The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กำหนดการสอน ม.6 เทอมแรก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pjmoosungnoen, 2022-07-19 22:29:33

กำหนดการจัดการเรียนรู้

กำหนดการสอน ม.6 เทอมแรก

กำหนดการจดั การเรียนรู้

รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๓๓๑๐๑
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕

ราชาศพั ท์
ตามพระอิสรยิ ศกั ดิ์

การเปลี่ยนแปลง การเขียนเรยี ง
ของภาษา และยอ่ ความ

การศึกษาค้นคว้า วรรณคดเี รอื่ งสามก๊ก
และอา้ งองิ ขอ้ มลู และสามคั คเี ภทคำฉันท์

การวิจารณ์
วรรณกรรม

นางปานใจ หม่สู ูงเนนิ
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ

โรงเรยี นไชยวานวทิ ยา จงั หวัดอดุ รธานี
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา อดุ รธานี
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2

คำนำ

กำหนดการสอนทจ่ี ัดทำขนึ้ น้ี เพื่อให้ครผู สู้ อนไดเ้ ตรียมการในการจัดการเรยี นการสอน
รายวชิ าภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ โดยมีการศกึ ษา และวเิ คราะห์หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา-
ขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ จดั ทำคำอธบิ าย-
รายวชิ า โครงสรา้ งรายวิชากำหนดเวลาเรยี น น้ำหนกั คะแนน กำหนดทักษะกระบวนการในการเรียน-
การสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรยี นการสอนของครู

หวังเป็นอยา่ งยง่ิ ว่าจะเปน็ ประโยชนส์ ำหรบั ครผู ู้สอน ในการพัฒนาคุณภาพการเรยี นรู้
และผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี นต่อไป

ขอขอบพระคุณ ผู้ที่มีสว่ นช่วยให้เอกสารน้สี ำเร็จลุลว่ งด้วยดี ไดแ้ ก่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน หวั หน้ากลุ่มบริหารวิชาการ หวั หน้ากลุ่มสาระภาษาไทย และคณะครูอาจารย์ทกุ ท่าน
มา ณ โอกาสน้ี

ปานใจ หมู่สงู เนิน
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

สารบัญ 3

เรือ่ ง หน้า

หลกั การและจดุ ม่งุ หมายของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ 4
วิสยั ทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 5
คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบหลกั สตู รขน้ั พ้นื ฐาน 5
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 6
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 7
ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 8
คำอธบิ ายรายวชิ า 13
โครงสร้างรายวิชา 14
ข้อตกลงในการวดั และประเมนิ ผล 16
กำหนดภาระงาน 17

4

หลกั การและจดุ มุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๒๕๕๑
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นทุกคน ซง่ึ เปน็ กำลงั ของชาติให้เปน็ มนษุ ย์

ทีม่ คี วามสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมัน่ -
ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มีความรแู้ ละทกั ษะพื้นฐาน
รวมทง้ั เจตคติ ท่ีจำเปน็ ต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ิต โดยม่งุ เน้นผ้เู รยี น-
เปน็ สำคญั บนพ้นื ฐานความเชื่อว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ

หลักการ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มีหลกั การท่สี ำคญั ดังน้ี
๑. เป็นหลกั สตู รการศึกษาเพือ่ ความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรยี นรู้
เป็นเปา้ หมายสำหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพนื้ ฐานของ-
ความเปน็ ไทยควบคกู่ ับความเปน็ สากล
๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพอื่ ปวงชน ท่ีประชาชนทกุ คนมโี อกาสไดร้ ับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค
และมีคุณภาพ
๓. เป็นหลักสตู รการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา
ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน
๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่มี โี ครงสรา้ งยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัด
การเรยี นรู้
๕. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
๖. เปน็ หลักสูตรการศึกษาสำหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ครอบคลุม-
ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน มุ่งพฒั นาผู้เรียนให้เปน็ คนดี มีปัญญา มคี วามสุข
มศี กั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเปน็ จุดหมายเพือ่ ใหเ้ กดิ กับผู้เรยี น
เม่ือจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ดงั นี้

๑. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมที่พงึ ประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มีวินัยและปฏบิ ตั ิตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และ
มที กั ษะชีวิต

