื่อให้ปลอดจากเชอื้ โรคต่างๆ
ควรหลกี เล่ียงการปลกู ในทล่ี มุ่ มีน้ำ�ทว่ มขงั การปฏิบัตดิ แู ลรักษายากและอาจเกดิ

โรคระบาดไดง้ า่ ยหากความช้ืนในดนิ สูงเกนิ ไป
ถา้ ปลกู เก็บขงิ ออ่ นควรปลกู ในดนิ ทรายหยาบ และควรมีการพรางแสงหรือได้รับ

แสงรำ�ไรขงิ จะไดไ้ มแ่ กเ่ รว็
แหลง่ สืบคน้ ข้อมลู เพิ่มเติม
กรมส่งเสริมการเกษตร, 2551. ผักสวนครวั สานใยรกั แห่งครอบครวั . กรมส่งเสริม
การเกษตร. กรุงเทพฯ.
กรมวิชาการเกษตร, 2545. การจัดการคุณภาพพชื ผัก. กรมวิชาการเกษตร. กรงุ เทพฯ.
ไฉน ยอดเพชร, 2542. พืชผักอตุ สาหกรรม. พมิ พ์คร้ังที่2. สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล

วิทยาเขตบางพระ. สำ�นกั พิมพร์ ้วั สเี ขียว. กรุงเทพฯ.
http://www.doae.go.th/library/html/veget_all.html 14 กุมภาพันธ์ 2556.
http://www.agric-prod.mju.ac.th/web-veg/article/new129.htm 14 กมุ ภาพันธ์ 2556.
http://www.vegetweb.com 14 กุมภาพนั ธ์ 2556.
http://myveget.com 14 กุมภาพันธ์ 2556.
http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php 14 กุมภาพันธ์ 2556.

34

คะนา้

ขัน้ ตอนการปลกู และการดูแลรกั ษาคะนา้

การเตรียมการ 15 วัน 30 วนั 45 วนั 60 วัน 75 วัน 90 วัน

การเตรียมดนิ การปลูก การถอนแยก การใส่ปุ๋ยและ การให้น�้ำ
- ไถพลิกหน้าดินใหล้ กึ - หวา่ นกระจายท่วั - คร้งั ท่ี 1 เมอื่ คะนา้ อายุ ก�ำ จดั วชั พืช ใหอ้ ยา่ งสมำ่ �เสมอโดย
ประมาณ 15 - 20 ซม. แปลง อัตราเมลด็ 20 วนั หลงั งอก ภายหลงั จากถอน เฉพาะชว่ งเรม่ิ งอกหา้ มขาด
- ตากดินไว้ 7 - 10 วัน ที่ - ครงั้ ที่ 2 เม่อื คะน้าอายุ แยก ใส่ปยุ๋ สูตร 12-8-8 นำ้ �โดยเดด็ ขาด
ใช้ 1-1.5 กก.ตอ่ ไร่ 30 วันหลังงอก หรอื
- ใส่ปุ๋ยอนิ ทรีย์ 2 ตันต่อไร่ - กลบด้วยดินผสม 20-11-11 ในอัตรา 100
5น0าแนอชงกเ่3มศา0ลารเ็ดเซนตใลพานรเทียนันซี มียธำ้ �อส์ุเมุ่นลทด็ ่ี ปุ๋ยคอก คลุมด้วย ทมเกอีีต่ ็บคลาเะยากนดุย่ี 5้าตว0อก้อไาดา-งย้นรก5ุ เ้ำา45�กหร5บ็มวนันวาเกั กันกเมปย่ี าแเน็วปกตร็นกค่ะวระยะา่ นะยทา้ ะที่ ี่
ฟาง รดนำ้ �ให้ทว่ั ก.ก.ต่อไร่ โดยแบง่ ใส่
คะนา้ จะงอก 2 ครง้ั พร้อมพรวนดนิ
ภายใน 7 วนั กำ�จดั วัชพชื

