The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ssotangmo, 2022-02-06 00:34:47

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

การเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็ นฐาน
(Problem–based Learning:PBL)

คำนำ

หนงั สือเล่มน้ีจดั ทำขน้ึ เพอ่ื เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การวจิ ัยและพฒั นาหลกั สูตรและการเรียน
การสอน รหสั วิชา 5092202 เพ่อื ให้ไดศ้ ึกษาความรูใ้ นเร่อื งการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน
และได้ศึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพอ่ื เปน็ ประโยชนก์ บั การเรยี นรู้

ผู้จดั ทำ ขอขอบพระคณุ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชวนพศิ รกั ษาพวก ทค่ี อยใหค้ ำแนะนำ
ในการจัดทำหนังสอื เลม่ นจ้ี นสำเรจ็ ไปดว้ ยดี

ผ้จู ัดทำหวงั วา่ หนงั สอื เลม่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชนก์ ับผอู้ ่าน นกั เรียน หรอื นักศึกษา ที่กำลังจะหา
ข้อมูลเรื่องน้ีอยู่ หากมีข้อแนะนำหรือผดิ พลาดประการใดผู้จดั ทำขออภัยมา ณ ที่นดี้ ว้ ย

คณะผู้จดั ทำ

สารบัญ

เรือ่ ง หน้า

คำนำ ก
สารบัญ ข
ความหมายของวธิ กี ารสอนโดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem–based Learning: PBL) 1
การเรยี นรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem–based Learning: PBL) 2
รปู แบบการเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem–based Learning: PBL) 5-9
กระบวนการและข้นั ตอนในการจดั การเรยี นรูแ้ บบใชป้ ัญหาเป็นฐาน 10
ประโยชนแ์ ละขอ้ จำกัดของการสอนโดยใช้ปญั หาเป็นฐาน 11-12
ลกั ษณะสำคัญของการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน 13
สรปุ การจดั กิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน 14
ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน 15-20
สือ่ การเรยี นรู้ 21-31
บรรณานกุ รม 32

ความหมายของวิธกี ารสอนโดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน
(Problem–based Learning: PBL)

การเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐานคอื อะไร

เมื่อดจู ากคำศัพท์ Problem–based Learning ก็คอื วธิ ีการเรียนรวู้ ธิ หี นึ่ง ที่มรี ูปแบบการ
เรยี นรู้ โดยการนำปญั หามาเปน็ ตวั กระตุ้นให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้

การเรียนรูโ้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem-based learning หรอื PBL) เป็นรูปแบบการ
เรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivism) โดยให้
ผู้เรยี นสรา้ งความรู้ใหม่ จากการใชป้ ัญหาที่เกดิ ขึ้นจริงในโลกเปน็ บรบิ ทของการเรยี นรู้ (Learning
Context) เพื่อให้ผูเ้ รยี นเกิดทกั ษะในการคิดวิเคราะห์และคิดแก้ปัญหา รวมทัง้ ไดค้ วามรู้ตาม
ศาสตรใ์ นสาขาวชิ าทีต่ นศึกษา ไปพรอ้ มกนั ดว้ ย การเรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐานจึงเปน็ ผลมาจาก
กระบวนการทำงานท่ีต้องอาศัยความเข้าใจและการแก้ไขปัญหาเป็นหลกั ถ้ามองในแง่ของ
ยุทธศาสตร์การสอน PBL เป็นเทคนคิ การสอน ที่ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี นได้ลงมอื ปฏิบัติดว้ ยตนเอง
เผชิญหนา้ กับปญั หาดว้ ยตนเอง จะทำให้ผู้เรยี นได้ฝึกทักษะในการคิดหลายรูปแบบ เช่น การคิด
วจิ ารณญาณ คดิ วเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิดสรา้ งสรรค์ ฯลฯ

หลายทา่ นอาจมคี วามสงสัยวา่ การเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (PBL) และการเรียนร้เู พ่ือ
การแก้ปัญหา (problem solving learning) ต่างกันอย่างไร ความแตกต่างท่ีชดั เจนคือ การ
เรียนรูโ้ ดยใชป้ ญั หาเป็นฐานจะเน้นท่กี ารกำหนดสิ่งทีจ่ ะเรยี นรู้และกระบวนการคน้ คว้าหาความรู้
ใหม่เพือ่ อธิบายปญั หาทีพ่ บ ส่วนการเรยี นร้เู พื่อแกป้ ญั หาจะเน้นที่การประยุกต์ใช้ความร้ทู ี่มอี ยู่และ
ตัดสนิ ใจทางเลือกทเ่ี หมาะสมสำหรบั การแกป้ ญั หาน้นั ๆ จะเหน็ วา่ การเรยี นรู้ทง้ั สองแบบไมใ่ ช่เป็น
สิง่ เดยี วกนั แตจ่ ะมคี วามสมั พนั ธ์กนั และเป็นกระบวนการทตี่ อ่ เน่อื งกัน

การเรยี นรโู้ ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem–based Learning: PBL)

แนวคิดและทฤษฎกี ารเรียนรูท้ ่ีเปน็ พืน้ ฐานของ PBL
แนวคิดในเรือ่ งของการเรียนรู้ ท่ีนกั จิตวิทยาทางการศึกษา นำมาเปน็ ประเด็นในการถกเถียงกัน มี

อยู่ 2 กลมุ่ คือ
1. กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้เชงิ พฤติกรรมนิยม (Behaviorist learning theory) ในกลุม่ นเี้ ชอ่ื วา่ ความรู้

มีอยู่มากมายในโลก แตค่ วามรู้ท่ีสามารถถา่ ยโยงมายังผู้เรียนอยา่ งเป็นรูปธรรมน้ันมีเพียงเลก็ น้อย การเรียนรู้
จะเกิดข้ึนได้ก็ต่อเม่ือมีการเช่อื มโยงระหว่างส่ิงเรา้ กับการตอบสนอง นกั จิตวทิ ยาที่ได้รบั การยอมรบั กัน ในกลุ่ม
น้ี คอื สกนิ เนอร์ (Skinner)

2. กลุ่มทฤษฎีการเรียนรูเ้ ชิงพทุ ธิปญั ญานยิ ม (Cognitive learning theory) มคี วามเชอ่ื ว่าความรู้เกิด
จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงสรา้ งท่ีมีลกั ษณะเฉพาะ (particular structure) กับส่งิ แวดล้อมทางจิตวิทยา
(psychological environment) ของผเู้ รยี นแตล่ ะบคุ คล การเรียนรู้จะเกิดขน้ึ กต็ ่อเม่ือผู้เรียนได้ปรับเปลี่ยน
โลกภายในของตน โดยอาศยั กระบวนการปฏิสมั พันธท์ ี่เกิดจากการรบั ความรู้ใหมเ่ ข้าไปในสมอง หรือจากการ
ปรบั เปลยี่ นความร้เู กา่ ให้เข้ากับความรู้ใหม่ นกั จติ วิทยาท่ีได้รับการยอมรับแนวคิดมากท่ีสุดใน กลุ่มน้ี คือ
เพียเจท์ (Piaget)

ในปี ค.ศ.1990 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศใหท้ ศวรรษต่อไปเป็น ทศวรรษของสมองและทศวรรษของ
การศกึ ษา (The decade of brain and the decade of education) เนอ่ื งมาจาก ผลการค้นคว้าวิจัยเร่ือง
สมอง ทำใหน้ กั การศึกษารวู้ า่ สมองมนษุ ย์มีลกั ษณะเฉพาะเป็นแหลง่ เกบ็ เป็นแหล่งกำเนดิ ของพฤตกิ รรม เป็น
อวยั วะท่มี คี วามสลับซับซ้อนมากที่สุด ในร่างกายมนษุ ย์ สมองของคนเราสามารถรบั เรื่องราวที่เกิดจากการ
เรยี นรู้ ได้ทุกอยา่ ง (receive all education) และด้วยความแตกตา่ งกันของสมอง สง่ ผลใหค้ นเรามีลักษณะ
ของการเรยี นรู้ (Learning style) ทีแ่ ตกต่างกัน จึงทำให้ วธิ ีการเรียนรู้ของมนุษย์แตล่ ะคนมคี วามแตกต่า งกัน
ไป

นอกจากการค้นคว้าในเรอ่ื งสมองแลว้ สหรฐั อเมรกิ ายังได้มีการศกึ ษาวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั ิการเพ่ือดูแนวโน้ม
และวิสยั ทศั น์ของหลกั สตู รที่เหมาะสมกบั ผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 ใช้กลุ่มตัวอยา่ ง 150 คน จากหลากหลาย
อาชีพ เช่น นักธุรกจิ ระดับชาตผิ นู้ ำทางการศกึ ษา และตัวแทนจากรัฐบาล เครอื่ งมอื วิจัยสำหรบั โครงการน้ี คือ
การใชเ้ ทคนคิ Delphi ในการศึกษา ระยะเวลาในการวิจยั 3 ปี ในรายงานส่วนหนึง่ ของวลิ สัน (Wilson, 1991)
สรุปไว้วา่ การเตรยี มนักเรยี นให้พร้อมท่ีจะเผชิญกับความเปล่ียนแปลงในอนาคต มีความจำเป็นท่ีจ ะต้อง
ปลกู ฝังใหน้ กั เรยี นมีทักษะการคิดแบบวจิ ารณญาณ และมที ักษะในการตัดสนิ ใจ นักเรยี นตอ้ งสามารถเข้าถึง
ข้อมูลและสามารถปรบั แปลงข้อมูลเพ่ือใช้ในการแก้ปญั หาได้โดยนักเรยี นต้องมลี ักษณะกลา้ เสี่ยง เป็น นัก
สำรวจ และเปน็ นักคิดท่รี จู้ ักให้ความรว่ มมือกับผอู้ น่ื รวมทง้ั ตอ้ งมีการบรู ณาการหลกั สูตรเพ่อื ใหเ้ กิด
กิจกรรมแบบสหวิทยาการ (Inter disciplinary activity) ดว้ ย