๓. มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ีดี มีสุขนสิ ยั และรักการออกกำลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิต
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ
๕. มจี ิตสำนึกในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย การอนุรักษ์และพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม
มจี ิตสาธารณะทม่ี ่งุ ทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ท่ีดีงามในสงั คม และอยู่รว่ มกนั ในสังคมอย่างมีความสุข

5

วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
"กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มุ่งพัฒนาผ้เู รียนให้มีความรู้ ทักษะทางภาษาไทยนำไปใช้

ในการดำรงชวี ิตและเปน็ เคร่ืองมอื ในการแสวงหาความรู้ในศาสตร์อืน่ ๆ รกั และภูมิใจในภาษาไทย

ในฐานะเปน็ มรดกของชาติ”

พนั ธกิจ
๑. พัฒนาผเู้ รียนให้มีคณุ ภาพการใช้ภาษาไทยไดม้ าตรฐานการศึกษา
๒. พฒั นาระบบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทยให้มปี ระสิทธภิ าพ
๓. พฒั นาผู้เรยี นให้มีทักษะในการอา่ น เขยี น การฟงั พูด ตลอดจนการใช้ภาษาไทย

ให้มีประสทิ ธิภาพ
๔. พัฒนาผู้เรียนใหเ้ ป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งตา่ ง ๆ โดยใชภ้ าษาไทย

เป็นเคร่อื งมอื

๕. ปลูกฝงั ให้ผูเ้ รียนเห็นคณุ คา่ และภาคภมู ใิ จในภาษา ภูมิปัญญาไทย ในฐานะเปน็ มรดกของชาติ

เปา้ ประสงค์
๑. ผ้เู รยี นใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และสามารถดำรงตนในสงั คมอย่างมีความสุข
๒. ครภู าษาไทยสามารถจัดระบบการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
๓. กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มรี ะบบการบริหาร และจดั การศึกษาที่มีประสิทธภิ าพ
๔. ผเู้ รียนมีทักษะทางภาษาไทย มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ

คณุ ภาพของผูเ้ รยี น
จบชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓

อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองเปน็ ทำนองเสนาะไดถ้ กู ต้อง เข้าใจความหมายโดยตรง
และความหมายโดยนยั จับใจความสำคญั และรายละเอยี ดของส่งิ ทีอ่ ่าน แสดงความคดิ เหน็ และขอ้ โตแ้ ย้ง
เก่ียวกับเรอื่ งท่อี า่ น และเขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ ยอ่ ความ เขยี นรายงานจากสง่ิ ทีอ่ ่านได้ วเิ คราะห์
วิจารณอ์ ยา่ งมีเหตุผล ลำดบั ความอย่างมขี ัน้ ตอนและความเปน็ ไปได้ของเรื่องทอ่ี ่าน รวมทัง้ ประเมินความ
ถูกต้องของขอ้ มูลทีใ่ ช้สนับสนนุ จากเร่อื งทอ่ี า่ น

เขียนสื่อสารดว้ ยลายมอื ทอ่ี ่านงา่ ยชัดเจน ใชถ้ อ้ ยคำไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมตามระดับภาษา

เขยี นคำขวญั คำคม คำอวยพรในโอกาสตา่ งๆ โฆษณา คตพิ จน์ สุนทรพจน์ ชวี ประวัติ อตั ชีวประวัติ

และประสบการณต์ า่ งๆ เขยี นยอ่ ความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมคั รงาน เขยี นวเิ คราะหว์ จิ ารณ์

และแสดงความรคู้ วามคดิ หรือโต้แย้งอย่างมเี หตุผล ตลอดจนเขยี นรายงาน และโครงงานการศึกษาคน้ คว้า

พูดแสดงความคิดเห็น วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ ประเมนิ ส่ิงทไี่ ด้จากการฟงั และดู นำข้อคิดไปประยกุ ต์ใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั พดู รายงานเร่ืองหรอื ประเดน็ ท่ีได้จากการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด พูดใน
โอกาสต่างๆ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ และพูดโนม้ นา้ วอย่างมีเหตผุ ล รวมทงั้ มีมารยาทในการฟงั ดู และพูด

เขา้ ใจและใช้คำราชาศพั ท์ คำบาลีสันสกฤต คำภาษาตา่ งประเทศอ่ืนๆ คำทับศัพท์

และศัพท์บัญญัตใิ นภาษาไทย วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งในภาษาพดู ภาษาเขยี น โครงสรา้ งของประโยครวม
ประโยคซ้อน ลกั ษณะภาษาท่ีเปน็ ทางการ ก่ึงทางการ และไม่เป็นทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน
สภุ าพ กาพย์ และโคลงส่ีสุภาพ