ในคร้ังท่ี 1 เมือ่ ถอน
แยกคะน้าอายุ 20 วนั
หลังงอก

ในครัง้ ท่ี 2 เมือ่ ถอน
แยกคะน้าอายุ 30 วัน
หลงั งอก

5กแ0าล ว ะอเใหงชศนเ้ ชายี แโเอื้ วซรมไคลตลหเทซรงนส่ีโยีทคอ�ำสส่ี เคนด�ำนญัคคอาบื ญัรนกม์ โะร3่าหหค0ปลนเอ้นนำ่อ�งาา่ นปกทคกอ้ันีอหรงโดะกรรทินอืคนั ผ้คูแปกัลลโ้อรกุะศปคเกงตัอม้ รกำงล�ราันจกดทูน็ดั ดนัแด้ำ่ีสว้�ดลคว้�ำยว้ะย้าคกยฉกงญัากดีาปรารพหรใอ้ น่ชหวงแ้ดมา่กมว้นน่ันั ยลสเดสงมำศ�้วาลรตรยัว็ดเรกจคคธูแามะรปรปรีนแลมอ้้าชงชงไเ่ปากมมลตนั่ใลกูแหิกด็ ลแ้ำตใ�ะนนดิจเดั ช่นกนโอ้ืบัรเำ้ �กคดอBินพกัุ่นTไชื ทป่ี 1. กกกกาาาารรรรขคบตนัดัดรรยขแจนต้าุยง่าโดแดตลยแดั ะทลสกะวั่ ่วาคไนปรณุ เทนกภีเ่ิยบ็นามรกพา่ กัใเาหชสษร้เรียขาปือแง่ ฏคคแลบิัดวบะรเผตับิกขดหิตรนปดา่ลยกงงั้าๆตกยทิาแบริ้งลรเะรกเจ็บกขุ ็บเนกรยี่ยัก้าวษยาผดกั ้วยความระมัดระวงั
2.
3.
4.

เทคนคิ การปลกู และดูแลรกั ษาคะนา้

1. การเตรียมการ
1.1 การเตรยี มดนิ
เนอ่ื งจากคะน้าเป็นผักรากต้นื ควรขุดดินใหล้ ึก
ประมาณ 15 - 20 เซนตเิ มตร ตากดินท้งิ ไวป้ ระมาณ
7 - 10 วนั แลว้ นำ�ปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั ทส่ี ลายตวั ดแี ลว้
มาใส่คลุกเคลา้ ให้เข้ากบั ดิน เพอ่ื ปรับปรุงสภาพ
ทางกายภาพและเพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ของดิน
พรวนยอ่ ยหน้าดินให้มขี นาดเลก็ โดยเฉพาะการปลูก
แบบหว่านโดยตรงลงในแปลง เพอื่ มิใหเ้ มลด็ ตกลกึ ลงไป
ในดินเพราะจะไมง่ อกหรอื งอกยากมาก ถา้ ดนิ เปน็ กรด
ควรใสป่ นู ขาวเพอ่ื ปรบั ปรงุ ดนิ ใหอ้ ยใู่ นสภาพทเ่ี หมาะสม
1.2 การเตรยี มเมลด็ พนั ธ์ุ
นำ�เมลด็ พันธุค์ ะน้า แชใ่ นน้ำ�อนุ่ อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซยี ส นาน 30
นาที เพือ่ ฆ่าเชือ้ โรคพืชทตี่ ดิ มากับเมล็ดพันธุโ์ ดยเฉพาะโรครานำ้ �คา้ ง