ตอ่ มาได้มีทฤษฎกี ารเรียนรู้ใหม่ ๆ เกิดข้ึนหลายทฤษฎี ทฤษฎีการเรยี นร้ทู นี่ ักการศึกษาส่วนใหญ่ให้
ความสนใจกันมากได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม ( Constructivist learning theory) ซึ่งมี
แนวคดิ ที่สอดคล้องกับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มากทสี่ ดุ ซ่ึงในกล่มุ นม้ี คี วามเช่ือวา่ การเรียนรู้จะ
เกดิ ขนึ้ เมอ่ื ผเู้ รียนได้สร้างความรทู้ ่ีเปน็ ของตนเองขนึ้ มา จากความรู้ทม่ี อี ยูเ่ ดิมหรือจากความรู้ทร่ี บั เข้ามา ใหม่
จากแนวคดิ ดังกล่าวจึงนำไปสกู่ ารปรับเปลยี่ นวิธีเรียน วิธีสอน แนวใหม่ ห้องเรยี นในศตวรรษที่ 21 ครูไม่ใช่
ผู้จัดการทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง ผเู้ รียนตอ้ งไดล้ งมือปฏบิ ตั เิ อง สรา้ งความรทู้ เ่ี กิดจากความเขา้ ใจของตนเอง และมีส่วน
รว่ มในการเรียนมากขน้ึ (Active learning) รูปแบบการเรยี นรู้ ที่เกิดจากแนวคดิ นี้ มีอยูห่ ลายรปู แบบ ได้แก่
การเรยี นรูแ้ บบร่วมมือ (Cooperative learning) การเรียนรู้แบบช่วยเหลือกนั (Collaborative learning)
การเรียนร้โู ดยการค้นควา้ อยา่ งอิสระ Independent investigation method) รวมทัง้ การเรยี นรู้โดยใชป้ ญั หา
เปน็ ฐาน (Problem-based learning)

ในชว่ งแรกของศตวรรษที่ 20 จอหน์ ดวิ อ้ี (John Dewey) นักการศกึ ษาชาวอเมริกนั ซ่ึงเป็นผู้คิดค้น
วิธสี อนแบบแกป้ ญั หา และเปน็ ผู้เสนอแนวคิดท่วี า่ การเรียนรูเ้ กดิ จากการปฏิบตั ิ หรอื ได้ลงมือกระทำ ด้วย
ตนเอง (Learning by doing) จากแนวคดิ น้ี ไดน้ ำไปสู่แนวคิดของการสอนในรูปแบบต่าง ๆ ดงั ทใ่ี ช้กันอยู่ใน
ปัจจบุ นั แนวคดิ ของ PBL ก็มรี ากฐานมาจากแนวคิดของ ดวิ อ้ี เชน่ เดียวกัน

PBL มีการพัฒนาขึ้นครัง้ แรกโดยคณะวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ ( Faculty of Health Sciences) ของ
มหาวิทยาลัย McMaster ที่ประเทศแคนาดา ได้ถูกนำมาใช้ในกระบวนการติว (tutorial process) ให้กับ
นักศึกษาแพทย์ฝึกหัด วิธีการดังกลา่ ว ต่อมาไดก้ ลายเป็นรูปแบบการเรียนรู้( Learning model) ที่ทำให้
มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกานำไปเป็นแบบอย่างในการจัดการเรียนรู้ โดยเริ่มจากปลายปี ค.ศ. 1950
มหาวทิ ยาลัย Case Western Reserve ได้นำมาใชเ้ ปน็ แห่งแรกและไดจ้ ัดตั้งห้องทดลอง พหุวิทยาการ (Multi-
disciplinary Laboratory) เพือ่ ทำเป็นห้องปฏบิ ตั กิ ารสำหรบั ทดลองรูปแบบการสอนใหม่ ๆ รปู แบบการสอน
ท่ีมหาวิทยาลยั Case Western Reserve พฒั นาขึน้ มาน้นั ไดก้ ลายมาเป็นพ้นื ฐานในการพฒั นาหลักสูตร ของ
โรงเรียนหลายแห่งในสหรฐั อเมรกิ า ทง้ั ในระดบั มธั ยมศกึ ษา ระดับอดุ มศกึ ษา และบัณฑิตวทิ ยาลยั

ในชว่ งปลายทศวรรษที่ 60 มหาวทิ ยาลัย McMaster ได้พฒั นาหลกั สตู รแพทย์ทใี่ ช้ PBL ในการสอน
เปน็ คร้ังแรก ทำใหม้ หาวทิ ยาลยั แห่งนีเ้ ป็นท่ยี อมรบั และร้จู ักกันทั่วโลกวา่ เปน็ ผู้นำทางดา้ น PBL (world class
leader) โรงเรียนแพทยท์ ี่มีชือ่ เสยี งอยา่ งเชน่ Harvard Medical School และ Michigan State University,
College of Human Medicine กไ็ ด้น ารูปแบบ PBL ไปใช้ จึงทำให้โรงเรยี นแพทย์ในมหาวทิ ยาลยั อืน่ ๆ ให้
การยอมรับรูปแบบ PBL ในการสอนมากข้นึ จนกระทัง่ กลางปี ค.ศ. 1980เทคนิคการสอนโดยใช้รปู แบบ PBL
ได้เรมิ่ ขยายออกไปส่กู ารสอนในสาขาอื่น ๆ เช่น วิศวกรรมศาสตรว์ ิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาศาสตร์
สังคมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์ เป็นต้น PBL จึงเป็นที่นิยมกันแพร่หลาย และมีการนำไปใช้สอนตาม
มหาวิทยาลยั ตา่ ง ๆ มากข้นึ ตัวอยา่ งมหาวทิ ยาลัยทีน่ ำ PBL ไปใชใ้ นการเรียนการสอน อาทิเช่น Harvard,
New Mexico, Bowman Gray, Boston, Illinois, Southern Illinois, Michigan State, Tufts, Mercer,
Southern Illinois, Stamford, Northwestern, Indiana and the University of Illinois, University of
Hawaii, University of Missouri – Columbia, University of Texas – Houston, University of California
– Irvine, University of Pittsburgh, University of Delaware, เปน็ ตน้

นอกจากมหาวทิ ยาลัยในสหรฐั อเมริกาแลว้ มหาวทิ ยาลัยของประเทศแทบทุกสว่ นของโลกก็ให้ความ
สนใจในการนำรูปแบบ PBL ไปใช้สอน เช่น มหาวิทยาลัย Maastricht ที่เนเธอร์แลนด์, มหาวิทยาลัย
Newcastle, Monash, Melbourne ที่ออสเตรเลีย, มหาวิทยาลัย Aalborg ที่เดนมาร์ค, มหาวิทยาลัยใน
ประเทศแคนาดา องั กฤษ ฝรงั่ เศส ฟนิ แลนดอ์ ัฟรกิ าใต้ สวีเดน ฮ่องกง สิงคโปร์ เปน็ ต้น ความนิยม PBL ในการ
สอนท่ีต่างประเทศน้นั สามารถเห็นได้ชดั เจนจากการเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยการเรียนร้ขู องมหาวทิ ยาลัยตา่ งๆ ที่ใช้
PBL ในการสอนเหมอื นกันทางอนิ เตอร์เน็ทและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) โดยมกี ารเผยแพร่ท้ังตำรา
เอกสาร และบทความจำนวนมาก มผี ลงานวิจยั ท่ีเผยแพร่เฉพาะสว่ นบทคดั ยอ่ และงานวจิ ยั ทัง้ ฉบับเป็น ร้อย
เรอ่ื ง โดยสว่ นใหญ่จะเป็นผลการวิจัยทางสาขาแพทย์มากทส่ี ุด มวี ารสารเฉพาะชื่อ The Journal of Clinical
Problem - based Learning มีการจัดตั้งศูนย์เพื่อการวิจัยและการเรียน การสอน ( The Center for
Problem-based Learning)

สำหรับในประเทศไทยนั้น ปัจจุบันการสอนโดยใช้รูปแบบ PBL ในการสอนท้ังระดับการศกึ ษา
ข้ันพน้ื ฐานและระดับอดุ มศึกษาเป็นท่ีนิยมกนั มากข้ึน มงี านวิจัยเพ่อื พัฒนาการเรยี นการสอน ที่เรียกว่าการวิจยั
ในชั้นเรียนที่ใช้ PBL มากมาย มหาวิทยาลัยหลายแห่งที่ส่งเสริมและได้ทดลองนำไปใช้แล้ว เช่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิด ล
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ รวมถึงมหาวทิ ยาลัยเอกชนหลายแหง่ โดยเฉพาะมหาวิทยาลยั เชยี งใหม่มีการ
พฒั นารูปแบบ PBL ในการสอนรว่ มกบั ผูส้ อนจากมหาวทิ ยาลัย Stanford และ Vanderbuilt สำหรับผเู้ ขียน
เองได้ทดลองใช้รูปแบบ PBL ในการสอนนักศกึ ษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่า ผ้เู รยี นมพี ัฒนาการทางความคิด อย่างหลากหลาย ส่งผลให้เ กิด
การเปลยี่ นแปลงทางพฤติกรรม เปน็ ท่ีพงึ ประสงคต์ ามหลักสูตรผลิตครูวทิ ยาศาสตร์

รปู แบบการเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem–based Learning: PBL)

จากการศกึ ษาผลงานวจิ ยั ด้านพัฒนาการเรียนสอนท่ีใช้ PBL ท้งั ในระดับการศึกษาขั้น พื้น ฐาน และ
ระดับอดุ มศึกษาทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ที่อาศัยลกั ษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบ PBL เป็น
กรอบในการออกแบบขั้นตอนการจดั การเรยี นรู้พบว่ามีการพัฒนารปู แบบการจดั การเรียนรู้ที่แตกตา่ งกันตา ม
ข้นั ตอนของกิจกรรมการเรยี นรู้ เริ่มจากรูปแบบพนื้ ฐานท่มี 7ี ขั้นตอนหลัก แลว้ มีการปรบั ขยายหรือเพ่ิมขนั้ ตอน
กจิ กรรมการเรียนรจู้ นมีถงึ 11 ขัน้ ตอน ในท่ีนข้ี อเสนอ 4 รูปแบบคอื แบบ 7, 9, 10 และ 11 ข้ันตอนเพื่อให้
ศึกษาความแตกตา่ งของแตล่ ะรูปแบบ จะได้เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกับระดับของผู้เรยี นและลักษณะเฉพาะของ
เน้ือหาวิชาทีจ่ ะจัดการเรียนร้ดู ้วย PBL