สรปุ เนอื้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่าน วิเคราะห์ตัวละครสำคัญ วิถีชีวิตไทย และคุณค่าท่ไี ดร้ ับ
จากวรรณคดี วรรณกรรม และบทอาขยาน พรอ้ มทัง้ สรุปความรู้ ขอ้ คิด เพ่อื นำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จรงิ

6

จบช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖

อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะไดถ้ กู ตอ้ งและเขา้ ใจ ตีความ แปลความ
และขยายความเรือ่ งท่อี า่ นได้ วเิ คราะหว์ ิจารณ์เรอ่ื งทอ่ี ่าน แสดงความคิดเหน็ โตแ้ ย้ง และเสนอความคดิ ใหม่
จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคิด บนั ทกึ

ยอ่ ความ และเขียนรายงานจากส่ิงทอ่ี ่าน สังเคราะห์ ประเมินคา่ และนำความรู้ความคดิ จากการอ่านมาพัฒนา-
ตน พฒั นาการเรยี น และพฒั นาความรทู้ างอาชีพ และนำความรคู้ วามคิด ไปประยกุ ตใ์ ช้แก้ปญั หาในการดำเนิน
ชีวติ มีมารยาท และมนี สิ ัยรกั การอา่ น

เขียนส่ือสารในรปู แบบตา่ งๆ โดยใช้ภาษาไดถ้ กู ต้องตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ยอ่ ความจากสอ่ื ทีม่ รี ปู แบบ
และเน้อื หาทห่ี ลากหลาย เรยี งความแสดงแนวคดิ เชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารตา่ งๆ เขยี นบันทึก รายงาน-
การศกึ ษาค้นคว้าตามหลกั การเขียนทางวิชาการ ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลติ ผลงานของตนเองใน
รปู แบบต่างๆ ท้ังสารคดแี ละบันเทงิ คดี รวมท้ังประเมนิ งานเขยี นของผู้อืน่ และนำมาพฒั นางานเขยี นของตนเอง

ตงั้ คำถามและแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เรอ่ื งทฟ่ี ังและดู มีวจิ ารณญาณในการเลอื กเรอื่ งท่ฟี ัง และดู
วิเคราะหว์ ัตถุประสงค์ แนวคดิ การใชภ้ าษา ความนา่ เช่อื ถือของเรอ่ื งที่ฟังและดู ประเมนิ สิ่งทีฟ่ ังและดูแล้ว
นำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนินชีวติ มีทกั ษะการพูดในโอกาสตา่ งๆ ทัง้ ที่เป็นทางการและไม่เปน็ ทางการโดยใช้
ภาษาที่ถกู ต้อง พดู แสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โนม้ นา้ ว และเสนอแนวคดิ ใหม่อย่างมีเหตุผล รวมท้ังมีมารยาทใน
การฟงั ดู และพดู

เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา อิทธิพลของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย ใชค้ ำและกลุ่มคำ-
สร้างประโยคไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ แต่งคำประพันธป์ ระเภท กาพย์ โคลง รา่ ยและฉันท์ ใชภ้ าษาได้-
เหมาะสมกับกาลเทศะ และใช้คำราชาศัพท์และคำสภุ าพไดอ้ ย่างถูกต้อง วเิ คราะห์หลักการสร้างคำในภาษาไทย
อิทธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย และภาษาถ่นิ วเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจากสื่อส่งิ พมิ พ์
และสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์

วเิ คราะห์วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม ตามหลักการวิจารณ์วรรณคดเี บือ้ งต้น รู้และเข้าใจลกั ษณะ
เด่นของวรรณคดี ภูมิปญั ญาทางภาษาและวรรณกรรมพน้ื บ้าน เชอ่ื มโยงกบั การเรียนรูท้ างประวตั ิศาสตร์และ
วถิ ีไทย ประเมนิ คณุ คา่ ดา้ นวรรณศิลป์ และนำข้อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน มุ่งใหผ้ เู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั น้ี
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเขา้ ใจ ความรูส้ ึก และทัศนะของตนเองเพอ่ื แลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสารและ
ประสบการณอ์ ันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพอ่ื ขจดั และลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลอื กรับหรือไม่รับข้อมลู ขา่ วสารด้วยหลักเหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจน
การเลือกใชว้ ธิ ีการส่ือสาร ทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ อย่าง-
สรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพือ่ นำไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความร้หู รือสารสนเทศ
เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