2. การปลูกและการถอนแยก
2.1 การปลกู หลงั จากเตรยี มดนิ แลว้ เกษตรกรนิยมหวา่ นเมลด็ ลงบน
แปลงปลูกโดยตรงมากกว่าย้ายกลา้ โดยหวา่ นเมล็ดให้กระจายทั่วทง้ั ผิวแปลง กลบเมล็ด
ด้วยดนิ ผสมหรอื ปุ๋ยคอกท่สี ลายตวั ดีแลว้ ให้หนาประมาณ 0.6 - 1 เซนติเมตร คลมุ ด้วย
ฟางหรือหญา้ แหง้ บางๆ รดนำ้ �ให้ชุม่ ดว้ ยบัวฝอย ต้นกลา้ จะงอกภายใน 7 วัน
2.2 การถอนแยก หลงั งอกประมาณ 20 วัน หรือตน้ สงู ประมาณ 10
เซนติเมตร ให้เรม่ิ ถอนแยกครง้ั แรก โดยเลือกถอนตน้ ทไี่ ม่สมบูรณ์ออก เหลือระยะหา่ ง
ระหวา่ งตน้ ไว้ประมาณ 10 เซนตเิ มตร และเมอ่ื คะน้ามีอายไุ ด้ประมาณ 30 วนั จงึ ถอน
แยกครงั้ ท่ี 2 ให้ตน้ ห่างกัน 20 เซนติเมตร ในการถอนแยกแต่ละคร้ังควรทำ�การกำ�จัด
วัชพชื ไปในตัวดว้ ย

3. การดแู ลรักษา
3.1 การใสป่ ๋ยุ สดั สว่ นของธาตอุ าหารทีใ่ ช้คือ N : P : K เท่ากับ 2 : 1 : 1 เชน่
ปยุ๋ สตู ร 12 - 8 - 8 หรอื 20 - 11 - 11 ในอตั รา 100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ โดยแบง่ ใส่ 2 ครง้ั
ครง้ั ละเทา่ ๆ กัน คอื ใส่หลงั จากถอนแยกครั้งแรกและหลงั ถอนแยกครงั้ ทสี่ อง หากสงั เกต
เหน็ วา่ ผักไมเ่ จริญเตบิ โตเท่าทค่ี วรอาจใส่ปุย๋ ไนโตรเจนบำ�รุงเพิม่ เติม เช่น ปยุ๋ ยเู รยี
ปุย๋ แอมโมเนียมซัลเฟต โดยให้ทางรากหรือละลายน้ำ�ในอตั ราประมาณ 3 - 4 ชอ้ นโตะ๊
ตอ่ นำ้ � 1 ปบี๊ (20 ลิตร) ฉีดพน่ ทางใบ
3.2 การใหน้ �้ำ คะน้าตอ้ งการนำ้ �อยา่ งเพียงพอและสมำ่ �เสมอ เพราะตน้ คะน้ามี
การเจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ ดงั นน้ั ตอ้ งปลกู ในแหลง่ นำ้ �ทม่ี นี ำ้ �เพยี งพอตลอดฤดปู ลกู
หากขาดน้ำ�คะนา้ จะชะงักการเจรญิ เตบิ โตและคณุ ภาพไมด่ ี โดยเฉพาะในระยะท่เี มล็ด
เริ่มงอกย่งิ ขาดน้ำ�ไมไ่ ด้

36

4. ศัตรูพืช
4.1 โรคพืชที่ส�ำ คัญ
- โรคเน่าคอดิน (Damping off) เกดิ จาก
เชอ้ื รา ระบาดมากในระยะกลา้ สามารถปอ้ งกนั กำ�จดั โดย
1) เตรยี มแปลงเพาะ ยอ่ ยดนิ ใหล้ ะเอยี ด
และใหถ้ กู แดดจัด กอ่ นหวา่ นเมลด็
2) ใช้สารปอ้ งกันกำ�จดั เช้ือรา
คลุกเมล็ดก่อนปลูก
3) ไม่หว่านเมล็ดคะนา้ ให้แนน่ เกนิ ไป
4) ไมค่ วรรดนำ้ �ในแปลงกลา้ มากเกนิ ไป
แปลงกลา้ ควรมกี ารระบายนำ้ �ไดด้ ี
5) ถ้าระบาดในแปลงกลา้ ควรราดดนิ
ด้วยสารเคมีป้องกันกำ�จัดเชื้อราอัตราส่วนตามท่ีระบุ
บนฉลาก
6) ใชเ้ ชือ้ ราไตรโคเดอร์มา่
- โรคราน�ำ้ ค้าง (Downy mildew) เกิด
จากเชื้อรา ระบาดมากในฤดหู นาว สามารถป้องกัน
กำ�จัดโดย
1) แช่เมลด็ ในน้ำ�อนุ่ ทีอ่ ุณหภมู ิ 50
องศาเซลเซียส นาน 30 นาที หรือคลกุ เมลด็ ด้วยสาร
ปอ้ งกันกำ�จัดโรคพืช กอ่ นปลูก
2) เมอ่ื มกี ารระบาดของโรคในแปลงปลกู
พน่ สารปอ้ งกนั กำ�จดั โรคพชื ตามอตั ราทร่ี ะบไุ วบ้ นฉลาก