รปู แบบที่ 1 แบบ 7 ขนั้ ตอน
ลักษณะสำคัญของกิจกรรมการเรยี นรู้ในแตล่ ะขนั้ ตอนมดี ังน้ี
1. Clarifying unfamiliar terms
กลุ่มผเู้ รยี นทำความเขา้ ใจคำศัพท์ ข้อความที่ปรากฏอยู่ในปญั หาให้ชดั เจน โดยอาศยั ความรู้พื้นฐาน
ของสมาชกิ ในกลุ่มหรือการศกึ ษาค้นคว้าจากเอกสารตำราหรือสอ่ื อน่ื ๆ
2. Problem definition
กลุ่มผู้เรียนระบุปญั หาหรือข้อมูลสำคญั ร่วมกัน โดยทุกคนในกลุ่มเข้าใจปัญหา เหตุการณ์ หรือ
ปรากฏการณใ์ ดทก่ี ล่าวถงึ ในปัญหาน้ัน
3. Brainstorm
กลุ่มผู้เรยี นระดมสมองวิเคราะห์ปัญหาตา่ งๆ และหาเหตุผลมาอธิบาย โดยอาศัยควา มรู้เดิมของ
สมาชิกกล่มุ เป็นการช่วยกนั คิดอยา่ งมีเหตุมีผล สรุปรวบรวมความรแู้ ละแนวคดิ ของกลุ่มเกีย่ วกบั
กลไกการเกิดปญั หา เพ่ือน าไปส่กู ารสร้างสมมตฐิ านท่ีสมเหตุสมผลเพอ่ื ใชแ้ กป้ ญั หานน้ั
4. Analyzing the problem
กลมุ่ ผู้เรียนอธบิ ายและตัง้ สมมติฐานที่เช่ือมโยงกนั กบั ปัญหาตามท่ไี ดร้ ะดมสมองกัน แลว้ นำผลการ
วเิ คราะห์มาจัดลำดบั ความสำคัญ โดยใช้พื้นฐานความรเู้ ดมิ ของผ้เู รียน การแสดงความคิดอย่างมี
เหตุผล
5. Formulating learning issues
กลมุ่ ผู้เรียนกำหนดวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ เพ่อื ค้นหาข้อมลู ที่จะอธิบายผลการวิเคราะหท์ ี่ตงั้ ไว้ ผ้เู รียน
สามารถบอกได้วา่ ความรู้สว่ นใดรแู้ ล้ว สว่ นใดต้องกลับไปทบทวน สว่ นใดยังไมร่ หู้ รือจำ เป็น ต้องไป
คน้ คว้าเพ่ิมเติม
6. Self-study
ผู้เรยี นคน้ ควา้ รวบรวมสารสนเทศจากสอ่ื และแหล่งการเรยี นรตู้ า่ งๆ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้
ด้วยตนเอง (Self-directed learning)

7. Reporting
จากรายงานข้อมูลสารสนเทศใหม่ท่ีได้เข้ามา กลมุ่ ผ้เู รียนนำมาอภปิ ราย วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ตาม
วัตถปุ ระสงคท์ ่ตี ั้งไว้ แล้วน ามาสรุปเปน็ หลกั การและแนวทางเพ่อื นำไปใชโ้ อกาสต่อไป

การนำรูปแบบ 7 ขน้ั ตอนนี้ ไปใชบ้ างท่านเสนอแนะวา่ อาจจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ในแต่ละขั้นตอน
ตามลำดบั ข้ันทไี่ มซ่ ับซอ้ นก็ได้ ดงั นี้

1. เม่ือผ้เู รียนได้รับโจทยป์ ญั หา ผู้เรยี นจะทำความเขา้ ใจหรือทำความกระจ่างในคำศพั ทท์ ี่อยูใ่ นโจทย์
ปญั หานนั้ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจตรงกัน
2. การจบั ประเดน็ ขอ้ มูลทส่ี ำคัญหรอื ระบุปญั หาในโจทย์
3. ระดมสมองเพื่อวเิ คราะหป์ ัญหา อภิปรายหาคำอธบิ าย แต่ละประเดน็ ปญั หาวา่ เปน็ อยา่ งไร เกดิ ขึน้
ได้อยา่ งไร ความเป็นมาอยา่ งไร โดยอาศยั พ้นื ความรเู้ ดมิ เท่าทผ่ี ู้เรยี นมอี ยู่
4. ตงั้ สมมติฐานเพื่อหาคำตอบของปัญหาประเดน็ ต่างๆ พรอ้ มจดั ลำดบั ความสำคัญของสมมติฐานที่
เปน็ ไปไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล
5. จากสมมติฐานทตี่ ง้ั ขนึ้ ผ้เู รยี นจะประเมินวา่ เขามคี วามรู้เรื่องอะไรบา้ ง มเี รื่องอะไรทยี่ ังไมร่ ู้หรือยงั
ขาดความรู้อะไร และความรู้อะไรจำเปน็ ท่จี ะต้องใชเ้ พือ่ พสิ จู น์สมมตฐิ าน ซ่งึ เชอ่ื มโยงกับโจทย์ปัญหา
ที่ได้ขั้นตอนนี้กลุ่มจะกำหนดประเด็นการเรียนรู้ (learning issue) หรือวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้
(learning objective) เพือ่ จะไปคน้ คว้าหาข้อมลู ตอ่ ไป
6. ผเู้ รียนแต่ละคนค้นคว้าหาข้อมูลและศึกษาเพ่ิมเติมจากทรัพยากรการเรยี นรูต้ ่างๆ เช่น หนังสือ
ตำรา วารสาร สอ่ื การเรียนสอนตา่ งๆ การศกึ ษาในห้องปฏิบตั ิการ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน อินเทอร์เน็ต
หรือปรึกษาอาจารยผ์ ู้เชีย่ วชาญในเนื้อหาสาขาเฉพาะ เป็นต้น พร้อมท้งั ประเมนิ ความถกู ต้อง
7. นำข้อมูลหรอื ความร้ทู ไี่ ดม้ าสังเคราะหอ์ ธบิ าย พสิ จู น์สมมติฐานและประยกุ ตใ์ หเ้ หมาะสมกับโจทย์
ปญั หา พรอ้ มสรุปเป็นแนวคิดหรอื หลกั การทัว่ ไป

โดยทกี่ จิ กรรมการเรียนรู้ข้ันตอนท่ี 1-5 เปน็ ขนั้ ตอนที่ใชก้ ระบวนการกลุ่มในชน้ั เรียน ข้นั ตอนที่ 6 เปน็
กิจกรรมของผู้เรยี นรายบคุ คลนอกห้องเรยี น และขั้นตอนที่ 7 เปน็ กิจกรรมท่กี ลบั มาในกระบวนกลุม่ ในชัน้ เรียน
อกี ครงั้

รูปแบบที่ 2 แบบ 9 ข้ันตอน
ลกั ษณะสำคญั ของกิจกรรมการเรยี นรู้ในแตล่ ะขน้ั ตอนมีดงั น้ี
1. อ่านสถานการณ์โดยละเอียดทำความเข้าใจกบั คำ และความหมายของคำในสถานการณ์ โดยอาศัย
ความรูพ้ ้ืนฐานของสมาชกิ ภายในกลุ่ม หรอื เอกสาร ตำรา
2. นิยามปญั หา หรอื ระบสุ ถานการณ์ โดยแสวงหาความคิดเหน็ แบบระดมสมองอย่างมีเหตุ ผล และ
วจิ ารณญาณ

3. วิเคราะหป์ ญั หา หรอื สถานการณ์ โดยแสวงหาความคิดเหน็ แบบระดมสมองอยา่ งมีเหตผุ ล และ
วจิ ารณญาณ
4. ตัง้ สมมติฐาน โดยพยายามตง้ั สมมติฐานให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะมากได้
5. จัดลำดับความสำคญั ของสมมติฐาน พจิ ารณาข้อยตุ ิสำหรบั สมมตฐิ านท่ีปฏเิ สธได้
6. กำหนดวัตถปุ ระสงคใ์ นการเรียนรจู้ ากสมมตฐิ าน ทีไ่ ดเ้ ลือกไวพ้ จิ ารณาวา่ ต้องหาความรู้เรื่อง
อะไรบา้ ง
7. ศึกษาค้นคว้าหาความร้เู พมิ่ เตมิ จากภายนอกกลมุ่ เชน่ เอกสาร ตำรา ผเู้ ช่ยี วชาญ
8. สังเคราะห์คน้ ควา้ หาความรู้เพ่มิ เติมจากภายนอกกลุ่ม เช่น เอกสาร ตำรา ผู้เชยี่ วชาญ
9. สรุปการเรยี นรูห้ ลกั การและแนวคิดจากการแก้ปญั หาโดยนำความรู้มาเสนอตอ่ สมาชิก

รปู แบบที่ 3 แบบ 10 ข้ันตอน
ลักษณะสำคญั ของกิจกรรมการเรยี นรูใ้ นแต่ละขนั้ ตอนมีดังนี้
1. ผ้เู รยี นเผชิญปญั หาที่คลมุ เครอื
2. ผเู้ รยี นถามคำถามในสง่ิ ท่สี นใจจากสถานการณ์ - โดยใช้ IPF question

ตวั อยา่ ง การใช้ IPF question ในการเรยี นรู้เรอ่ื ง เซลมะเร็ง
I – Interesting question เช่น

