The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติครูดนตรีไทย และผลงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by zjeejeezaa, 2021-10-31 11:35:19

ประวัติครูดนตรีไทย

ประวัติครูดนตรีไทย และผลงาน

พระยาเสนาะดุริยางค์

พระยาเสนาะดุริยางค์ เป็นบตุ รคนโตของครชู ้อย และนางไผ่ สนุ ทรวาทิน ไดฝ้ กึ ฝนวชิ าดนตรี จากครู
ชอ้ ย ผูเ้ ปน็ บิดา จนมีความแตกฉาน ตอ่ มาเจา้ พระยาเทเวศน์วงศ์ววิ ัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กญุ ชร) ได้ขอ

ตัวมาเป็นนักดนตรีในวงปี่พาทยข์ องทา่ น ท่านเขา้ รับราชการ เม่ือ พ.ศ. 2422 ในรัชสมยั
พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ไดร้ บั พระราชทานบรรดาศกั ดิเ์ ป็น ?ขุนเสนาะดรุ ิยางค์? ใน
ปี พ.ศ. 2446 ตำแหน่งเจา้ กรมพณิ พาทยห์ ลวงจงึ โปรดใหเ้ ลอ่ื นเปน็ ?หลวงเสนาะดุรยิ างค์?ในปีพ.ศ.
2453ในตำแหน่งเดิมจนถงึ สมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว โปรดใหเ้ ลื่อนเปน็ ?พระ

เสนาะดุรยิ างค์? รับราชการในกรมมหรสพหลวง และได้รับพระราชทานเหรยี ญดษุ ฎีมาลา เขม็
ศลิ ปวิทยา ด้วยความซื่อสัตย์ และมคี วามจงรักภักดี ทา่ นจงึ ได้รบั พระราชทานบรรดาศกั ดิเ์ ปน็ ?พระ

ยาเสนาะดุรยิ างค์? ในปี พ.ศ. 2468
ในรชั กาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทา่ นได้รบั มอบหมายให้ควบคุมวงพณิ พาทย์ของ
เจา้ พระยาธรรมาธกิ รณาธิบดี (ม.ร.ว. ปมุ้ มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวัง วงพิณพาทย์วงนี้ นับไดว้ ่า
เปน็ การรวบรวมผมู้ ีฝีมือ ซึ่งต่อมาไดเ้ ป็นครผู ใู้ หญ่ เป็นท่รี ู้จักนบั ถอื โดยทั่วไป เช่น ครูเทยี ม คงลายทอง
ครูพริ้ง ดนตรีรส ครูสอน วงฆอ้ ง ครูมิ ทรัพยเ์ ย็น ครูแสวง โสภา ครูผิว ใบไม้ ครูทรพั ย น์ ตุ สถิตย ค์ รู
อรณุ กอนกุล ครเู ชอื้ นกั ร้อง และครทู องสุข คำศริ พิ ระยาเสนาะดรุ ิยางค ์ ถึงแกอ้ นจิ กรรมในปี พ.ศ.

2492 เม่อื มอี ายุได้ 83 ปี

พระยาประสานดุรยิ ศพั ท์ (แปลก ประสานศัพท)์

พระยาประสานดุรยิ ศพั ท์ (แปลก ประสานศพั ท์) เป็นบตุ รคนโตของขนุ กนกเรขา (ทองดี)กบั นางนิ่ม
เกิดเมือ่ วนั ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2403 ตรงกบั วนั อังคาร ณ บ้านเลขที่ 81 ตรอกไข่ ถนนบำรงุ เมือง
ตำบลหลงั วดั เทพธิดา กรุงเทพมหานคร ทา่ นได้เรียนปีช่ วากับครชู อ่ื ?หนดู ำ? ส่วนวชิ าดนตรีป่ีพาทย์