4.2 แมลงศตั รทู สี่ �ำ คญั

- หนอนกระทู้ผกั (Common cutworm)
สามารถป้องกันกำ�จัดโดย

1) ติดตามสำ�รวจดสู วนผกั อยา่ งสมำ่ �เสมอ
ถ้าพบเห็นลักษณะการทำ�ลายของหนอนท่ีฟักออก
จากไขใ่ หม่ๆใหเ้ กบ็ ทำ�ลาย และตดิ กบั ดกั กาวเหนียว
เพ่ือดกั จับแมลงเต็มวัย

2) ถา้ หนอนกระจายออกไปกดั กนิ ใบพืช
มากแลว้ ใหพ้ ่นด้วยสารเคมีปอ้ งกันกำ�จัดศตั รูพชื
ตามอตั ราทแี่ นะนำ�ไว้บนฉลาก


37

- หนอนคืบกะหล่ำ� (Cabbage Looper) สามารถป้องกันกำ�จดั โดย
1) ใชศ้ ัตรูธรรมชาตไิ ด้แกแ่ ตนเบียน 3 ชนิด คือ Apanteles sp.
Trichogramma sp. Brachymeria sp.
2) ใชเ้ ชอ้ื Bacillus thuringiensis (BT) ฉดี พ่นในอตั รา 60 - 100 มิลลลิ ติ ร
ต่อน้ำ� 20 ลิตร หรอื ชนดิ ผงในอตั รา 40 - 80 กรัม ต่อนำ้ � 20 ลติ ร
3) หากระบาดมากใช้สารเคมีปอ้ งกนั กำ�จดั แมลงตามคำ�แนะนำ�
4) ตดิ กับดักกาวเหนยี วเพ่ือดกั จับแมลงเต็มวยั
6. การเก็บเกี่ยว
อายุประมาณ 45 วนั เป็นระยะทต่ี ลาดต้องการ ควรเก็บเก่ยี วในเวลาเช้า โดยใช้
มีดตดั ชิดโคนตน้ การตัดไลเ่ ปน็ หนา้ กระดาน
7. การปฏิบัติหลงั การเก็บเก่ยี ว
รวบรวมผลผลิตไว้ยงั ทร่ี ่มหรือโรงบรรจุคัดเลอื กผัก (Packing House) เพ่ือทำ�การ
ล้าง ตัดแตง่ คัดขนาด และบรรจุ ขัน้ ตอนในการปฏิบัติหลังการเกบ็ เกี่ยวมีดงั น้ี
7.1 การตดั แตง่ ตัดส่วนท่ีเน่าเสยี และผิดปกติทง้ิ
7.2 การคดั ขนาดและคุณภาพหรอื คดั เกรด โดยทำ�หลังการตัดแต่งและทำ�
ความสะอาดเพอื่ ให้สามารถแยกการบรรจไุ ด้อย่างเหมาะสม และเป็นการเพมิ่ มลู ค่าใหก้ บั
คะน้าเมือ่ มกี ารจำ�หน่าย มากกว่าการขายคละ
7.3 การบรรจุ โดยทว่ั ไปนยิ มใชเ้ ขง่ แบบตา่ งๆ บรรจขุ นยา้ ยผกั เนอ่ื งจากสะดวก
หางา่ ย ราคาถกู แตม่ ขี อ้ เสยี ทท่ี ำ�ใหผ้ กั ชำ้ � เนา่ เสยี ไดง้ า่ ย หรอื มดั ดว้ ยเชอื ก มดั ละ 5 กโิ ลกรมั
ปัจจบุ นั มีการใช้ถุงพลาสติกเจาะรู ตะกรา้ พลาสตกิ เพอื่ บรรจุขนยา้ ยผักท่ีคดั เลอื กขนาด
และคุณภาพเพอ่ื การสง่ ออก และส่งตามซุปเปอรม์ ารเ์ กต็ หรือตามตลาดขายส่งต่างๆ
7.4 การขนยา้ ยและการเกบ็ รกั ษา ควรขนยา้ ยและเกบ็ รกั ษาดว้ ยความระมัด
ระวัง ถ้ามีการใช้รถห้องเยน็ จะทำ�ให้รักษาคณุ ภาพผกั ให้ยาวนานขึน้