มีอะไรพิเศษในเซลล์ท่ีเปน็ สาเหตุให้เชลล์เปลี่ยนไป
ทำไมเซลลจ์ งึ ถูกกำหนดใหต้ าย
กลไกที่ใช้เพ่อื ซอ่ มแซมสว่ นทีเ่ สยี หายเปน็ อยา่ งไร
P- Puzzling question เช่น
อะไรเป็นสาเหตใุ ห้เซลลต์ าย
อะไรเปน็ สาเหตุใหม้ ีความเสย่ี งต่อการเป็นมะเรง็ มากกวา่ ผู้อน่ื
F- Important answers to find เชน่
องค์ประกอบที่ส่งเสรมิ ตอ่ การซอ่ มแซมเซลลท์ เ่ี สยี หายคืออะไร
เราสามารถนำผลการวิจัยมาดูแลสขุ ภาพอย่างไร
ในการป้องกนั โรคมะเร็งเราจะต้องควบคุมที่อะไร
3. การดำเนนิ การค้นหา – เรม่ิ จากคำถาม IPF
บทบาทครู- แนะนำวิธีการคน้ ปัญหา เช่น การเขียนปัญหา การใชค้ ำถาม “ทำไม” การเขยี น
แผนผงั การเชื่อมโยงสถานการณต์ ่างๆ
4. เขยี นแผนผังการค้นปัญหา และจดั ลำดบั ความสำคัญ
บทบาทครู- แนะนำ อำนวยความสะดวก (แต่ไม่ตัดสินใจให)้

5. การสำรวจปัญหา/สืบเสาะ – เพ่อื ชว่ ยกำหนดกลยุทธข์ องกลุ่ม
บทบาทครู – ครจู ะวางระบบแผนงานโดยรวมอย่างไร สมาชิกแต่ละคนในกล่มุ จะรับผิดชอบ
อะไรบ้าง
บทบาทครู ใชค้ ำถามแนะนำการสืบเสาะ
ตามทกี่ ลมุ่ ได้ตดั สนิ ใจใชว้ ธิ ีสมั ภาษณ์ คณุ จะสมั ภาษณใ์ คร
คณุ จะพบผใู้ ห้สัมภาษณ์ได้อย่างไร
ต้องการขอ้ มูลใดจากผู้ทใี่ หส้ มั ภาษณ์
คณุ จะบันทึกอะไร

6. การวิเคราะห์ – ผู้เรยี นรับผิดชอบต่อการวิเคราะหผ์ ล
บทบาทครู
1. ใช้คำถามแนะนำ เช่น
การเปรยี บเทียบผลการสัมภาษณ์จะมีประโยชน์หรอื ไม่
คุณจะแสดงผลการเปรยี บเทียบอยา่ งไร
2. แนะนำวธิ กี ารวเิ คราะหข์ อ้ มูล

7. การเรียนรูซ้ ้ำ – เสนอสิ่งทไี่ ด้เรียนรู้ตอ่ กัน เกดิ ความเขา้ ใจใหม่และนำไปใช้แก้ปัญหาและนิยาม
ปัญหา ถา้ ไมช่ ัดเจนไปเรียนรู้เพม่ิ

บทบาทครู – การใชค้ ำถามใหค้ ิดใคร่คราญ เชน่
ผลลพั ธท์ จ่ี ะชว่ ยให้คณุ เข้าใจปญั หาทคี่ ุณสำรวจอย่างไร
ถา้ คุณไปสำรวจใหม่อีกครั้ง คณุ จะทำอะไรที่แตกต่างจากเดมิ ด้วยเหตผุ ลใด
8. การสร้างแนวคำตอบและข้อแนะนำ – สรา้ งความรู้จากผลลัพธ์ท่ีได้
บทบาทครู แนะนำวิธกี ารสรา้ งความรู้
ใช้คำถาม “อยา่ งไร” ทกุ คร้ังท่ีผู้เรยี นเสนอแนวคำตอบ
แนะนำให้เสนอความรู้แบบตา่ งๆ เช่น การเชื่อมโยง โมเดล อุปมาอปุ มัย แผนผังความคิด
9. สือ่ ความหมายผลลัพธ์ท่ีได้
บทบาทครู
เรื่องทค่ี ้นพบได้จากไหน
ได้ขอ้ สรปุ อะไรบ้าง
ใครไดร้ ับประโยชน์จากเรอ่ื งนี้ และได้อะไร
10. การประเมินผล-โดยครู ผเู้ รียน และเพ่ือน
บทบาทครู
การประเมินปฏิบัติการ โดยประเมินการใช้ข้อมูลร่วมกัน การคน้ หาและนยิ ามปญั หา การ
ไดม้ าซ่ึงความรู้ การนำตนเอง ทกั ษะการเรียนแบบร่วมมอื และการแกป้ ญั หา

ใช้การประเมินตามสภาพจริง โดยสร้างเกณฑ์การประเมิน ( Rubric Scoring) เพื่อการ
ประเมนิ การอภปิ ราย การเขยี นอนทุ นิ บนั ทกึ การทดลอง การใหค้ ะแนนตนเอง และการสัมภาษณ์

รูปแบบที่ 4 แบบ 11 ขน้ั ตอน
ลกั ษณะสำคญั ของกจิ กรรมการเรยี นรู้ในแตล่ ะขัน้ ตอนมีดังน้ี
1. จัดกลุ่มแนะนำสมาชิก
2. กำหนดวัตถปุ ระสงค์
3. ศกึ ษาปญั หาทีไ่ ด้รบั ขยายรายละเอียดของปัญหา
4. กำหนดประเด็น ประเด็นในการเรียนรู้
5. กำหนดวัตถปุ ระสงคข์ องแผนดำเนินการ
6. ทำความตกลงกันในเร่อื งของ ข้อมูลท่จี ะต้องศึกษา
7. กำหนดแหลง่ เรียนรู้
8. รวบรวมความรูท้ ่ีไดม้ าจากการคน้ คว้าสรา้ งการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
9. ทำความเข้าใจซ้ำอีกกับความรู้ท่ไี ด้รบั ใหม่
10. เลือกวธิ ใี นการแกป้ ญั หา/ น าเสนอวธิ กี ารแกป้ ัญหา
11. การประเมินผล

กระบวนการและข้นั ตอนในการจัดการเรียนรู้แบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน

สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550, 8) ไดแ้ บง่ ข้นั ตอนการจดั การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานไว้

1.เชอ่ื มโยงปัญหาและระบปุ ญั หา เป็นขน้ั ท่คี รจู ะนำเสนอสถานการณ์ปญั หาเพื่อกระตุ้นให้นักเรียน
เกดิ ความสนใจ และมองเหน็ ปัญหา สามารถระบสุ งิ่ ท่เี ป็นปญั หาที่นักเรยี นอยากรู้ อยากเรยี น และเกดิ ความ
สนใจที่จะคน้ หาคำตอบ

2. กำหนดแนวทางที่เป็นไปได้ นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ วางแผนการศึกษา ค้นควา้ ทำความเขา้ ใจ อภปิ ราย
ปัญหากันภายในกล่มุ ระดมสมองคดิ วเิ คราะห์เพ่ือหาวธิ ีการหาคำตอบ ครคู อยช่วยเหลอื กระตุ้นให้เกิดการ
อภปิ รายภายในกลมุ่ ให้นกั เรียนเขา้ ใจวิเคราะห์ปญั หาแหล่งขอ้ มูล

3. ดำเนนิ การศึกษาคน้ คว้า นกั เรียนดำเนินการศกึ ษาคน้ คว้าหาขอ้ มูลดว้ ยตนเอง และด้วยวิธีการที่
หลากหลาย

4. สงั เคราะหค์ วามรู้ นกั เรียนนำขอ้ คน้ พบ ความร้ทู ไ่ี ดค้ ้นคว้ามาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้รว่ มกนั นำมา
อภปิ รายผลและสังเคราะห์ความรู้ทไี่ ดม้ าว่ามคี วามเหมาะสมหรอื ไม่เพียงใด

5. สรุปและประเมินค่าของคำตอบ นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสรปุ ผลงานของกลุ่มตนเอง และประเมินผลงาน
วา่ ขอ้ มลู ทีศ่ ึกษาค้นควา้ มาน้ันมคี วามเหมาะสมหรือไมเ่ พียงใด โดยพยายามตรวจสอบแนวคดิ ภายในกลมุ่ ของ
ตนเองอย่างอิสระ และทุกกลุ่มช่วยกนั สรุปองค์ความรู้ในภาพรวมของปญั หาอีกคร้ัง

6.นำเสนอและประเมินผลงาน นักเรียนนำขอ้ มลู ท่ีได้มาจัดระบบองค์ความรู้และนำเสนอเปน็ ผลงานใน
รูปแบบทหี่ ลากหลาย ครปู ระเมินผลการเรียนร้แู ละทักษะกระบวนการ

ประโยชน์และขอ้ จำกัดของการสอนโดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน

ประโยชน์ของการสอนโดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน

1. ไดค้ วามรูท้ ี่สอดคล้องกบั บริบทจรงิ และสามารถนำไปใชไ้ ด้
2. พัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากย์ (Critical Thinking) การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
การคิดอย่างเปน็ เหตเุ ป็นผล (Rational Thinking) การคิดสงั เคราะห์ (Synthetic Thinking) การคิดสรา้ งสรรค์
(Creative Thinking) และนำไปสูก่ ารคดิ แกป้ ญั หา (Problem Solving Thinking) ท่ีมปี ระสิทธผิ ล
3. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดว้ ยตัวเองอยา่ งต่อเนื่อง นำไปสู่การเรียนรูต้ ลอดชีวิต (Life-long
learning) ซ่งึ เปน็ คุณลักษณะทสี่ ำคญั ของบุคคลในศตวรรษท่ี 21
4. ผู้เรียนสามารถทำงานและส่ือสารกับผอู้ น่ื ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. เป็นการสร้างแรงจงู ใจในการเรียนรู้ใหแ้ ก่ผู้เรียน
6. ความคงอยู่ (retention) ของความรู้จะนานขนึ้