7

๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้นื ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หา และมีการตัดสินใจท่มี ปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นตอ่ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ-
ดำเนินชวี ิตประจำวนั การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างตอ่ เนอื่ ง การทำงาน และการอยรู่ ว่ มกันในสงั คม
ดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพนั ธ์อันดีระหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขดั แย้งตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ่ ึง
ประสงค์ทส่ี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผอู้ น่ื

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ
และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่อื การพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน
การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน มุ่งพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ คี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพอ่ื ให-้
สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่นื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

8

ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพ่ือนำไปใชต้ ดั สินใจ
แก้ปัญหาในการดำเนินชวี ติ และมนี สิ ัยรกั การอา่ น

ม.๔-ม.๖ ๑. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว  การอา่ นออกเสยี ง ประกอบดว้ ย
และบทร้อยกรองได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
- บทร้อยแกว้ ประเภทต่างๆ เช่น บทความ
ไพเราะ และเหมาะสมกับเร่อื งทอ่ี า่ น นวนยิ าย และความเรียง

- บทร้อยกรอง เชน่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน
รา่ ย และลลิ ิต

๒. ตคี วาม แปลความ และขยายความ  การอา่ นจับใจความจากสือ่ ต่างๆ เชน่

เรอื่ งทอี่ า่ น - ข่าวสารจากส่อื สง่ิ พิมพ์ ส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์

๓. วิเคราะหแ์ ละวิจารณเ์ ร่อื งท่ีอ่าน และแหล่งเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ในชมุ ชน

ในทกุ ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล - บทความ

๔. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรือ่ งทีอ่ ่าน - นิทาน
และประเมนิ คา่ เพอ่ื นำความรู้ ความคดิ
ใชต้ ัดสินใจแกป้ ัญหาการดำเนินชวี ิต - เร่อื งสนั้
- นวนิยาย
๕. วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความ - วรรณกรรมพนื้ บา้ น
คดิ เหน็ โต้แย้งกบั เรอื่ งทอ่ี ่าน และเสนอ - วรรณคดใี นบทเรยี น
ความคิดใหม่อยา่ งมเี หตุผล
๖. ตอบคำถามจากการอา่ นประเภท - บทโฆษณา
- สารคดี
ต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด

๗. อ่านเรื่องตา่ งๆ แล้วเขยี นกรอบ - บนั เทงิ คดี

แนวคิดผังความคิด บนั ทึก ยอ่ ความ - ปาฐกถา

และรายงาน - พระบรมราโชวาท

๘. สังเคราะห์ความร้จู ากการอ่าน - เทศนา
สือ่ ส่งิ พิมพ์ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และ - คำบรรยาย
แหลง่ เรียนรูต้ ่างๆ มาพฒั นาตน - คำสอน
- บทรอ้ ยกรองรว่ มสมัย
พฒั นาการเรียน และพัฒนาความรู้ - บทเพลง
ทางอาชีพ

- บทอาเศยี รวาท

- คำขวัญ

๙. มมี ารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน

9

สาระที่ ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่อื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ
และเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้า
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ม.๔-๖ ๑. เขียนสอื่ สารในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้ เขียนส่ือสารในรปู แบบตา่ ง ๆ
ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษา

เรยี บเรียงถกู ต้อง มีข้อมูล
และสาระสำคัญชัดเจน

๒. เขียนเรยี งความ  การเขียนเรียงความ

๓. เขียนย่อความจากสือ่ ที่มีรูปแบบ  การเขียนยอ่ ความจากสอ่ื ต่างๆ เช่น

และเนอื้ หาหลากหลาย - กวนี พิ นธ์ และวรรณคดี

- เรอื่ งสนั้ สารคดี นวนยิ าย บทความทางวิชาการ
และวรรณกรรมพน้ื บา้ น

๔. ผลติ งานเขียนของตนเอง  การเขยี นในรูปแบบต่างๆ เช่น

ในรูปแบบต่างๆ - สารคดี

- บนั เทงิ คดี

๕. ประเมินงานเขียนของผู้อน่ื  การประเมินคณุ ค่างานเขียนในดา้ นต่างๆ

แลว้ นำมาพัฒนางานเขยี นของตนเอง เชน่

- แนวคดิ ของผูเ้ ขยี น

- การใช้ถอ้ ยคำ

- การเรยี บเรียง

- สำนวนโวหาร

- กลวธิ ใี นการเขยี น

๖. เขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้  การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เร่ืองที่สนใจตามหลกั การเขยี น-  การเขยี นอา้ งอิงขอ้ มูลสารสนเทศ