38

ข้อมูลสภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมตอ่ การเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของคะนา้

รายการ ความเหมาะสม ข้อจ�ำ กัด / รายละเอียดเพม่ิ เติม
1.สภาพภมู ิอากาศ เจรญิ เติบโตได้ดีท่ีอณุ หภมู ปิ ระมาณ คะนา้ สามารถปรับตวั ทนความเย็นจัดได้ทอ่ี ุณหภูมิ เฉลย่ี 16 - 18 องศาเซลเซียส
22 - 30 องศาเซลเซยี ส ความชืน้ สัมพทั ธใ์ นอากาศตำ่ �กว่า 60% ทำ�ให้การเจรญิ เตบิ โตชา้
1.1 อุณหภมู ิ 60 - 80 % คะน้าเจรญิ เติบโตได้ดี ตอ้ งไดร้ ับแสงแดดเตม็ ท่ีตลอดวนั ถ้าแสงแดดนอ้ ยกวา่ ปรมิ าณ
1.2 ความชนื้ สัมพัทธ์ 10 ชัว่ โมงตอ่ วัน ที่ตอ้ งการ จะทำ�ใหอ้ ัตราการสังเคราะหแ์ สงลดลง ส่งผลตอ่ การเจรญิ เติบโตและความ
1.3 ความยาวช่วงแสง สมบูรณข์ องต้น
ควรมคี วามสูงจากระดบั น้ำ�ทะเล
2. สภาพพืน้ ท่ี ไมเ่ กิน 800 เมตร
2.1 ความสูงจากระดับน้ำ�ทะเล 5 - 20 %
2.2 ความลาดเอียงของพืน้ ที่
39 ดนิ รว่ นปนทราย หดินนต้าดอ้ นิงรแะลบะารยะนดบัำ้ �ไนดำ้ ด้�ใีตแ้ดลนิ ะทม่พีคี วอาเหมมอาุดะมสทมำ�บใหูร้มณคี ส์ วงู ามชืน้ เพยี งพอ เหมาะแก่การเจริญ
3.สภาพดนิ หนา้ ดินลกึ ประมาณ 18 - 24 นิ้ว เถต้าิบpโตH สูงหรอิื ตำ่ �เกินไป ธาตอุ าหารในดนิ จะอยู่ในรปู ทพี่ ืชไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้
3.1 ลกั ษณะของเน้อื ดนิ 5ระ.5ดับ- น6้ำ.�8ใต้ดินลกึ มากกวา่ 1 เมตร -
3.2 ความลกึ ของหน้าดนิ 25 - 35 องศาเซลเซียส
3.3 ความเปน็ กรด-เป็นด่างของดิน -
2.6 - 3.5%
(pH)3.4 อุณหภูมดิ ิน
3.5 ปรมิ าณอินทรยี วัตถุ

40

ขอ้ มูลสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจรญิ เตบิ โตและให้ผลผลิตของคะน้า (ตอ่ )