อยา่ งอืน่ ไดศ้ กึ ษาอย่างจริงจงั กับครชู อ้ ย สุนทรวาทิน (บิดาของพระยาเสนาะดุริยางค)์ จนบรรลุ
แตกฉาน ทา่ นเขา้ รบั ราชการ ตงั้ แตเ่ มอ่ื พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ทรงพระยศเป็นพระ
ยพุ ราช ได้ทลู ขอพระราชทานบรรดาศกั ดจิ์ าก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ให้นายแปลก
เป็นท่ี?ขนุ ประสานดุรยิ ศัพท์"นับจากนนั้ กไ็ ด้ รับพระราชทานเลอ่ื นบรรดาศักดิ์มาเป็นลำดับ จนได้เปน็
ท่ี ?พระยาประสานดุรยิ ศัพท์? เจ้ากรมปี่พาทย์หลวง ในสมยั รัชกาลท่ี 6 ความรูค้ วามสามารถของพระ
ยาประสานดรุ ิยศัพทน์ ้นั เปน็ ท่ีกล่าวขวญั เรอ่ื งลอื ว่า ทา่ นเป็นผู้ท่ีถึงพรอ้ มด้วยฝีมอื ความรู้ ปฏิภาณ
ไหวพริบ ท่านเป็นครู และเป็นศิลปินท่หี าได้ยากย่งิ เมื่อปี พ.ศ.2428 ทา่ นไดร้ ับเลอื กให้ไปรว่ มฉลอง
ครบรอบร้อยปี ของพพิ ธิ ภัณฑเ์ มืองอวมิ ปลียท์ ี่ประเทศอังกฤษผลของการบรรเลงขลยุ่ ของท่านเป็นที่
พอ พระราชหฤทยั ของสมเด็จพระราชินีนาถวคิ ตอเรยี เปน็ อย่างยง่ิ ถึงกบั รบั สงั่ ขอฟังเพลงขล่ยุ เปน็ การ
ส่วนพระองคใ์ นพระราชวังบคั กิง้ แฮมอีกคร้ัง การบรรเลงครั้งหลังน้ีสมเด็จพระนางเจา้ วิคตอเรีย ทรง
ลุกจากทป่ี ระทับและใช้พระหตั ถ์ลูบคอพระยาประสานฯพร้อมทัง้ รบั สัง่ ถามว่า เวลาเป่านนั้ หายใจบ้าง
หรือไม่ เพราะเสยี งขลยุ่ ดงั กังวานอยูต่ ลอดเวลาพระยาประสานดรุ ิยศพั ท์ ไดแ้ ตง่ เพลงไวด้ ังนค้ี อื เพลง
เชิดจ่ัน 3 ชั้น พมา่ หวั ท่อน เขมรราชบรุ ี ลาวคำหอม ลาวดำเนินทราย เขมรทรงดำเนิน (เขมรกล่อม
พระบรรทม) เขมรปากท่อ เขมรใหญ่ ดอกไมไ้ ทร ถอนสมอ ทองยอ่ น เทพรัญจวน นารายณแ์ ปลงรปู
แมลงภทู่ อง สามไม้ใน อาถรรณ์ คุณลุงคณุ ป้า พราหมณ์เขา้ โบสถ์ ธรณีร้องไห้ มอญรอ้ งไห้ แขกเห่

อนงคส์ ุดา วเิ วกเวหา แขกเชญิ เจ้า ยอ่ งหวดิ 3 ชน้ั เปน็ ตน้
ความสามารถทางดนตรีของท่านน้ัน ทำใหท้ า่ นมีลูกศษิ ยท์ ่ีมคี วามสามารถเปน็ ทวคี ณู ขึน้ ไป และศิษย์
ของท่านเปน็ ท่รี ้จู ักโดยท่วั ไปคือ พระประดบั ดรุ ยิ กิจ (แหยม วณิ ณิ ) พระเพลงไพเราะ (โสม สุวาทติ )
หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) หลวงบรรเลงเลศิ เลอ (กร กรวาทิน) พระยาภูมเิ สวิน (จติ ร

จติ ตเสรี) อาจารย์มนตรี ตราโมท ครูเฉลมิ บัวทงั่ เป็นตน้
พระยาประสานดุริยศัพท์ ป่วยโดยโรคชรา และถงึ แกก่ รรมเมอ่ื อายไุ ด้ 105 ปี ในปี พ.ศ. 2467

หลวงประดษิ ฐไพเราะ

หลวงประดิษฐไพเราะ เป็นบตุ รของ นายสนิ นางยิ้ม ศิลปบรรเลงเนือ่ งจากบดิ าคือครสู นิ เป็นเจา้ ของ
วงปพ่ี าทย์ และเปน็ ศิษยข์ องพระประดิษฐไพเราะในปี พ.ศ. 2443 ขณะเม่ืออายุ 19 ปี ท่านได้แสดง
ฝมี ือเดี่ยวระนาดเอกถวายสมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณพุ ันธุว์ งศว์ รเดช เปน็ ที่ต้อง
พระทยั มาก จึงทรงรับตัวเข้ามาไว้ทวี่ ังบรู พาภริ มย์ ทำหนา้ ที่คนระนาดเอก ประจำวงวงั บรู พาไปดว้ ย
พร้อมกับสมเด็จท่านได้ เชิญครูมาสอนทวี่ งั คือ พระยาประสานดรุ ยิ ศพั ท์ (แปลก ประสานศพั ท)์
เน่อื งจากจางวางศร ไดร้ ับพระกรณุ าจากสมเดจ็ เจ้าฟา้ กรมพระยา ภาณุพันธ์ุวงศ์วรเดช เปน็ อยา่ งมาก
ทรงจดั หาครูท่ีมฝี ีมือมาฝึกสอน ทำให้จางวางศรมีฝีมือกลา้ แข็งขึน้ ในสมยั นนั้ ไมม่ ใี ครมฝี มี อื เทียบเทา่ ได้
เลย จางวางศร ไดร้ ับพระราชทานบรรดาศักด์ิ เป็นหลวงประดษิ ฐไพเราะ ในสมยั รชั กาลท่ี 6 เมอื่ วนั ท่ี
17 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 ทัง้ ๆ ท่ีท่านไม่เคยรบั ราชการอย่ใู นกรมกองใดมาก่อน ทั้งนกี้ ็เพราะฝีมือ
และความสามารถของทา่ น เป็นท่ีตอ้ ง พระหฤทยั นนั่ เอง
คร้ันถงึ ปี พ.ศ.2469 ทา่ นได้เข้ารับราชการในกรมป่ีพาทย์และโขนหลวงกระทรวงวังทา่ นไดม้ สี ว่ น
ถวายการสอนดนตรีให้กับ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า รำไพพร
รณพี ระบรมราชนิ ี รวมทง้ั มีสว่ นช่วยงานพระราชนิพนธเ์ พลงสามเพลง คอื เพลงราตรปี ระดับดาว เถา
เพลงเขมรละออองค์ เถา และเพลงโหมโรงคลนื่ กระทบฝั่ง สามชัน้ หลวงประดิษฐไพเราะ ได้แตง่ เพลง
ไวม้ ากกว่า ร้อยเพลง ดงั น้ี