เชิงวิชาการ และใช้ข้อมลู สารสนเทศ
อ้างองิ อย่างถูกต้อง

๗. บนั ทกึ การศึกษาคน้ คว้าเพ่ือนำไป  การเขยี นบนั ทกึ ความรู้จากแหลง่ เรยี นรู้

พฒั นาตนเองอย่างสมำ่ เสมอ ทห่ี ลากหลาย

๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น

10

สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดอู ย่างมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สึก
ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

ม.๔-ม.๖ ๑. สรปุ แนวคดิ และแสดงความคิดเหน็  การพดู สรุปแนวคิด และการแสดงความ

จากเรือ่ งท่ีฟังและดู คิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู

๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา  การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา
และความน่าเชอ่ื ถอื จากเรื่องท่ฟี งั และความนา่ เชอ่ื ถือจากเร่ืองท่ีฟังและดู
และดอู ยา่ งมเี หตุผล

๓. ประเมินเรื่องท่ีฟงั และดู  การเลอื กเรื่องท่ฟี งั และดู
แล้วกำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ อย่างมีวิจารณญาณ
ใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิต
 การประเมินเรื่องทฟี่ ังและดเู พ่ือกำหนด
๔. มวี จิ ารณญาณในการเลือก แนวทางนำไปประยกุ ตใ์ ช้
เรื่องที่ฟังและดู

๕. พูดในโอกาสตา่ งๆ พูดแสดงทรรศนะ  การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น

โตแ้ ยง้ โน้มนา้ วใจ และเสนอแนวคิดใหม่ - การพูดตอ่ ทปี่ ระชุมชน
ดว้ ยภาษาถกู ต้องเหมาะสม
- การพูดอภปิ ราย

- การพูดแสดงทรรศนะ

- การพดู โนม้ นา้ วใจ

๖. มีมารยาทในการฟัง การดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู
และการพูด

11

สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา
ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

ม.๔-ม.๖ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา  ธรรมชาตขิ องภาษา
พลงั ของภาษา และลักษณะของภาษา  พลังของภาษา
 ลกั ษณะของภาษา
๒. ใช้คำและกล่มุ คำสรา้ งประโยค - เสียงในภาษา
ตรงตามวตั ถุประสงค์ - ส่วนประกอบของภาษา
- องคป์ ระกอบของพยางคแ์ ละคำ
๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส  การใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค
กาลเทศะ และบคุ คล รวมทงั้ คำราชา - คำและสำนวน - การรอ้ ยเรียงประโยค
ศพั ทอ์ ยา่ งเหมาะสม - การเพ่มิ คำ - การใช้คำ
๔. แตง่ บทรอ้ ยกรอง - การเขียนสะกดคำ
๕. วเิ คราะหอ์ ิทธิพลของ  ระดับของภาษา
ภาษาต่างประเทศและภาษาถน่ิ  คำราชาศพั ท์

 กาพย์ โคลง ร่าย และฉนั ท์
 อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น

๖. อธบิ ายและวิเคราะหห์ ลักการสรา้ งคำ  หลกั การสร้างคำในภาษาไทย
ในภาษาไทย

๗. วเิ คราะห์และประเมนิ การใชภ้ าษา  การประเมินการใชภ้ าษาจากสื่อสิ่งพิมพ์
จากสอื่ สิ่งพิมพ์ และส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ และสอื่ อิเล็กทรอนิกส์

12

สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ คา่
และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ

ม.๔-ม.๖ ๑. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี  หลกั การวเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรม ตามหลกั การวิจารณ์ และวรรณกรรมเบ้ืองตน้

เบื้องตน้ - จดุ ม่งุ หมายการแตง่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