การเรยี นรู้โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานจะสอดคล้องกับแนวคิดการเรียนรแู้ บบผูใ้ หญ่ (adult learning)
ซึ่งผเู้ รยี นจะกำหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรูข้ องตนเอง เรียนรเู้ มื่อสิ่งน้ันมีความหมายหรอื นำไปใช้ได้ (เน่ือง
จากโจทย์ปญั หาจะถูกใช้เป็นบรบิ ทของการเรียนรู)้ เรียนรูใ้ นสิ่งท่ีจำเป็นสำหรบั ใช้แกป้ ัญหามากกว่าจ ะเรียน
เพื่อท่องจำ เรียนรู้ตามความถนัดและศักยภาพของตนเอง และสามารถประเมินตนเองเก่ียวกับกระบวน การ
เรียนร้แู ละสง่ิ ทีเ่ รยี นรไู้ ด้

การเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐานยังเป็นการตอบสนองตอ่ แนวคิด constructivism โดยให้ผู้เรียน
วเิ คราะหห์ รอื ตัง้ คำถามจากโจทย์ปัญหา ผา่ นกระบวนการคิดและสะทอ้ นกลับ เน้นปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งผูเ้ รยี น
ในกล่มุ เนน้ active learning และ collaborative learning นำไปส่กู ารค้นควา้ หาคำตอบหรือสรา้ งความรู้
ใหมบ่ นฐานความรู้เดิมทีผ่ ู้เรียนมีมาก่อนหน้านี้นอกจากนี้การเรยี น รโู้ ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานยังเป็น การ สร้าง
เงอ่ื นไขสำคัญทส่ี ง่ เสรมิ การเรียนรู้ไดแ้ ก่ (1) activation of prior knowledge การเรยี นร้สู ่งิ ใหมจ่ ะได้ผลดีขึ้น
ถ้าได้มีการเชื่อมโยงหรือกระตุ้นความรู้เดิมท่ีผูเ้ รยี นมีอยู่ ( 2) encoding specificity การเรียนรูเ้ น้อื หาที่
ใกลเ้ คยี งสถานการณจ์ ริงหรอื มปี ระสบการณ์ตรง (จากโจทย์ปัญหา) จะทำใหผ้ ้เู รียนเรียนรู้ไดด้ ีขึ้น และ (3)
elaboration of knowledge เนื่องจากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นการเรียนกลุม่ ย่อย การได้
แสดงออก แสดงความคิดเห็นหรอื อภิปรายถกเถยี งกันจะทำให้ผู้เรยี นเข้าใจและเรยี นรสู้ ิ่งนัน้ ได้ดขี น้ึ

ขอ้ ดีของการสอนโดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน
จากงานวิจยั หลายชิน้ พบวา่ การเรยี นรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐานมีจุดเด่นที่สำคญั คอื ผเู้ รียนจะมที กั ษะใน

การต้งั สมมตฐิ านและการให้เหตุผลดีขึ้นสามารถพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง การทำงานเป็นกลุ่มและ
ส่อื สารกบั ผู้อ่นื ได้ดีขน้ึ และมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ขน้ึ ความคงอยขู่ องความรู้นานกว่าการเรียน แบบบรร ยาย

นอกจากนนั้ บรรยากาศการเรียนร้มู ีชวี ติ ชวี า สรา้ งแรงจงู ใจใหผ้ ูเ้ รยี นอยากเรยี นรู้มากขน้ึ และยังส่งเสริมความ
ร่วมมือและการทำงานรว่ มกันระหวา่ งภาควิชาหรอื หนว่ ยงาน

ข้อจำกดั ของการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
ขอ้ จำกัดของการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน ซง่ึ ยังเปน็ ประเด็นทถี่ กเถยี งกนั ไดแ้ ก่ครูมีความกังวลว่า

ผ้เู รยี นจะมคี วามร้นู อ้ ยลง ความรูท้ ่ีไดร้ บั จะไม่เป็นระบบ ความถกู ต้องของเนอ้ื หาหรอื ขอ้ มูลทผี่ ู้เรยี นไปค้นคว้า
ศึกษามา ตลอดจนครูต้องมีทักษะทีห่ ลากหลายมากกว่าการสอนแบบบรรยาย ในสว่ นของผูเ้ รียน จะกังวล
เก่ียวกับความถูกต้องของเนอ้ื หา ไมม่ น่ั ใจว่าสิง่ ทตี่ นเองไปเรียนรู้มาถูกตอ้ งหรือไม่ขอบเขตของการเรียนรู้ต้อง
เรียนรมู้ ากน้อยเพยี งไร รวมถึงความแตกตา่ งกนั ของครหู รือผู้สอนประจำกลุ่ม นอกจากนีอ้ าจยังมีข้อจำ กัด
เกีย่ วกับงบประมาณหรือสิ่งสนับสนนุ ท่ีใช้ จำนวนครูการบริหารจัดการ ซึง่ ต้องมีการประสานงานและร่วมมื อ
กันอยา่ งดีระหว่างภาควชิ า และเวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน

ดงั นนั้ สามารถสรุปถึงข้อดีของการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ว่าเปน็ การช่วยเพ่ิม แรงจูงใจในการ
เรยี น และพัฒนาทกั ษะการคน้ คว้าความรูไ้ ด้ด้วยตนเอง ช่วยฝึกทักษะในการแกป้ ัญหา กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด
การประยุกต์ใชค้ วามรู้จากสิ่งท่ีเรียนรนู้ ำมาใชใ้ นการแกป้ ัญหา ทำให้ผเู้ รียน แสดงออกทางความคิด การใช้
เหตผุ ล การวิเคราะห์ และการยอมรบั ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืนโดยใช้ กระบวนการกลมุ่ มกี ารทำงานร่วมกันเป็น
ทีม แต่การเรียนแบบใชป้ ัญหาน้ันยังมีข้อจำกัดเก่ียวกับ ความสำเรจ็ ในการเรียนรู้ ขน้ึ อยกู่ ับการฝึกฝนของ
ผ้เู รยี น อาจไมก่ ระตุ้นความคดิ ความสนใจของ ผเู้ รยี นท่ไี มม่ ีความกระตือรอื รน้ หรือผูเ้ รียนที่ไมช่ อบการค้นว้า
ด้วยตนเอง ดังนัน้ ครูผู้สอนจึงจำเป็นที่ จะตอ้ งมีการวางแผนการจัดการเรียนการสอน เตรยี มสือ่ อุปกรณ์การ
เรียนการสอน ใหร้ อบคอบดว้ ย ซึง่ ไมส่ ามารถใชไ้ ด้กบั ทุกวิชา คุณภาพของโจทย์ปัญหาเป็นสง่ิ สำคัญควบคู่กับ
คณุ ภาพของครูและผู้เรียน โดยผ้เู รียนต้องมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อการเรียนร้ขู องตนเองด้วย

ลกั ษณะสำคญั ของการเรียนร้แู บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน

รปู แบบของการจัดการเรยี นรแู้ บบการใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน มลี กั ษณะสำคัญดงั นี้
1. ให้ผเู้ รยี นเป็นศนู ย์กลางของการเรยี นรอู้ ย่างแทจ้ ริง (student-centered learning)
2. จดั ผู้เรียนเป็นกลุ่มยอ่ ย ๆ ใหม้ ีจำนวนกลุ่มละประมาณ 5–8 คน
3. ผสู้ อนทำหนา้ ที่ เป็นผอู้ ำนวยความสะดวก (facilitator) หรอื ผ้ใู ห้คำแนะน า (guide)
4. ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตนุ้ (สิง่ เรา้ ) ให้เกดิ การเรยี นรู้
5. ลักษณะของปัญหาที่นำมาใช้ ต้องมีลักษณะคลุมเครือ ไม่ชัดเจน มีวิธีแกไ้ ขปญั หาได้อยา่ ง

หลากหลาย อาจมีคำตอบไดห้ ลายคำตอบ
6. ผ้เู รยี นเป็นผ้แู กป้ ัญหาโดยการแสวงหาขอ้ มลู ใหม่ ๆ ด้วยตนเอง (self-directed learning)
7.การประเมินผล ใช้การประเมินผลจากสถานการ ณ์จริง ( authentic assessment) ดูจาก

ความสามารถในการปฏิบตั ิของผเู้ รียนในขณะทำกจิ กรรมการเรียนรู้ (Learning process) และพิจารณาจาก
ผลงานท่ีเกิดขนึ้ จากการเรียนรู้ (Learning product)

สรปุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน

การเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นวิธกี ารเรยี นท่เี ร่ิมต้นจากปัญหาทเี่ กิดข้ึนจรงิ หรือสถาน การ ณ์
ปัญหาทเ่ี กี่ยวข้องกับชวี ิตจริง ซ่งึ จะเปน็ ตวั กระตุน้ ให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้ ซึง่ อย่บู นพ้ืนฐานความต้องการ
ของผู้เรยี นและได้ทำการศกึ ษาคน้ คว้าจนคน้ พบคำตอบด้วยตนเอง โดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ แลว้ นำความรทู้ ่ีได้
ไปคน้ ควา้ มารว่ มกนั อภปิ ราย ทำใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิด การแกป้ ญั หา โดยครผู สู้ อนเป็น
เพยี งผู้ใหค้ ำแนะนำ ชว่ ยเหลือและสนับสนนุ ในการเรียน ซ่งึ มีข้นั ตอนการจดั การเรียนรู้ 6 ขั้นตอน ดังน้ี

1.เช่ือมโยงปัญหาและระบุปัญหา เป็นขั้นท่ีครูจะนำเสนอสถานการณป์ ัญหาเพอื่ กระตนุ้ ให้นักเรียน
เกดิ ความสนใจ และมองเหน็ ปัญหา สามารถระบสุ งิ่ ท่ีเปน็ ปัญหาทีน่ ักเรียนอยากรู้ อยากเรยี น และเกิดความ
สนใจทจี่ ะค้นหาคำตอบ