เพลงโหมโรง โหมโรงกระแตไตไ่ ม้ โหมโรงปฐมดสุ ติ โหมโรงศรทอง โหมโรงประชมุ เทวราช โหมโรงศร
ทอง โหมโรงประชมุ เทวราช โหมโรงบางขุนนท์ โหมโรงนางเยือ้ ง โหมโรงม้าสยบัดกีบ และโหมโรงบู
เซน็ ซ๊อค เปน้ ตน้
เพลงเถา อาทิ กระตา่ ยชมเดือน เถา ขอมทอง เถา เขมร เถา เขมรปากท่อ เถา เขมรราชบรุ ี เถา แขก
ขาว เถา แขกสาหรา่ ย เถา แขกโอด เถา
จีนลั่นถัน เถา ชมแสงจันทร์ เถา ครวญหา เถา เต่าเห่ เถา นกเขาขแมร์ เถา พราหมณด์ ดี นำ้ เต้า เถา
มลุ ง่ เถา แมลงภทู่ อง เถา ยวนเคลา้ เถา ชา้ งกินใบไผ่ เถา ระหกระเหนิ เถา ระส่ำระสาย เถา ไส้
พระจนั ทร์ เถา ลาวเสีง่ เทียน เถา แสนคำนงึ เถา สาวเวยี งเหนอื เถา สารกิ าเขมร เถา โอ้ลาว เถา
ครุ่นคดิ เถา กำสรวลสรุ างค์ เถา แขกไทร เถา สุรินทราหู เถา เขมรภมู ปิ ระสาท เถา แขไขดวง เถา

พระอาทติ ย์ชงิ ดวง เถา กราวรำ เถา ฯลฯ
หลวงประดษิ ฐไพเราะ ถึงแก่กรรมเม่อื วนั ท่ี 8 มนี าคม พ.ศ. 2497 รวมอายุ 73 ปี

พระประดษิ ฐไพเราะ

พระประดิษฐไพเราะ นามเดิม มี ดุรยิ างกูร เกิดตอนปลายรัชกาลที่1แห่งพระราชวงศ์จกั รที ่านเป็นครู
ดนตรมี าตง้ั แตป่ ลายสมัยรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อย่หู ัวรชั กาลท่ี 3 จนถงึ รัชกาล
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ 4
นนั้ ครูมีแขกไดเ้ ป็นครูป่พี าทย์ในพระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ เจ้าอยู่หวั และไดร้ บั พระราชทาน
บรรดาศกั ดเิ์ ป็นท่ี หลวงประดษิ ฐไพเราะ เมื่อวันท่ี 21 พฤศจิกายนพ.ศ.2396 ตำแหน่งปลดั จางวาง
มหาดเลก็ ว่าราชการกรมป่ีพาทย์ ฝา่ ยพระบวรราชวัง ในปเี ดียวกันนัน้ เองทา่ นได้แตง่ เพลงเชดิ จีน แล้ว
นำขึ้นทลู เกลา้ ถวายพระบาทสมเดจ้ พระปนิ่ เกล้าเจ้าอยู่หัวเปน็ ท่ีสมพระราชหฤทัยเป็นอยา่ งยิ่งจงึ โปรด
ให้เล่ือนบรรดาศักดจ์ิ ากหลวงเปน็ พระ
พระประดษิ ฐไพเราะ (มี ดรุ ิยางกูร) ไดร้ บั สมญาว่าเป็นเจ้าแหง่ เพลงทยอย เพราะผลงานเพลงลกู ล้อลูก
ขดั เชน่ ทยอยนอก ทยอยเขมร ลว้ นเปน็ ผลงานของท่านทั้งนน้ั
ผลงานของพระประดิษฐไพเราะ (ครูมีแขก) เท่าทร่ี วบรวมและปรากฎไว้ มีดังนี้
โหมโรงขวัญเมอื ง การะเวกเลก้ สามชั้น กำสรวลสุรางค์ สามชัน้ แขกบรรทศ สามชัน้ แขกมอญ สาม
ชน้ั แขกมอญบางชา้ ง สามชน้ั ทะแย สามช้นั สารถี สามช้ัน พญาโศก สามช้นั และสองชั้น พระ
อาทติ ย์ชิงดวง สองช้นั จนี ขมิ ใหญ่ สองชัน้ เชิดจีน ทยอยนอก ทยอยเดย่ี ว ทยอยเขมร เทพรัญจวน
หกบท สามชั้น อาเฮยี สามชน้ั
ทา่ นถงึ แก่กรรม ประมาณรัชกาลท่ี 5