- การพจิ ารณารปู แบบของวรรณคดี
และวรรณกรรม

- การพิจารณาเนอ้ื หาและกลวิธีในวรรณคดี
และวรรณกรรม

- การวเิ คราะหแ์ ละการวจิ ารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรม

๒. วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดี  การวเิ คราะหล์ ักษณะเด่นของวรรณคดี

เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ และวรรณกรรมเก่ียวกับเหตุการณ์

และวถิ ชี ีวิตของสังคมในอดีต ประวตั ศิ าสตร์ และวถิ ีชวี ติ ของสงั คมในอดีต

๓. วิเคราะห์และประเมนิ คณุ ค่าด้าน  การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คณุ คา่ วรรณคดี
วรรณศิลปข์ องวรรณคดี และ และวรรณกรรม
วรรณกรรมในฐานะท่เี ปน็ มรดก - ดา้ นวรรณศิลป์
ทางวัฒนธรรมของชาติ - ด้านสังคมและวัฒนธรรม
 การสังเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม
๔. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี
และวรรณกรรมเพอ่ื นำไปประยกุ ตใ์ ช้  วรรณกรรมพื้นบา้ นท่ีแสดงถึง
ในชีวิตจรงิ - ภาษากบั วัฒนธรรม
๕. รวบรวมวรรณกรรมพนื้ บา้ นและ - ภาษาถนิ่
อธบิ ายภูมปิ ญั ญาทางภาษา  บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่า
- บทอาขยานตามที่กำหนด
๖. ทอ่ งจำและบอกคุณค่าบทอาขยาน - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
ตามทก่ี ำหนด และบทรอ้ ยกรอง-
ทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ
และนำไปใช้อ้างอิง

13

คำอธิบายรายวิชา

วิชาภาษาไทยพนื้ ฐาน รหัสวิชา ท๓๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

ศกึ ษาวิเคราะห์ ฝกึ ทกั ษะทางภาษา ฟงั ดู พูด อ่านและเขยี นบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองประเภท

ตา่ ง ๆ รบั สารด้วยการอ่านจากส่ือต่างๆ เขียนกรอบแนวคดิ ผังความคิด รายงานจากส่ิง ท่อี า่ น เขยี นสื่อสาร
ในรปู แบบต่างๆ เชน่ อธิบาย บรรยาย พรรณนา ยอ่ ความจากสือ่ ทม่ี รี ูปแบบ และ เน้อื หาทหี่ ลากหลาย
เขียนเรียงความจากจินตนาการโดยใช้โวหารต่างๆ เขยี นบันทกึ เขียนโครงการและ รายงานการดำเนนิ โครงการ

โดยใช้ขอ้ มูลสารสนเทศในการอา้ งองิ รวมทั้งประเมนิ งานเขียนของผู้อนื่ แลว้ นำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง
ต้ังคำถามและแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั เร่อื งท่ีฟังและดู มี วจิ ารณญาณในการเลอื กเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู วเิ คราะห์

วัตถปุ ระสงค์ แนวคดิ การใชภ้ าษาความน่าเชอื่ ถือของ เร่ืองทฟี่ งั และดู ประเมินสิ่งที่ฟงั และดู มีทกั ษะการพูด
ในโอกาสต่างๆท้ังทเ่ี ปน็ ทางการและไมเ่ ป็น ทางการ โดยใชภ้ าษาท่ีถกู ต้อง พูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โน้มน้าว
และเสนอแนวคดิ ใหม่อย่างมีเหตผุ ล เข้าใจธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ระดบั ภาษา ใชภ้ าษาได้

เหมาะสมกับกาลเทศะ และใช้คำราชาศัพทไ์ ด้อย่างถูกต้อง วเิ คราะห์และประเมนิ การใชภ้ าษาจากสื่อสงิ่ พิมพ์
และส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ วเิ คราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบอ้ื งต้น

รแู้ ละเข้าใจลกั ษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษา และวรรณคดีพื้นบา้ น เช่ือมโยงกบั การเรียนรู้
ทางประวตั ิศาสตรแ์ ละวิถไี ทย

โดยใช้กระบวนการเรยี นทางภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ

กระบวนการกลุม่ กระบวนการคดิ อย่างมวี ิจารญาณ และ กระบวนการสร้างความ ตระหนัก
เพ่ือใหเ้ กิดการพฒั นาสมรรถภาพการเรยี นรู้ การศกึ ษาคน้ ควา้ เกิดทกั ษะทางภาษา นำความคดิ ไปใช้