2. กำหนดแนวทางทเ่ี ป็นไปได้ นักเรียนแต่ละกลมุ่ วางแผนการศึกษา คน้ คว้า ทำความเขา้ ใจ อภิปราย
ปัญหากนั ภายในกล่มุ ระดมสมองคดิ วเิ คราะห์เพื่อหาวิธกี ารหาคำตอบ ครูคอยชว่ ยเหลอื กระตุ้นให้เกิดการ
อภิปรายภายในกลุม่ ให้นกั เรียนเข้าใจวิเคราะหป์ ัญหาแหลง่ ข้อมูล

3. ดำเนนิ การศึกษาค้นควา้ นักเรยี นดำเนนิ การศึกษาค้นควา้ หาข้อมูลด้วยตนเอง และด้วยวิธีการที่
หลากหลาย

4. สังเคราะห์ความรู้ นกั เรยี นนำขอ้ คน้ พบ ความรู้ที่ได้คน้ คว้ามาแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน นำมา
อภปิ รายผลและสังเคราะห์ความร้ทู ไ่ี ดม้ าวา่ มีความเหมาะสมหรอื ไม่เพยี งใด

5. สรปุ และประเมินค่าของคำตอบ นักเรียนแต่ละกลมุ่ สรุปผลงานของกลุ่มตนเอง และประเมนิ ผลงาน
ว่าข้อมลู ทศ่ี ึกษาค้นคว้ามาน้นั มีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยพยายามตรวจสอบแนวคิดภายใน กลุ่มของ
ตนเองอยา่ งอสิ ระ และทุกกลุ่มชว่ ยกันสรุปองค์ความรู้ในภาพรวมของปัญหาอีกครั้ง

6.นำเสนอและประเมินผลงาน นักเรยี นนำขอ้ มลู ทีไ่ ดม้ าจดั ระบบองค์ความรู้และนำเสนอเปน็ ผลงานใน
รปู แบบท่หี ลากหลาย ครปู ระเมินผลการเรยี นรแู้ ละทักษะกระบวนการ

ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน

แผนการจัดการเรยี นรู้ โดยใช้ปญั หาเป็นฐาน รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว 21102
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่1
เรอ่ื ง การเคลื่อนท่ีของวตั ถุ เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การบอกตำแหน่งของวตั ถใุ ด ๆ ต้องบอกระยะหา่ งและทศิ ทางของตำแหนง่ น้ันเทยี บกับ

จดุ อา้ งอิง โดยจดุ อ้างองิ ควรเป็นจุดท่อี ยู่น่ิง เป็นจุดที่ใกล้วัตถนุ ้ัน และสงั เกตได้ชดั เจน

2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ 4 แรงและการเคล่ือนที่
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้าแรงโน้มถ่วงและแรงนิวเคลยี ร์มีกระบวน การ

สบื เสาะหาความรสู้ อื่ สารสิ่งท่เี รียนรู้และนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถกู ต้องและมคี ณุ ธรรม

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K)
1) อธิบายตำแหน่งของส่ิงต่าง ๆ ในห้องเรียนได้
2) บอกความหมายของจุดอ้างอิงได้
3) อธิบายวิธกี ารระบตุ ำแหน่งของวัตถไุ ด้
4) ระบุตำแหน่งท่ีน่ังในห้องเรยี นเก่ยี วกับจุดอ้างอิงได้
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
1) การกำหนดปญั หา
2) การทำความเข้าใจปัญหา
3) การดำเนินการศึกษาคน้ ควา้
4) การสังเคราะหค์ วามรู้
5) การสรปุ และประเมินคา่ ของคำตอบ
6) การนำเสนอและประเมนิ ผลงาน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A)
1) ซอื่ สตั ย์สจุ ริต
2) มวี ินยั
3) ใฝ่ หาความรู้

4) มุ่งม่ันในการทำงาน

4. สาระการเรยี นรู้
จุดอา้ งองิ หมายถึง จดุ ทีใ่ ช้เปรียบเทียบว่าวตั ถุนั้นอยู่ที่ใด โดยท่ัว ไปจะเลอื กใช้จดุ อ้างองิ ท่ี

อยู่ใกล้ตวั และสงั เกตได้ง่ายอาจเปน็ สิง่ ทม่ี ีอยู่ตามธรรมชาติหรือส่ิงท่มี นุษย์สร้างขึ้นกไ็ ด้

5. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
5.1 ขน้ั กำหนดปญั หา
1) ครูพูดคยุ และซักถามนักเรยี นเก่ียวกับ การบอกตำแหน่งของตนเองเมือ่ ต้องการนัดหมาย

กับเพ่ือน โดยครูอาจใช้คำ ถามต่อไปนี้
- เมอื่ นักเรียนนัดหมายกับเพอื่ น ๆ นักเรียนอธิบายจดุ นัดพบให้เพ่ือน ๆ ฟังอย่างไร
- นักเรียนใชว้ ิธีการใดบ้างเมื่อตอ้ งการอธิบายจุดนัดพบให้เพือ่ น ๆ ฟัง
2) นักเรียนชว่ ยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการบอกตำแหน่งของตนเอง
3) ให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ5คน
4) ครูใช้คำถามเพือ่ ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ ดังนี้
- ปัญหาของนักเรยี นคืออะไร (แนวตอบ การระบุตำแหน่งของวัตถุสามารถระบุได้อย่างไร)
- นักเรยี นคดิ ว่าการบอกตำแหนง่ ที่น่ังของตนเองในห้องเรยี น ต้องระบุข้อมลู ใดบา้ ง (แนว

ตอบ ระยะหา่ งและทิศทางของตำแหน่งท่ีน่ังเทียบกับจดุ อ้างอิง)
5.2 ขน้ั ทำความเขา้ ใจกบั ปญั หา
5) นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันอภปิ รายประเดน็ ปัญหาที่ตั้งขึ้นว่ามปี ระเด็นใดบ้างทน่ี ่าสนใจ

และจะหาคำตอบได้จากทใ่ี ดโดยวิธีการใด
6) นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันวางแผนการดำเนินการศึกษาค้นคว้าตามประเด็นปัญหาท่ีครู

ต้ังขึน้ และประเดน็ ปญั หาอ่ืน ๆ ที่ต้องการศึกษา
5.3 ขนั้ การดำเนนิ การศกึ ษาคน้ คว้า
7) ตัวแทนกลุ่มออกมารับใบความรูท้ ่1ี เรื่อง การบอกตำแหนง่ ของวัตถุ
8) ดำเนินการศึกษาค้นคว้าตามประเด็นที่ต้องการเชน่ จดุ อ้างองิ การบอกตำแหน่งของวัตถุ

วธิ กี ารต่าง ๆ รวมถงึ ประเด็นอ่นื ๆ ท่ีนักเรยี นต้องการศึกษาจากใบความรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง การบอกตำแหน่งของวัตถุ
9) นกั เรยี นบันทกึ ข้อมลู และผลการดำเนินการศึกษาค้นควา้ ลงแบบบนั ทึกขอ้ มูลการศึกษา

ค้นควา้

5.4 ข้ันสงั เคราะห์ความรู้
10) นักเรยี นแตล่ ะคนนำข้อมูลทไ่ี ด้จากการศกึ ษาค้นควา้ มาแลกเปลยี่ นเรยี นร้กู ัน ในกลุ่ม
11) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันคดิ พิจารณาต่อไปว่าความรู้ที่ได้มามีความถูกต้อง สมบูรณ์

และครบถ้วนตามประเด็นที่ต้องการศึกษาแล้วหรือยังถ้าขอ้ มูลยังไม่เพียงพอให้รว่ มกันอภิปรายและศกึ ษา
ค้นคว้าเพม่ิ เตมิ

12) เมื่อได้ขอ้ มูลทีเ่ พียงพอแลว้ ให้นักเรยี นทำ ใบกิจกรรมที่ 2/1 เร่อื ง เด็กชายเมฆอยู่ทไี่ หน
และใบกจิ กรรมที่ 2/2 เรื่อง ระบุจดุ อ้างอิงและระบุตำแหน่ง

5.5 ขั้นสรปุ และประเมินค่าของคำตอบ
13) นักเรียนทกุ กลุ่มร่วมกันนำเสนอข้อมลู ท่ีสังเคราะห์ได้และร่วมกันอภิปรายว่าข้อมูล

ของแต่ละกลมุ่ ที่ได้ศึกษาคน้ ควา้ มาครบถ้วน ถกู ตอ้ ง สมบรู ณ์หรอื ไม่โดยครูผู้สอนช่วยตรวจสอบและแนะนำ
เพิม่ เติม

14) นักเรียนทกุ กลมุ่ ช่วยกันสรุปองค์ความรูใ้ นภาพรวมของปัญหาอีกคร้ัง
5.6 ข้นั นำเสนอและประเมนิ ผลงาน

15) ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบการสรุปผลการดำเนินการศึกษาค้นควา้ ของกลุ่ม
เพื่อนำเสนอหน้าชนั้ เรียนตามรปู แบบท่ีนักเรียนสนใจ

16) ให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ ส่งตัวแทนกลมุ่ ออกมานา เสนอผลการดำเนินการศกึ ษาคน้ ควา้
หน้าชนั้ เรยี น

17) นักเรียนร่วมกันประเมินทั้งงานของกลมุ่ ตนเองและของเพื่อน

6. สอื่ /อุปกรณ/์ แหล่งเรียนรู้
6.1 ใบความรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การบอกตำแหน่งของวัตถุ
6.2 ใบกิจกรรมที่ 2/1 เร่ือง เด็กชายเมฆอยู่ทไี่ หน
6.3 ใบกิจกรรมที่ 2/2 เรอ่ื ง ระบุอ้างองิ และระบตุ ำแหนง่
6.4 แบบทดสอบ เรอ่ื ง การบอกตำแหนง่ ของวัตถุ

7. การวดั และประเมินผล

สิ่งทวี่ ดั วิธีการวดั เครื่องมอื เกณฑ์การวดั
ดา้ นความรู้ แบบทดสอบ แบบทดสอบ เรอ่ื ง การ ผา่ นรอ้ ยละ 70
บอกตำแหนง่ ของวัตถุ
ด้านทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรม ผา่ นระดบั 2 ข้นึ ไป
ประเมินทักษะ แบบประเมนิ ทักษะ
ดา้ นคุณลักษณะอนั พึง กระบวนการ กระบวนการ
ประสงค์ สงั เกตพฤตกิ รรม
แบบประเมิน ผา่ นระดับ 2 ขึ้นไป
คณุ ลักษณะอนั พึง