พระพณิ บรรเลงราช (แย้ม ประสานศัพท์)

พระพณิ บรรเลงราช (แยม้ ประสานศัพท์) เกดิ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2408 เปน็ น้องชายแท้ๆของพระยา
ประสานดุรยิ ศพั ท์ (แปลก ประสานศัพท)์ เมื่อเยาวว์ ัย ท่านไดเ้ รยี นดนตรกี ับครูช้อย สนุ ทรวาทิน
เนอ่ื งจากทา่ นเป็นนักดนตรฝี มี ือดี พระยาประสานดรุ ยิ ศัพท์ ได้พาเข้าถวายตัวในพระบาทสมเดจ็ พระ
มงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 6 และย้ายมาสงั กดั กรมมหรสพ เป็นมหาดเล็กวิเสส แลว้ เล่อื นเปน็ ขุน
พิณบรรเลงราช ในปี พ.ศ. 2453 เปน็ หลวงพิณบรรเลงราช ในปพี .ศ. 2457 และเปน็ พระพณิ
บรรเลงราช ในปี พ.ศ. 2462 พระะพิณบรรเลงราช มีฝมี อื ในทางดนตรี โดยเฉพาะฝีมอื ตกี ลอง เป็นท่ี
โปรดปรานของเจา้ นายในสมยั น้นั เปน็ อย่างย่งิ ทา่ นไดถ้ งึ แกก่ รรมในปี พ.ศ. 2480 รวมอายุได้ 73 ปี

พระพาทยบ์ รรเลงรมย์ (พมิ พ์ วาทิน)

พระพาทยบ์ รรเลงรมย์ (พมิ พ์ วาทิน) เป็นนักดนตรีอย่ใู นกรมมหรสพ ในสมยั รัชกาลที่ 6 เกดิ เมอื่ ปี
พ.ศ. 2420 เข้ารบั ราชการเปน็ มหาดเลก็ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ตั้งแตย่ งั ทรง
ดำรงพระยศเปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เม่อื พระองค์ท่านเสด็จขึ้นครองราชแลว้ ได้ทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าแตง่ ตัง้ ใหเ้ ปน็ ขนุ พาทย์บรรเลงรมย์ ในปี พ.ศ. 2453 เปน็ หุม้ แพรหลวงพาทย์
บรรเลงรมย์ ในปี พ.ศ. 2455 ตอ่ มาทา่ นเขา้ มาเป็นศิษย์ในกรมมหรสพ ของพระยาประสานดุริยศัพท์
และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน็ พระพาทยบ์ รรเลงรมย์ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2465 นอกจากน้นั ทา่ นยงั
มีฝีมอื ทางดา้ นตีเครื่องหนังดีมาก นอกเหนือจากเครื่องดนตรีอนื่ ๆ

หลวงไพเราะเสยี งซอ (อนุ่ ดูรยชวี นิ )

หลวงไพเราะเสียงซอ เกิดเมอ่ื พ.ศ. 2435 ที่ตำบลหนา้ ไม้ อำเภอเสนา จังหวดั อยธุ ยา บดิ าชือ่ พยอม
มารดาชอื่ เทยี ม ท่านเริ่มศึกษาวชิ าดนตรี โดยเรียนสีซอดว้ งจากบิดา ตอ่ มาท่านเขา้ ถวายตัวเป็น
มหาดเล็ก ในสมเด็จพระบรมโอสารธิราชฯ รับราชการในกองดนตรเี มือ่ พ.ศ. 2448 ครัน้ สมเดจ็ พระ
บรมฯ เสด็จขึ้นเถลิงถวลั ยราชสมบัติ เป็นพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั มหาดเลก็ ทงั้ ปวง
ซง่ึ เป็นขา้ หลวงเดมิ ก็ปรบั ตำแหน่งหน้าท่ีราชการเขา้ เปน็ ทำเนยี บมหาดเลก็ ประจำ ทา่ นจึงได้รบั ยศ
เปน็ มหาดเล็กวเิ สสตอ่ มาเมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว แปรพระราชฐาน จะต้องมวี งดนตรตี าม
เสดจ็ จนได้รับพระราชทานยศเปน็ ?รองหุ้มแพร? มีบรรดาศกั ดิเ์ ป็นที่ ?ขนุ ดนตรีบรรเลง? และในวนั ที่
13 ธนั วาคม พ.ศ. 2460 ท่านกไ็ ด้รบั เลื่อน บรรดาศกั ดเ์ิ ปน็ ท่ี หลวงไพเราะเสียงซอ ในสมยั รชั กาลที่
6 น้ัน หลวงไพเราะเสียงซอไดส้ อนวงดนตรีเครือ่ งสายของ สมเดจ็ พระนางเจ้าอินทรศกั ดิศ์ จี พระวร
ราชเทวี วงพระสุจรติ สดุ า และวงพระยาอนิสทุ ธาทวา เมื่อถงึ สมัยรชั กาลที่ 7 ท่านไดถ้ วายการสอน
เจ้านายในวงเครอ่ื งสาย ซึ่งประกอบดว้ ย พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว สมเด็จพระนางเจา้
รำไพพรรณี พระบรมราชินี กรมหม่ืนอนุพงศ์จกั รพรรดิ์ กรมหม่ืนอนุวัตรจาตุรนต์ มจ. ถาวรมงคล
และมจ.แววจักร จักรพนั ธ์ นอกจากน้ันยังได้ถวายการสอนให้กบั พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิม
เขตรมงคล และขา้ หลวงในวงั อกี ดว้ ย ต่อมากรมศลิ ปากรได้เชิญท่านใหส้ อนประจำทว่ี ิทยาลยั นาฎศิลป์
และสดุ ท้ายท่านยงั ไดส้ อนและปรับปรุงวงดนตรีไทย
ของสโมสรนักศึกษามหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์อกี แห่งหนึง่ จนทำให้วงดนตรไี ทยของธรรมศาสตร์ เป็น
ท่รี ้จู กั กันทั่วไปในเวลาต่อมา
หลวงไพเราะเสยี งซอ ถงึ แก่กรรมเมอื่ วนั ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2518 ณ โรงพยาบาลศิริราช รวมอายุ
ได้ 84 ปี