ในการตัดสินใจแกไ้ ขปญั หา เข้าใจและเหน็ คณุ ค่าในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้
ในชีวติ จรงิ ได้ มมี ารยาทในการอา่ น เขยี น การฟัง ดู และพูด มีนิสยั รักการ อ่านและการเขียน

ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑,๒,๖,๘

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒,๓,๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑,๒,๓,๕,๖
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑,๒,๓,๔

รวม ๑๗ ตัวชวี้ ดั

14

โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖

หนว่ ย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก

ที่ การเรียนรู้ /ผลการเรยี นรู้ คะแนน

๑ การ ท ๔.๑ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา ๘ ๑๐

เปลี่ยนแปลง ม.๖/๑-๒,๕ ในดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ สาเหตุทท่ี ำให้

ของภาษาไทย ภาษามีการเปลีย่ นแปลง การเพิ่มคำ

ในภาษาไทย และคำที่มาจาก-

ภาษาตา่ งประเทศ จนมคี วามรู้

ความเขา้ ใจ ทำให้สามารถอธบิ าย

ธรรมชาติของภาษาทมี่ กี าร

เปลย่ี นแปลง ใชค้ ำและกลมุ่ คำสร้าง

ประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ และ

วิเคราะห์อิทธิพลของ

ภาษาตา่ งประเทศได้

๒ ราชาศพั ท์ตาม ท ๓.๑ การศกึ ษาความหมายของคำราชา ๖ ๑๐

พระอสิ ริยศกั ด์ิ ม.๖/๖ ศพั ท์ ขอ้ สงั เกตอ่นื ๆ ลำดบั ชัน้ ชนิด

ท ๔.๑ และการใชค้ ำราชาศัพท์ตาม-

ม.๖/๓,๖ พระอสิ ริยศักดิ์ ทำใหม้ ีความร้คู วาม

เขา้ ใจสามารถใช้ภาษาได้เหมาะสม

แก่โอกาส กาลเทศะและบคุ คล

ตลอดจนมีมารยาทในการฟัง การดู

และการพูด

๓ การเขยี น ท ๒.๑ การศึกษาความรูเ้ รือ่ งการเขียน ๖ ๑๐

เรยี งความ ม.๖/๒,๓,๘ เรยี งความเชิงสรา้ งสรรค์ และ

และย่อความ การเขยี นย่อความ จนมคี วามรู้ความ

เข้าใจ ทำใหส้ ามารถเขียนเรียงความ

และยอ่ ความท่ีมีรูปแบบเนอื้ หา

หลากหลาย ตลอดจนมีมารยาท

ในการเขยี น

๔ การศกึ ษา ท ๑.๑ การศึกษาความรู้เรื่องแนวทาง ๖ ๑๐

ค้นคว้า ม.๖/๘ การศึกษาคน้ คว้า และ การอ้างอิง

และ ขอ้ มูลจากการศกึ ษาคน้ คว้า จนมี

การอ้างอิง ความรู้ความเข้าใจ ทำให้สามารถ

ข้อมลู สงั เคราะหค์ วามรจู้ ากการอ่านสือ่

ส่ิงพมิ พ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่ง

เรียนรูต้ า่ ง ๆ มาพฒั นาตนได้

ตลอดจนมมี ารยาทในการอ่านและ

การเขยี น

15

หน่วย ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก

ท่ี การเรยี นรู้ /ผลการเรยี นรู้ คะแนน

๕ การวจิ ารณ์ ท ๕.๑ การศึกษาความรู้เรื่องการวิจารณ์ ๖ ๑๐

วรรณกรรม ม.๖/๑,๓ วรรณกรรม ได้แก่ ความหมาย

วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจารณ์

การแบ่งประเภทวรรณกรรม

การวจิ ารณ์บนั เทงิ คดแี ละสารคดี

จนมคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทำให้

สามารถวเิ คราะหว์ ิจารณ์วรรณคดี

และวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์

เบ้ืองตน้ ตลอดจนตระหนักและ