รายการ ความเหมาะสม ข้อจำ�กดั / รายละเอยี ดเพิม่ เตมิ
4. ความต้องการธาตุอาหารของพืช N = 2.80 – 3.00 P = 0.17 – คะน้าเป็นผกั กนิ ใบและลำ�ตน้ จึงตอ้ งใส่ป๋ยุ ที่มธี าตไุ นโตรเจนสูง สัดส่วนของธาตุ
0.29 K = 1.8 – 2.30 อาหารในปยุ๋ ทีใช้คือ N : P : K เทา่ กับ 2 : 1 : 1
4.1 ธาตอุ าหารหลกั (%) การได้รบั แรธ่ าตุอาหารท่ีมากหรอื น้อยเกนิ ไป อาจพบอาการใบเหลือง หรอื สเี ขยี ว
เขม้ จัด
4.2 ธาตอุ าหารรอง (%) Ca = 3.00 – 4.90
Mg = 0.30 – 0.49 น้ำ�ที่ใชต้ ้องมาจากแหล่งทีไ่ ม่มสี ภาพแวดลอ้ มทก่ี ่อให้เกิด
S = 0.20 – 0.39 การปนเปื้อนจลุ นิ ทรีย์ สารเคมแี ละโลหะหนัก
5. สภาพน้ำ�
5.1 ความเปน็ กรด-เป็นดา่ งของนำ้ � (pH) 5.5 – 7.0

5.2 ปรมิ าณน้ำ�ทพี่ ืชต้องการ ฤดูปลูกละ 300 - 450 ลกู บาศก์เมตร ในระยะเมล็ดเริ่มงอกตอ้ งใหน้ ำ้ �วนั ละ 2 เวลา เชา้ - เยน็
ตอ่ ไร่

แนวทางการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลิต และแหล่งสืบคน้ ขอ้ มูลเพิม่ เติม

แนวทางการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลิตคะน้า
1. การเชเ่ มลด็ พันธุ์ผักคะน้าในน้ำ�อ่นุ 50 องศาเซลเซยี ส นาน 30 นาที
เพอ่ื กระตุ้นการงอกและฆา่ เชอื้ ท่ีตดิ มากับเมลด็ พนั ธุไ์ ด้
2. ในฤดูฝนควรเตรียมดนิ โดยการใช้เชอื้ ราไตรโคเดอร์มา่ คลุกผสมลงใน
แปลงปลูก หากพบคะน้าเปน็ โรคเนา่ คอดินแลว้ ให้เก็บคะนา้ ท่ีเป็นโรคออกไปท้ิง
นอกแปลงปลกู แล้วใชน้ ำ้ �ปูนใสรดท่แี ปลงปลูก ซงึ่ นำ้ �ปูนใสสามารถทำ�ได้โดย นำ�ปูนขาว
5 กโิ ลกรัม ละลายนำ้ � 20 ลิตร ทิง้ ไว้ 1 คนื นำ�น้ำ�ส่วนที่ใส 1 สว่ น ผสมนำ้ � 5 สว่ น
เพอ่ื รดแปลงผกั
แหล่งสืบค้นขอ้ มลู เพิม่ เติม
กรมส่งเสริมการเกษตร.2551. คู่มือนกั วชิ าการส่งเสรมิ การเกษตรพชื ตระกลู กะหล�่ำ
(คะนา้ ,ผกั กาดกวางตุ้ง)
กรมวิชาการเกษตร ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2543. หลกั และวธิ ีการผลติ ผกั อนามยั
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร . คมู่ ือการปลกู ผกั ใหป้ ลอดภัยจากสารพษิ
http://www.doae.go.th/library/html/veget_all.html วันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2556