หลวงชาญเชิงระนาด (เงิน ผลารักษ์)

หลวงชาญเชงิ ระนาด เป็นนักระนาดคนสำคัญในสมัย ร.6 เป็นบุตรของนาย นาค และนางขาบ ผลา
รกั ษ์ เกิดเมอ่ื พ.ศ.2438 ทา่ นเร่มิ หัดดนตรีกับบิดาท่บี ้านในย่านตำบลบางกอกนอ้ ย ซง่ึ เปน็ ย่านนกั
ดนตรีทีย่ ้ายถน่ิ ฐานจากกรุงศรอี ยุธยา ตามสมเด็จพระเจ้าตากสนิ จงึ ถือได้ว่าทา่ นเปน็ นกั ดนตรีเช้อื สาย
กรงุ เกา่ เม่อื อายุ 10 ปี ในปี พ.ศ. 2448 ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็ก ตงั้ แตค่ รงั้ รชั กาลที่ 6 ทรงดำรง
ยศเปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฏราชกุมารในสมยั รัชการท่ี 5 ไดเ้ ปน็ ศิษย์ของพระยา
ประสารดุริยศพั ทม์ าตง้ั แต่ต้น เม่ืออายุ 15 ปี ไดเ้ ล่อื นตำแหนง่ เป็นมหาดเล็กวิเสสแผนกพณิ พาทย์
หลวง แลว้ เลือ่ นเป็นนายรองสนิท กลบั มาอย่กู รมมหรสพในปี พ.ศ. 2456 เป็นขนุ สนิทบรรเลงการ
เปน็ หลวงสนทิ บรรเลงการ ในปี พ.ศ.2460 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ทรงมี
พระราชดำริว่า เปน็ ผู้มีฝีมือ และชน้ั เชิงในการตรี ะนาดเป็นท่ีต้องพระราชอัธยาศัยย่งิ นกั จงึ ได้
พระราชทานบรรดาศกั ด์เิ ป็น หลวงชาญเชิงระนาด
หลวงชาญเชงิ ระนาด ไดช้ ื่อว่าเป็นผตู้ ีระนาดเพลงละครไดไ้ พเราะมาก ทา่ นปา่ ยเป็นวัณโรค และะถึง
แก่กรรมเมื่อวันที่ 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2484 ก่อนน้ำท่วมใหญ่รวมอายุได้ 50 ปี

ขุนบรรเจิดปี่เสนาะ (เทียม สาตรวลิ ยั )

ขุนบรรเจิดปเ่ี สนาะ (เทยี ม สาตรวิลัย) เกิดเมอื่ พ.ศ. 2425 รับราชการอย่ใู นกรมโขน ตำแหนง่
มหาดเลก็ เวรฤทธ์ิ ในรชั กาลที่ 5 เม่ืออายุได้ 22 ปี ไดย้ ้ายมาสงั กัดอย่ใู นกองพิณพาทย์ หลวงในหนา้ ที่
พนกั งานเครื่องเป่า และรบั พระราชทานบรรดาศกั ดเิ์ ปน็ ขนุ บรรเจิดป่เี สนาะ เม่ือวันที่ 29 มกราคม
พ.ศ. 2460 ไม่ทราบปที ี่ท่านถึงแก่กรรม

หลวงบรรเลงเลศิ เลอ (กร กรวาทิน)