ประสงค์

8. บนั ทกึ ผลหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ผลการเรยี นร้ทู ่เี กดิ ข้ึนกับผู้เรยี น

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
.......................................................................................................................................................... ....................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา ว 21102 วทิ ยาศาสตร์ 2 เรอื่ ง การเคล่อื นท่ีของวัตถุ

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

คำช้แี จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด  ลงใน

ช่องทต่ี รงกับระดับคะแนน

เลขท่ี ชอื่ – สกุล รายการประเมิน รวม ผลการประเมนิ

การกำหนด ัปญหา คะแนน ผ่าน ไมผ่ ่าน
การทำความเข้าใจ ัปญหา
ดำเ ินนการศึกษาค้นค ้วา
การสังเคราะ ์หความ ู้ร
การส ุรปและประเมินคำตอบ
การนำเสนอและประเมินผล

ลงชือ่ .....................................................ผู้ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน :

- พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ชิ ดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติชดั เจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน

- พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเรียน

ชุดกจกิ รรมการเรยี นรู้โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานกลุ่ม สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

รายวิชา ว 21102 วิทยาศาสตร์ 2 เรอื่ ง การเคล่อื นทข่ี องวัตถุ

ชั้นมัธยมศกึ ษาปี ที่ 1

ชื่อ....................................นามสกุล............................................................เลขท่ี.............................

คำช้ีแจง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี  ลงในช่องท่ี

ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน

อันพึงประสงค์ 321

1. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ 1.1 ปฏิบัตติ ามระเบยี บการสอน และไมล่ อกการบ้าน

1.2 ประพฤติปฏบิ ัตติ รงตอ่ ความเปน็ จริงตอ่ ตนเอง

1.3 ประพฤตปิ ฏิบัตติ รงต่อความเป็นจรงิ ตอ่ ผู้อื่น

2. มีวนิ ัย 2.1 เข้าเรยี นตรงเวลา

2.2 แตง่ กายเรียบรอ้ ยเหมาะสมกับกาลเทศะ

2.3 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของหอ้ ง

3. ใฝห่ าความรู้ 3.1 แสวงหาข้อมลู จากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ

3.2 มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ

3.3 สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

4. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 4.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทา งานท่ไี ด้รบั มอบหมาย

4.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ตอ่ อปุ สรรคเพือ่ ให้งานสำเร็จ

ลงชือ่ ......................................................................ผู้ประเมนิ

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 3 คะแนน
- พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
- พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัติชัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ 1 คะแนน
- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัติบางคร้ัง ให้

ใบความรู้ที่ 2
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุ

การจะบอกว่าวัตถุอยู่ทใ่ี ด เหมอื นการบอกเพื่อนบ้านว่า โรงเรยี นที่นักเรยี นเรยี นต้ังอยู่ทใ่ี ดเชน่ กัน
หมายความว่า จะต้องบอกบรเิ วณหรอื สถานทีท่ ่ีอยู่ใกลเ้ คียงกับโรงเรียน ใหเ้ พ่อื นบา้ นเขา้ ใจน่ันเอง แต่เมอื่ บอก
แล้วเพ่ือนยังไมเ่ ข้าใจหรือไปโรงเรียนของนักเรียนไม่ถูกนักเรยี นคงต้องเขียนแผนท่ี เร่มิ จากบ้านไปโรงเรยี น
โดยออกจากบ้านผ่านถนนใดบ้าง ตรงไปหรอื เลยี้ วซ้ายหรอื เลี้ยวขวาจนกว่า จะไปใกล้ถึงโรงเรียนมีอะไรเป็นท่ี
สงั เกตบ้าง

รูปท1่ี ตัวอย่างแผนทที่ างไปโรงเรียนพิษณโุ ลกพิทยาคม

ตามปกตกิ ารจัดที่นั่ง ในช้ันเรียนจะจัดไวอ้ ย่างเป็นระเบียบเป็นแถวหน้ากระดานและแถวตอนลึก การ
บอกตำแหนง่ ท่ีนั่งในห้องเรียนเป็นการแสดงว่าท่นี ั่ง ของตนเองอยูใ่ นบริเวณใดของห้อง อาจบอกไดโ้ ดยเขียน
แผนผังของห้องและระบุตำแหน่งของตนเองเปรยี บเทยี บกับ ตำแหนง่ ของเพอ่ื นทน่ี ั่งอยู่ข้างเคียง

การบอกตำแหนง่ ของตนเองที่น่ังเรยี งเป็นแถวเชน่ นง่ั อยู่ในแถวแรกและเป็นคนท่สี องจากทางซ้ายมอื
กเ็ พียงพอทจี่ ะช่วยให้ทราบว่าตัวเราอยู่ทตี่ ำแหนง่ ใด

โดยทั่วไปการบอกตำแหน่งของวัตถุบนพื้นราบทำไดห้ ลายวิธีเป็นการบอกด้วยการเทยี บกับแนว
เสน้ ตรงสองเส้นที่ตั้งฉากกัน สำหรับห้องเรียนอาจจะใช้แนวผนังด้านตา่ ง ๆ ของห้องเปน็ แกนอ้างอิงและระบุว่า
วตั ถุอยู่หางจากแนวทั้งสองเปน็ ระยะทางเท่าใด เชน่ ตำแหนง่ ทน่ี ่ังของนักเรียน A อยูห่ ่างจากแนวผนังห้อง
ดา้ นหน้าเป็นระยะ 2 เมตรและหา่ งจากแนวผนังห้องด้านซ้ายเป็นระยะ1.5 เมตร ดังรปู ที่ 2 ก็จะเพียงพอท่ีจะ
บอกตำแหนง่ บนพ้ืนราบไดโ้ ดยมีแนวผนังห้องดา้ นหน้าและแนวผนังห้องด้านซ้ายเปน็ ตำแหนง่ อ้างอิง

รปู ท่ี 2 แผนผังแสดงตำแหนง่ ของทนี่ ั่ง
การบอกตำแหน่งของสง่ิ ต่าง ๆ ทำไดห้ ลายวิธโี ดยในแตล่ ะวิธตี ้องกำหนดตำแหน่งอ้างองิ หรอื ตำแหน่ง
ที่ใช้เปรียบเทียบว่าวัตถุนั้นอยู่ห่างจากตำแหน่งอ้างอิงไปทางทิศใด เป็นระยะทางเท่าใด โดยท่ัวไปจะใช้
ตำแหน่งที่ทุกคนรจู้ ักและเป็นท่ีสงั เกตได้ชัดเจน
ตำแหนง่ อ้างอิงท่ใี ช้ในการบอกตำแหน่งของวัตถุอาจเปน็ ส่ิงท่ีมีอย่ตู ามธรรมชาติ เช่น
แมน่ ้ำ ตน้ ไม้หรอื สงิ่ ทม่ี นษุ ย์สรา้ งขึ้น เช่น ถนน สะพาน อาคารสถานทก่ี ารบอกตำแหนง่ ของวตั ถนุ อกจากจ ะ
บอกระยะทางและทิศทางเมอื่ เทียบกับตำแหนง่ อ้างอิงแล้วให้รายละเอยี ดเพ่ิมเติมเพื่อให้มีความชัดเจนเพ่ิมขึ้น
เช่น การบอกตำแหน่งรถยนต์ทก่ี ำลงั เคลอื่ นทีน่ อกจากจะบอกตำแหน่งและทศิ ทางเม่อื เทยี บกับหลักกิโลเมตรท่ี
อยู่ใกล้เคยี งแลว้ ควรบอกรายละเอียดว่ารถกำลงั วง่ิ ในช่องวิง่ ใดและมุง่ หน้าไปยังทใ่ี ดหรอื ทิศใด

รปู ที่ 3 หลักกโิ ลเมตรใช้เป็นจดุ อ้างองิ ในการบอกตำแหนง่

ใบกจิ กรรมท่2ี /1

เร่ือง เด็กชายเมฆอยู่ที่ไหน

กลุ่มที่................

สมาชิก 1................................................... 2..................................................

3....................................................4...................................................

5…………………………………. ......... .6………………………………….

วสั ดุอุปกรณ/์ กลุ่ม

1. ไมบ้ รรทัด 1 อนั

2. ภาพแผนผังทน่ี ั่ง 1 ภาพ

วธิ ีทำ

1. ให้นกั เรยี นพจิ ารณาภาพที่น่ัง ของเด็กชายเมฆ ในห้องเรียนตอ่ ไปน้ี

2. ให้นกั เรยี นระบตุ ำแหน่งทน่ี ่ัง ของเดก็ ชายเมฆ จากภาพข้างต้น
วิธีท่ี 1 ....................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
วิธที ี่ 2 ....................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
วิธีที่ 3 ....................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
3. ที่น่ังของเด็กชายเมฆ อยู่ห่างจากกระดาน ........................ เมตรและห่างจากผนังห้องฝัง่ หน้าตา่ ง
............................. เมตร
4. บอกตำแหนง่ ท่ีน่ังของเดก็ ชายเมฆ ในห้องเรยี น ตอ้ งระบขุ อ้ มูลใดบา้ ง
.............................................................................................................................................................
5. จุดอา้ งอิง หมายถึง …………………………………………………………………….......................................

............................................................................................................................. ................................

5. จากการทำกิจกรรมนักเรียนสรุปผลได้วา่ อย่างไร
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................