41

แคนตาลปู 10 วัน ขนั้ ตอนการปลูกและการดูแลรกั ษาแคนตาลูป 50 วนั 60 วัน

การเตรียมการ 20 วนั 30 วัน 40 วนั

การเตรยี มดนิ การใสป่ ุ๋ย การใหน้ �ำ้ การเก็บเก่ียว

- ไถดินลึก 20 เซนตเิ มตร - คร้งั ที1่ หลงั ปลกู 7-10 วัน ใสย่ ูเรยี 5 กรัมตอ่ /น้ำ� 10 ลติ ร - ใหอ้ ยา่ งสม่ำ�เสมอ - เกบ็ ชว่ งเช้า
- ตากดิน 10 - 15 วัน รดโคนต้น - ระยะแรกให้แคเ่ พยี งพอตอ่ - ผลแตงมคี วามสกุ 80 เปอร์เซนต์
- ถา้ ดนิ เปน็ กรดสูงใชป้ นู ขาว - ครง้ั ท2่ี หลงั ปลูก 20 วัน ใสป่ ุย๋ สตู ร 15-15-15 อัตรา การงอก - อายกุ ารเกบ็ เก่ียว 55 วัน
100- 200 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ 25 กโิ ลกรมั ต่อไร่ - ใหน้ ้ำ�เพมิ่ ขน้ึ เมื่อต้นเรมิ่ เจริญ
- ใสป่ ุ๋ยอนิ ทรยี ์ 1 ตันต่อไร่ - ครง้ั ท่3ี หลงั ปลกู 35 วัน ใส่ปุ๋ยสตู ร 13-13-21 อตั รา เตบิ โต
- ไถพรวนอกี 2 - 3 คร้ังใหด้ นิ 25 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ - งดน้ำ�ก่อนเกบ็ 7-10 วนั
รว่ นซยุ - ครงั้ ที่4 หลังปลูก 40 วัน เพิม่ ปุ๋ยโปแตสเซียม 6 กรัมตอ่ ตน้
การแต่งแขนง
การเตรียมพันธุ์ การท�ำ ค้าง
- ตัดก่งิ แขนงทต่ี ำ�กวา่ ขอ้ ท่ี 9 ออก
- นำ�เมล็ดใส่ถงุ พลาสตกิ เจาะรูแช่ - ค้างยาว 2.3 เมตร ปกั ตน้ ละ 1 อนั - ตดั แขนงขอ้ ท่ีสูงกวา่ ขอ้ 13 ออก
นำ้ � - ใชล้ วดหรอื เชือกพนั 2 ระดบั ท่คี วามสูง 60 ซม. และที่สว่ น
3 - 4 ช่ัวโมง ปลาย
- นำ�เมล็ดสลัดนำ้ �ออก
- ห่อด้วยผา้ ทช่ี ื้น เกบ็ ในที่มืดและ
อนุ่ นาน 24 ชั่วโมง

- เมอ่ื รากงอก 0.5 ซม. นำ�

การปลูก ศตั รูที่ส�ำ คัญและการปอ้ งกันก�ำ จัด การปฏิบัตหิ ลังการเก็บเกี่ยว

- ระยะหา่ งระหวา่ งแปลง 1.2-1.5 เมตร 1. โรครานำ้ �ค้าง ปอ้ งกนั และกำ�จดั โดย ไม่ปลกู ในพนื้ ที่เดิม ทำ�ความสะอาดแปลงปลกู ใช้สารเมตาแลกซลิ 1. เมอ่ื เกบ็ เกี่ยวแลว้ ใหร้ บี เก็บผลผลติ เข้ารม่
- แปลงกวา้ ง 80 - 90 ซม. แมนโคเซบ็ และคอบเปอร์ออกซคี่ ลอไรด์ เป็นต้น 2.ระมดั ระวงั ในการขนยา้ ย
- ระยะห่างระหว่างตน้ 40 - 50 ซม. 2. โรคเห่ียว ถ้าพบต้นเป็นโรคใหถ้ อนทิ้งทันที แล้วนำ�ไปเผาทำ�ลายนอกแปลงปลกู ปลูกพืชหมนุ เวยี น
- คลมุ พลาสตกิ สีเทา-เงนิ เจาะพลาสตกิ ตาม ไมป่ ลูกในพน้ื ทเ่ี ดมิ
ระยะหา่ งระหวา่ งตน้ ขดุ หลมุ ลกึ 10 - 20 3. เพลยี้ ไฟ ป้องกนั และกำ�จดั โดย รักษาความช้ืนบรเิ วณแปลงปลูก ทำ�ความสะอาดแปลงปลกู ใชส้ ารเคมี
ซม. เชน่ ฟิโพรนลิ อิมดิ าคลอพริด
- อายุกลา้ ทีเ่ หมาะสม 10 - 12 วนั 4. แมลงวันแตง ป้องกนั และกำ�จัดเกบ็ ผลท่ีถูกทำ�ลายออกจากแปลงปลูก ห่อผล ใช้สารลอ่ แมลง
- งดน้ำ�ต้นกล้าก่อนย้ายปลกู 1 - 2 วนั