หลวงบรรเลงเลศิ เลอ (กร กรวาทิน) เกิดเมอ่ื พ.ศ. 2522 เร่มิ เรียนดนตรมี าตั่งแต่อายุ 11 ปี กับวงป่ี
พาทยว์ ดั นอ้ ยทองอยู่ ของทา่ นสมภารแแสง เจา้ อาวาสในขณะนนั้ ซ่งึ มีครูช้อย สนุ ทรวาทนิ เป็นผู้สอน
และควบคุมวง ต่อมาวงป่ีพาทย์วดั น้อยทองอย่ไู ดเ้ ข้าถวายตัวเป็นมหาดเลก็ เรือนนอก ของสมเด็จพระ
พันปหี ลวง (พระนางเจา้ เสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ) จนกระท่ังพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้
เจา้ อย่หู ัวขณะะดำรงพระยศ เปน็ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช มีพระราชประสงค์ จะมีวงปพี่ าทยไ์ ว้
เปน็ การส่วนพระองค์ จึงทรงขอวงปพี่ าทยว์ งน้ี จากสมเดจ็ พระพนั ปีหลวง พร้อมดว้ ยนกั ดนตรีอีก 5
ท่านคอื (1) นายนาค วฒั นวาทนิ ตอ่ มาได้บรรดาศักด์เิ ป็นหลวงพวงสำเนยี งร้อย (2) นายเพม่ิ วัฒน
วาทิน ต่อมาไดบ้ รรดาศกั ดิเ์ ปน็ หลวงสร้อยสำเนียงสน (3) นายแหยม วีณนิ ต่อมาไดบ้ รรดาศกั ด์ิเป็น
พระประดบั ดุริยกจิ (4) นายบุศย์ วณี นิ ตอ่ มาไดบ้ รรดาศักด์ิเปน็ ขุนเพลิดเพลงประชนั ซง่ึ ทำใหห้ ลวง
บรรเลงเลศิ เลอ ไดเ้ ข้ามารับราชการอยู่ในวงเปน็ ลูกศิษย์ของครแู ปลก ประสานศพั ยด์ ว้ ย และในปี
พ.ศ. 2458 จึงได้รบั พระราชทานบรรดาศักด์เิ ป็นท่ี ขนุ บรรเลงเลิศเลอ รับกราชการอยู่ในกรมมหรสพ
และเลื่อนเป็นหลวงบรรเลงเลศิ เลอ ในปี พ.ศ. 2466 เครื่องดนตรที ่ที ่านถนดั ทีส่ ดุ คือ ป่ีใน
ท่านถงึ ก่กรรมในปี พ.ศ. 2521 เมือ่ อายไุ ด้ 99 ปี