เฉลยใบกิจกรรมที2่ /1
เรอ่ื ง เด็กชายเมฆอย่ทู ีไ่ หน

1. ให้นกั เรยี นพจิ ารณาภาพทน่ี ั่ง ของเด็กชายเมฆ ในห้องเรียนต่อไปนี้

2. ให้นักเรยี นระบตุ ำแหน่งทีน่ ่ัง ของเด็กชายเมฆ จากภาพข้างต้น
วธิ ที ่ี 1 ที่นั่งเด็กชายเมฆ อยู่ตรงกลางแถวท่สี องจากประตู
วิธีท่ี 2 ทน่ี ่ังเด็กชายเมฆ อยู่แถวท่สี าม ตรงกับหน้าตา่ ง 4
วธิ ที ี่ 3 ทน่ี ่ังเดก็ ชายเมฆอยู่หา่ งจากกระดานแถวท่สี าม ห่างจากประตูแถวทีส่ อง

3. ท่นี ่ังของเดก็ ชายเมฆ อยูห่ ่างจากกระดาน .......5..... เมตรและหา่ งจากผนังห้องฝง่ั หน้าตา่ ง......3...... เมตร
4. บอกตำแหน่งทน่ี ่ังของเดก็ ชายเมฆ ในห้องเรียน ต้องระบขุ อ้ มูลใดบา้ ง
บอกระยะหา่ งและทิศทางของตำแหนง่ ทนี่ ั่งเทยี บกับจุดอ้างองิ โดยจะต้องระบจุ ุดอ้างอิงท่ีอยู่ใกล้กับท่ีนั่งของ
เด็กชายเมฆ
5. จุดอา้ งองิ หมายถงึ จดุ ท่ใี ช้เปรียบเทยี บว่าวตั ถนุ ั้นอยู่ทใี่ ด ควรเป็นจดุ ท่ีอยู่นงิ่ อย่ใู กล้วตั ถแุ ละสงั เกตได้ง่าย
6. จากการทำกจิ กรรมนักเรียนสรุปผลได้วา่ อยา่ งไร

การบอกตำแหนง่ ของวัตถใุ ด ๆ จะต้องบอกเทียบกับจุดอ้างอิงโดยระบุทั้งระยะหา่ งและทิศทางของ
ตำแหนง่ น้ันเทียบกับจุดอ้างองิ ซ่ึงจุดอ้างอิงควรเปน็ จุดท่อี ยู่น่ิงและอยู่ใกล้กับวัตถุ

ใบกจิ กรรมที่ 2/2
เร่ือง ระบุจดุ อา้ งอิงและระบุตำแหน่ง

กล่มุ ท.่ี ...............
สมาชกิ 1................................................... 2..................................................
3....................................................4...................................................
5…………………………………. ......... .6………………………………….

คำช้ีแจง จากภาพ จงกำหนดจุดอ้างองิ และระบตุ ำแหน่งของวัตถตุ ่าง ๆ ในแต่ละข้อตอ่ ไปนี้
1. รถบรรทกุ

จุดอา้ งอิง คอื ......................................................
ตำแหน่ง .............................................................
............................................................................
............................................................................

2. คนเลน่ สกที จ่ี ุด B

จดุ อ้างอิง คอื ...........................................................................................................................
ตำแหน่ง …………………………………………………………………………………….....................................

1. รถบรรทกุ เฉลยใบกิจกรรมท่ี 2/2
เร่อื ง ระบุจดุ อา้ งอิงและระบุตำแหน่ง

จดุ อ้างองิ คือ บ้าน
ตำแหน่ง ห่างจากบ้านไปทางทิศเหนอื
ระยะทาง 200 เมตร

2. คนเลน่ สกีท่ีจดุ B

จดุ อา้ งองิ คือ จุดเรมิ่ ต้นของการเลน่ สกี
ตำแหนง่ ระยะทาง 180 เมตรหา่ งจากจดุ เรม่ิ ต้น เป็นเวลา 1 นาที

แบบทดสอบรายวชิ า ว 21102 วิทยาศาสตร์ 2
เร่อื ง การบอกตำแหน่งของวัตถุ

คำชีแ้ จง ใหเ้ ลอื กคำตอบที่ถูกตอ้ ง เหมาะสมทีส่ ดุ เพยี งข้อเดียว
1. การบอกตำแหนง่ ของวัตถใุ ห้ได้ความหมายชัดเจน ไม่จำเปน็ ต้องบอกส่งิ ใด

ก. ตำแหน่งอ้างอิง
ข. ขนาดของวตั ถุ
ค. ทิศทางทว่ี ัตถอุ ยู่
ง. ระยะห่างจากตำแหนง่ อ้างอิง
2. จุดอา้ งอิงในข้อใด แตกตา่ งจากข้ออน่ื
ก. ตไู้ ปรษณีย์
ข. สะพาน
ค. เสาไฟฟ้า
ง. ตน้ ไม้
3. การบอกตำแหนง่ ของยานพาหนะบนทางหลวงใช้วิธกี ารใด
ก. หนา้ ปดั ความเรว็
ข. เขม็ วัดระยะทาง
ค. สถานีตำรวจ
ง. หลักกโิ ลเมตร
4. การบอกตำแหน่งตา่ ง ๆ บนโลกเราใช้วธิ ีการบอกตามข้อใด
ก. บอกระยะทาง
ข. เสน้ รุ้งเสน้ แวง
ค. มุมอาซมิ ุธ
ง. บอกมมุ
5. เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการบอกตำแหนง่ ของวัตถุบนโลกคือข้อใด
ก. GPS
ข. ASP
ค. CAI
ง. GPR
6. “เด็กหญิง น้ำชา น่ังโต๊ะตัวแรกตดิ กับหน้าตา่ ง” ขอ้ ความนี้ข้อใดคือจดุ อ้างองิ
ก. โต๊ะ
ข. หน้าตา่ ง
ค. เด็กหญิงน้ำชา

ง. เป็นจุดอา้ งอิงทุกขอ้
จากภาพต่อไปน้ีเมื่อหันหน้าเข้าหากระดานดำให้นักเรยี นบอกตำแหน่งของโต๊ะนักเรียน

7. จากภาพท่ีกำหนดให้นักเรียนสามารถบอกจุดอ้างอิงและอธบิ ายการบอกตำแหน่งของตนเองได้
อย่างไร

ก. โต๊ะนักเรียนอยู่ท้ายหอ้ ง
ข. โต๊ะนักเรยี นอยู่ตรงกลางแถวสดุ ท้ายของห้อง
ค. โต๊ะนักเรียนของฉันอยู่ตรงข้ามกับโตะ๊ ของครู
ง. โต๊ะนักเรยี นของฉันอยู่ทางขวามือของถังขยะเป็นระยะหา่ ง 3 โตะ๊
จากภาพรถยนต์ 3 คัน จอดริมถนน โดยเสาไฟฟา้ แตล่ ะต้น ห่างกัน 40 เมตรและตำแหนง่ ป.คือ ตู้ไปรษณยี ์
หากตำแหนง่ ของรถยนต์ทงั้ 3 คัน มาเทียบกับตู้ไปรษณีย์จะเปน็ อย่างไร

ก คอื ตำแหนง่ รถยนต์คันที่ 1
ข คอื ตำแหน่งรถยนต์คันที่ 2
ค คือ ตำแหนง่ รถยนต์คันที่ 3
8. ตำแหนง่ ของรถยนต์คัน ก เม่ือเทียบกับ ตู้ไปรษณีย์เป็นอยา่ งไร
ก. รถยนตค์ ัน ท่ี 1 อยู่ทางซ้ายของตู้ไปรษณีย์โดยมรี ะยะห่างไม่มากนัก
ข. รถยนต์คันท่ี 1 อยู่ทางซ้ายของตู้ไปรษณยี ์โดยมรี ะยะหา่ ง 40 เมตร
ค. รถยนต์คันท่ี 1 อยู่ทางด้านหลงั ของตู้ไปรษณยี ์โดยมรี ะยะหา่ ง 40 เมตร
ง. รถยนต์คันท่ี 1 อยทู่ างซา้ ยของตู้ไปรษณีย์โดยมีระยะห่างหนึ่งต้นเสาไฟฟา้

9. ข้อใดเป็นความหมายของจดุ อา้ งอิงท่ถี กู ต้องสมบรู ณ์
ก. จุดอ้างองิ เป็นจุดท่ีชว่ ยบอกและระยะทาง เช่น หลักกิโลเมตร
ข. เปน็ จุดท่แี สดงเห็นเดน่ ชัด มสี สี ันสดใส และเปน็ จดุ ท่สี รา้ งข้ึนเทา่ นั้น
ค. เปน็ จดุ ทชี่ ่วยบอกตำแหนง่ ของวัตถโุ ดยจดุ น้ีเปน็ จุดที่มีและเกิดอยู่ตามธรรมชาติ
ง. เปน็ จุดทชี่ ว่ ยบอกตำแหนง่ ของวัตถุได้ชัดเจนมากข้ึน ซ่ึงมอี ยู่ตามธรรมชาตแิ ละเป็นสิ่งท่มี นุษย์สรา้ ง

ขึ้น
10. สิง่ ที่ต้องกำหนดเป็นอันดบั แรกในการบอกตำแหน่งของวัตถุ

ก. ทิศทาง
ข. เวลา
ค. ระยะทาง
ง. จุดอ้างอิงท่อี ยู่ใกล้ตวั เรา

เฉลยแบบทดสอบรายวชิ า ว 21102 วทิ ยาศาสตร์ 2
เรื่อง การบอกตำแหนง่ ของวัตถุ
ข้อ 1 ข
ข้อ 2 ง
ข้อ 3 ง
ข้อ 4 ข
ข้อ 5 ก
ข้อ 6 ข
ขอ้ 7 ข
ข้อ 8 ข
ขอ้ 9 ง
ขอ้ 10 ง

บรรณานุกรม

สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2550). แนวทางการจดั การเรียนรู้ ทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั 3 การเรียนรู้
แบบใช้ปญั หาเป็นฐาน. กรงุ เทพฯ: ชมุ นุมการเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
https://ph.kku.ac.th/thai/images/file/km/pbl-he-58-1.pdf
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/77414/-teaartedu-teaart-teamet

คณะผู้จดั ทำ

1. นางสาวมลิวัลย์ ประยรู หาญ รหสั นักศึกษา 645509106
645509204
2. นางจิตรลดา หนันทมุ รหสั นกั ศึกษา 645509220

3. นางสาวมทั รี ภักดีพุดซา รหสั นักศึกษา


Click to View FlipBook Version