เทคนคิ การปลูกและดแู ลรกั ษาแคนตาลปู

1. การเตรียมการก่อนปลูก
1.1 การเตรียมดนิ
1) ไถดนิ ลึกอย่างนอ้ ย 20 เซนติเมตร
2) ตากดนิ กอ่ นปลูกอย่างนอ้ ย
10 – 15 วนั
3) หากดนิ เปน็ กรดใชป้ นู ขาว จำ�นวน
100 - 200 กโิ ลกรัมต่อไร่ หวา่ น
4) ใส่ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ 1 ตนั ต่อไร่
5) ทำ�การไถพรวนอีก 2 – 3 ครง้ั
ใหด้ ินรว่ นซุย
1.2 การเตรยี มพันธุ์
1) นำ�เมล็ดใส่ถุงพลาสตกิ เจาะรูหรอื
ถงุ ตาข่าย แชน่ ้ำ�นาน 3-4 ชั่วโมง
2) นำ�เมลด็ มาสลัดน้ำ�ออก
3) ห่อด้วยผา้ ที่ชืน้ เก็บในท่มี ืดและอนุ่ นาน 24 ชว่ั โมง
4) เมอ่ื รากงอกประมาณ 0.5 เซนตเิ มตร นำ�ไปเพาะในถาดเพาะ หรอื ถงุ
พลาสติก
1.3 การเพาะกลา้
1) การเพาะในถุงพลาสตกิ
ใชถ้ ุงขนาด 4 x 6 นิ้ว ทเี่ จาะรูระบายนำ้ �เรยี บร้อยแลว้ ประมาณ 4 รู
พบั ปากถุงเล็กนอ้ ย ใชด้ นิ 3 สว่ น ปุ๋ยคอก 1 สว่ น คลุกเคล้าให้เข้ากัน กรอกลงในถงุ รดนำ้ �
ใหช้ ุ่ม ทำ�รลู ึกประมาณ 1 เซนติเมตรนำ�เมล็ดทเ่ี ตรียมไว้มาวางในหลุมหลุมละ 1 เมล็ด
โดยให้ปลายรากชี้ลงกน้ หลุม กลบด้วยดนิ ผสมบางๆ
2) การเพาะในถาดเพาะกลา้
นำ�ถาดเพาะกล้ามาใส่ดินผสมที่เตรยี มไว้ หรอื เป็นดนิ สำ�เร็จท่ีมขี าย
สำ�หรบั การเพาะกลา้ นำ�เมลด็ ที่เตรียมไว้มาวางในหลุมหลุมละ 1 เมลด็ โดยให้ปลายราก
ชีล้ งกน้ หลมุ กลบด้วยดินผสมบางๆ
3) รดน�้ำ เช้าเย็น หลังจากหยอดเมลด็ 2 - 3 วัน จะเรม่ิ มใี บเลีย้ ง เมื่อตน้ กล้า
มอี ายุ 10 - 12 วัน หรือมใี บจรงิ 2 - 4 ใบ ยา้ ยปลกู ได้

2. การปลกู
2.1 วธิ ปี ลูก
1) การเตรียมแปลงปลกู
- ยกแปลงปลูกขนาดกวา้ ง 80 - 90 เซนตเิ มตร ระยะห่างระหว่างแปลง
1.2 - 1.5 เมตร
- คลมุ พลาสตกิ สีเทา - เงิน
- เจาะพลาสตกิ ระยะหา่ งระหวา่ งต้น 40 - 50 เซนติเมตร

43


Click to View FlipBook Version