ครูบญุ ยงค์ เกตุคง

ครูบุญยงค์ เกตคุ ง เปน็ บุตรชายคนใหญข่ อง นายเท่ียง นางเขียน เกตคุ ง เกิดเม่ือวันองั คาร เดอื น 4 ปี
วอกตรงกบั เดือนมนี าคม พุทธศกั ราช 2463 ทีต่ ำบลวันสิงห์ เขตบางขนุ เทยี น กรุงเทพมหานคร บดิ า
มารดาของครู มอี าชีพเปน็ นักแสดง ซง่ึ ต้องยา้ ย สถานท่ีประกอบอาชพี บอ่ ยๆ เม่ือยังเยาวจ์ ึงอาศัยอยู่
กับตาและยายท่ี จังหวัดสมุทรสาคร ได้รับการศกึ ษาชน้ั ต้นท่ีวดั ช่องลม และเริม่ หดั เรียนดนตรีไทยกบั
ครูละม้าย(หรือทองหล่อ) ซงึ่ เป็นครูสอนดนตรี อย่บู ้านขา้ งวัดหัวแหลม จงั หวัดสมทุ รสาคร
เมื่ออายุได้ 10 ปีกส็ ามารถบรรเลงฆ้องวงทำเพลงโหมโรงเช้า และโหมโรงเย็นได้ ซงึ่ ถือว่าได้ผล
การศึกษาดนตรขี ั้นตน้
คร้ันอายไุ ด้ 11 ปี บดิ าไดน้ ำไปฝากใหเ้ ป็นศษิ ยข์ องครู หรงั่ พมุ่ ทองสขุ ซึ่งเป็นครดู นตรมี ชี ื่ออยทู่ ี่
ปากน้ำภาษเี จรญิ โดยมีน้องชาย ชือ่ บุญยัง เกตุคง ไปร่วมเรยี นด้วย และได้เป็นเพือ่ นรว่ มเรยี นดนตรี
พรอ้ มกับ นายสมาน ทองสโุ ชติ ได้เรียนอยู่ที่บา้ นครูหรั่งน้ีประมาณ 2 ปี จนสามารถบรรเลงเด่ียวฆ้อง
วงเลก็ ได้ ก็ยา้ ยไป เรียนดนตรกี บั พระอาจารย์เทิม้ วัดชอ่ งลม จงั หวัดสมุทรสาคร ซึง่ เป็นสถานท่ีเรยี น
ดนตรี ทีม่ ีชอ่ื เสียงมากอีกแหง่ หนึง่ ในยคุ น้นั
เม่อื ครอู ายไุ ด้ 16 ปี บิดาเหน็ วา่ มคี วามร้เู พลงการดีพอสมควรจะชว่ ยครอบครัวได้ จงึ ชว่ ยใหไ้ ปทำ
หน้าท่ีนกั ดนตรีประจำคณะนาฎดนตรีของบิดา ซงึ่ แสดงเปน็ ประจำอยทู่ ว่ี ิกบางลำภู กรงุ เทพมหานคร
โดยเร่ิมจากคนตฆี อ้ งวงใหญ่ แล้วจึงไดเ้ ปน็ คนตรี ะนาดเอก ทงั้ น้ไี ด้รับการฝกึ สอนเปน็ พิเศษจากอาช่ือ
นายประสิทธิ์ เกตุคง ให้มีความรเู้ รื่องเพลงสองชั้นที่ลิเกให้ร้อง เปน็ ประจำจงึ มีความรแู้ ละไหวพรบิ ดี
มากขน้ึ ในเรื่องเพลงประกอบการแสดง เปน็ ที่ทราบกันวา่ ย่านบางลำภูน้นั เป็นทใี่ กลช้ ดิ กบั บา้ นนกั
ดนตรไี ทยหลายบ้าน โดยเฉพาะบา้ นของสกุล ดรุ ยิ ประณีต ซง่ึ มนี ายช้ืนและนายชน้ั ดุรยิ ประณตี
บตุ รชายของครูสุข ดรุ ยิ ประณีต มาชว่ ยบดิ าครูบญุ ยงคต์ ีระนาดประกอบการแสดงลเิ กเปน็ ครง้ั คราว
จึงไดส้ นทิ สนมไปมาหาสู่กนั จนเกิด ความคุ้นเคยเป็นอันมาก ไดม้ กี ารแลกเปลยี่ นความร้ทู างเพลงกนั
มากขน้ึ เปน็ ลำดบั
ต่อจากน้นั ครบู ญุ ยงค์ ไดเ้ ดนิ ทางไปเรยี นดนตรีจากครเู พชร จรรย์นาฎย์ ครูดนตรีไทยฝีมือดีและเป็น
ศิษยท์ ีม่ ชี อ่ื เสยี งของทา่ นครูหลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
ทจี่ งั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

เมอื่ ปี พ.ศ. 2485 เกิดอุทกภัยครงั้ ใหญ่ในกรุงเทพมหานคร การแสดงดนตรีซบเซาลง ครูจึงใหเ้ วลา
วา่ งประกอบอาชพี แจวเรอื จ้างอยรู่ ะยะหน่งึ แล้วไปสมัครเป็นศิษยท์ ่านครจู างวางท่วั พาทยโกศล ณ
บา้ นดนตรวี ัดกัลยาณมิตร ธนบุรี จงึ ได้เรียนรทู้ างเพลงทั้งทางฝง่ั พระนคร และทางฝงั่ ธน เปน็ อย่างดี
เม่ือน้ำลดแล้ว ครจู ึงได้เรียนดนตรีเพม่ิ เติมอกี จาก ครูสอน วงฆ้อง ซ่ึงชว่ ยสอนดนตรีอยทู่ ่ีบา้ นดรุ ิย
ประณตี น้ัน
สมยั ที่ พลโทหมอ่ มหลวงขาบ กญุ ชร เปน็ อธิบดกี รมประชาสมั พนั ธ์ ครูบญุ ยงค์ เกตคุ ง ไดส้ มคั รเขา้
เป็นนกั ดนตรปี ระจำวงดนตรไี ทยของกรมประชาสมั พันธ์ ทำใหไ้ ด้ใกล้ชดิ กบั นกั ดนตรี อกี หลายคน
อาทิ ครูประสงค์ พิณพาทย์ และ ครูพมุ่ บาปยุ ะวาทย์ ซง่ึ เป็นหัวหน้าวงดนตรไี ทยอยู่ในขณะน้นั
ในระหวา่ งทีใ่ กล้จะเกษยี ณอายรุ าชการ ครูบญุ ยงค์ได้รว่ มมอื กบั อาจารยบ์ รูซ แกสตัน กอ่ ตัง้ วงดนตรี
ไทยรว่ มสมยั ชอ่ื ?วงฟองนำ้ ? ข้นึ
ครบู ญุ ยงค์ เกตุคง ถงึ แก่กรรมเมอ่ื พ.ศ. 2539 สิริรวมอายไุ ด้ 76 ปี ได้รับยกย่องสรรเสริญว่าเปน็ ?
ระนาดเทวดา? เพราะมีฝีมือบรรเลงระนาดเอกได้ยอดเยี่ยมท่ีสดุ คนหนึง่ ในยคุ สมัยเดยี วกนั
ผลงานของครบู ญุ ยงค์ เกตุคง
1. ผลงานประพันธ์เพลง
1.1 ประเภทเพลงโหมโรง มีอยดู่ ว้ ยกันหลายเพลงอาทิ เพลงโหมโรงสามสถาบัน โหมโรงสามจนี และ
โหมโรงจฬุ ามณี เป็นตน้
1.2 ประเภทเพลงเถา ไดแ้ กเ่ พลงเง้ียวรำลกึ เถา เพลงทยอยเถา ชเวดากองเถา เรงิ เพลงเถา กัลยา
เยยี่ มหอ้ ง เปน็ ตน้
1.3 เพลงประกอบการแสดง ตระนาฏราชและ เพลงระบำต่างๆทป่ี ระกอบในละคร
1.4 เพลงเดี่ยวทางตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ทางเดี่ยวระนาดเอก 3 ราง เพลงอาหนู และเพลงอาเฮยี ฯลฯ
1.5 เพลงประกอบภาพยนตรแ์ ละโทรทัศน์ เงาะปา่
1.6 เพลงร่วมสมัย เจา้ พระยา คอนแชร์โต้ เพลงผสมตา่ งๆ ของวงฟองนำ้
2. ผลงานการแสดง
เปน็ เจ้าของและหัวหนา้ คณะนาฏดนตรแี สดงทางวทิ ยุกระจายเสยี งและโทรทศั นช์ อื่ คณะเกตคุ งดำรง
ศิลป์
3. ผลงานบนั ทึกเสยี ง
3.1 แผ่นเสียงของวังสวนผักกาด อำนวยการโดย ม.ร.ว. พนั ธุ์ทพิ ย์ บริพัตร เพลงชุด Drum of
Thailand ทำหน้าที่เป็นผบู้ รรเลงระนาดเอก
3.2 เพลงมุลง่ เด่ยี วระนาดเอก แผ่นเสียงตรามงกุฏ
3.3 บนั ทกึ ผลงานเพลงโหมโรงและเพลงเถา ในหัวข้อ1.1,1.2 ข้างต้น ในโครงการ "สังคตี ภิรมย์"ของ
ธนาคารกรงุ เทพ และเก็บผลงานไวท้ ่ีศนู ยส์ งั คีตศลิ ป์ และผลงานของวงดนตรฟี องนำ้