เห็นคณุ ค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรม

ในฐานะทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม

ของชาติ

๖ วรรณคดี ท ๑.๑ การอ่านวรรณคดี โดยเรม่ิ ตน้ จากการ ๘ ๑๐

เรอ่ื ง ม.๖/๑,๒,๖ อา่ นออกเสียง การตคี วาม แปลความ

สามก๊ก ท ๕.๑ ขยายความ ตอบคำถามจากเรือ่ ง

และ ม.๖/๑,๒,๓,๔ วิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินค่า

สามคั คเี ภท- สงั เคราะห์ขอ้ คดิ จากเร่อื ง ทำให้

คำฉนั ท์ สามารถเรยี นร้วู รรณคดีได้อย่างมี

คุณค่า และนำขอ้ คิดไปประยกุ ต์ใช้

ในชวี ิตจริงได้

รวม ๖๐ ๖๐

คะแนนสอบกลางภาค ๒๐

คะแนนสอบปลายภาค ๒๐

รวมท้งั สน้ิ ๑๐๐

16

ข้อตกลงในการวดั และประเมนิ ผล รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๓๓๑๐๑

๑. รายละเอยี ดในการวัดผล-ประเมินผล = ๘๐ : ๒๐
อตั ราส่วน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = ๖๐ : ๒๐ : ๒๐
อัตราส่วน K : P : A

โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

การประเมนิ คะแนน วธิ วี ดั ผล ชนิดของเครื่องมือ ตวั ชี้วัด/ เวลาท่ีใช้
ก่อนกลางภาค วดั ผล ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง)
๓๐ -ตรวจบนั ทึกความรู้
กลางภาค -ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หดั ท ๔.๑ ๒๐
หลังกลางภาค -ประเมินชน้ิ งาน - แบบประเมนิ ชิ้นงาน ม.๖/๑-๒,๕
รายบุคคล/กลมุ่ ๒๐
ปลายภาค ขอ้ สอบ ท ๓.๑ ม.๖/๖
รวม ๒๐ สอบ - แบบฝกึ หดั ท ๔.๑ ม.๖/๓,๖
๓๐ -ตรวจแบบฝึกหดั - แบบประเมนิ ชนิ้ งาน ท ๒.๑
ม.๖/๒,๓,๘
-ประเมินชนิ้ งาน ข้อสอบ
รายกลุ่ม ๑๐๐ คะแนน ท ๑.๑ ม.๖/๘
ท ๕.๑ ม.๖/๑,๓
๒๐ สอบ ท ๑.๑

ม.๖/๑,๒,๖
ท ๕.๑

ม.๖/๑,๒,๓,๔

17

๒. กำหนดภาระงาน
ในการเรียนรายวชิ าภาษาไทย (ท๓๓๑๐๑) ได้กำหนดให้นักเรียนทำกจิ กรรม/ปฏบิ ัตงิ าน/ช้นิ งาน ดงั นี้

หนว่ ยท่ี ชอื่ งาน ตัวช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ ประเภทงาน จำนวนช่ัวโมง
๑ ท ๔.๑ ม.๖/๑-๒,๕ กลมุ่ เด่ียว ๘
๒ - ตรวจบันทึกความรู้ ๖
๓ - ตรวจแบบฝึกหัด ท ๓.๑ ม.๖/๖ / ๖
- ตรวจบนั ทึกความรู้ ท ๔.๑ ม.๖/๓,๖
๔ - ตรวจแบบฝึกหัด ท ๒.๑ ม.๖/๒,๓,๘ / ๖
๕ - ตรวจแบบฝกึ หัด ๖
- ประเมินช้นิ งาน ท ๑.๑ ม.๖/๘ /
๖ รายบคุ คล/กลมุ่ ท ๕.๑ ม.๖/๑,๓ // ๘
- ประเมินชิ้นงานกลมุ่
- ตรวจแบบฝกึ หัด ท ๑.๑ ม.๖/๑,๒,๖ /
- ประเมินช้ินงาน ท ๕.๑ ม.๖/๑,๒,๓,๔ /
รายบคุ คล/กลุ่ม
- ประเมนิ ชิ้นงานกลมุ่ //

/

ลงชอื่ ........................................ครปู ระจำวชิ า
(นางปานใจ หมู่สงู เนนิ )

ลงช่อื .........................................หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ
(นางมนิ ตรา โดเวอร์)

ลงชือ่ ........................................
(นางอภญิ ญา ดเิ รกศรี)

หวั หนา้ กลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชอื่ ............................................
(นางสาวประภสั สร ทามาลี)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นไชยวานวทิ ยา


Click to View FlipBook Version