4. งานเผยแพร่ตา่ งประเทศ
4.1 ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี
4.2 สหรฐั อเมรกิ า และแคนาดา 2529 Exposition เยอรมนั 2525 ฮอ่ งกง 2525 (ฟองนำ้ )
4.3 มโหรีราชสำนกั อังกฤษ 2529-2530
5. รางวลั
5.1 ถว้ ยทองคำ นาฏดนตรี
5.2 โล่เกียรตินิยม พระราชทาน ร.9

ครูเฉลิม บวั ทัง่

ครเู ฉลมิ บวั ทง่ั เปน็ บุตรของนายปั้น และนางถนอม บวั ท่ัง เกิดเม่อื วันจนั ทร์ เดือน 9 แรม 9 ค่ำปจี อ
วันท่ี 29 สิงหาคม พ.ศ. 2453
ครูเฉลิม บัวท่ัง ไดช้ อื่ ว่าเป็นคนระนาดเอกฝีมือดเี ยย่ี มคนหนง่ึ ครไู ดร้ บั เสนอช่ือใหไ้ ด้รบั พระราชทาน
โลเ่ กยี รติยศจาก พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวภมู พิ ลอดุลยเดช ในฐานะนกั ดนตรไี ทยตวั อย่าง ซึ่งมีนกั
ดนตรีไทยที่ไดร้ บั พระราชทานโล่ครัง้ นี้ เพียง 4 คน คอื อาจารยม์ นตรี ตราโมท ครเู ฉลมิ บวั ทั่ง
คณุ หญิงไพฑรู ย์ กิตติวรรณ และครูบญุ ยงคเ์ กตุคง
ผลงานการแตง่ เพลงของครูมีมากมาย เชน่ โหมโรงสรรเสริญพระจอมเกล้า โหมโรงพมิ านมาศ โหมโรง
มหาปิยะ โหมโรงรามาธบิ ดี ลาวลำปางใหญ่เถา ลาวลำปางเลก็ เถา ลาวกระแซะเถา ลาวครวญเถา
ดอกไมเ้ หนอื เถา เคียงมอญรำดาบเถา เขมรใหญ่เถา ลาวสอดแหวนเถา ประพาสเภตราเถา

นอกจากนัน้ ในปี พ.ศ. 2525 ครูไดแ้ ต่งเพลงเขา้ ประกวดรางวัลพินทองของธนาคารกสกิ รไทย ชื่อ
เพลง ปน่ิ นคเรศเถา ไดร้ บั บรางวัลชนะเลศิ อีกดว้ ย
ในปี พ.ศ. 2529 ครไู ด้รบั เชิดชเู กียรติ เปน็ ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรไี ทย)

ครเู สียชวี ิตด้วยโรงมะเร็งในปอด เม่ือ 11 มถิ นุ ายน 2530 รวมอายุได้ 77 ปี


Click to View FlipBook Version