หนา้ 1
หน้า 2
คานา
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย มีความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สง่ ผลกระทบตอ่ วถิ ีการดารงชวี ติ กจิ วัตร เปลีย่ นแปลงไป มกี ารตดิ เช้ือโควิด-19 มกี ารเจบ็ ป่วย และสญู เสียชีวิต
ในประชาชนคนไทยทุกกลุ่มอายุ รวมถึงกลุ่มเดก็ วัยเรยี นวัยรุ่นมีการติดเช้ือโควิด-19มากขึ้นอย่างต่อเนื่องมาก
สาเหตมุ าจากครอบครวั และชุมชน รัฐบาลประกาศให้พ้ืนที่ 29 จงั หวดั เป็นพื้นท่ี ควบคมุ สงู สุดเข้มงวด (สีแดง
เขม้ ) ส่งผลทาให้สถานศกึ ษาจานวนมากไม่สามารถเปิดทาการเรียนการสอนได้ ปิดเรียนนานสง่ กระทบต่อการ
เรียนระยะยาว ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษา พฒั นาการของเด็ก กับความไม่แน่นอนของ สถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคโควดิ -19 มาตรการการปิดเรียนไมม่ ีผลในการ ควบคุมการแพร่ระบาดการเข้าถึงวัคซีนสาหรบั
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่เพียงพอจะทาให้การเปดิ เรียนมีประสิทธิภาพโรงเรียนเป็นสถานทีท่ ี่สามารถ
ปฏิบัติและกากับให้เป็นไปตามมาตรการไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพมากท่ีสุด
ทางโรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอยได้จัดทาแนวทางการปฏิบัตติ ามมาตรการ Sandbox Safety Zone in
School เปิดเรยี นมน่ั ใจ ปลอดภยั ไร้โควิด-19 ในโรงเรียนเพ่อื เป็นแนวทางปฏิบตั ิในการเปิดภาคเรยี น ปฏิบัติ
ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครดั เพอ่ื ให้สามารถทาการเปิดเรยี น ทาการเรียนการสอนท่ี
โรงเรียนได้ มุง่ ใหน้ กั เรียนมาเรยี นท่โี รงเรียนไดอ้ ยา่ งปลอดภัย และมคี วามสขุ
โรงเรียนขจรเกียรตโิ คกกลอย
สารบัญ หน้า 3
1. มาตรการ Sandbox Safety Zone in School หนา้
2. มาตรการกอ่ นเปดิ ภาคเรียน 4
3. มาตรการขณะเปดิ ภาคเรยี น 16
21
แนวทางการปฏบิ ัติขณะเปิดภาคเรยี น 21
ข้อควรปฏิบัติขณะเปิดภาคเรียน 27
4. มาตรการก่อนเขา้ เรยี นและหลงั เลกิ เรยี น 29
5. มาตรการเพมิ่ เติม 30
ภาคผนวก 31
หน้า 4
มาตรการ Sandbox Safety Zone in School
เปิดเรยี นมัน่ ใจ ปลอดภยั ไรโ้ ควดิ -19 ในสถานศกึ ษา
ความร้เู กย่ี วกับโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คืออะไร
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coroavirus Disease 2019 : COVID-19) เป็นตระกูล ของ ไวรัสที่
กอ่ ให้เกิดอาการปว่ ยตง้ั แตโ่ รคไข้หวดั ธรรมดา ไปจนถงึ โรคที่มีความรนุ แรงมาก เช่น โรค ระบบ ทางเดินหายใจ
ในตะวันออกกลาง (MERS - CoV) โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรนุ แรง (SARS - CoV) เป็นต้น ซึ่งเปน็
สายพันธ์ุใหม่ที่ไม่เคยพบมากอ่ นในมนุษย์ ก่อให้เกิดอาการป่วยระบบทางเดนิ หายใจในคน และสามารถแพร่
เช้ือจากคนสู่คนได้ โดยเชอื้ ไวรัสนพี้ บการระบาด ครง้ั แรกในเมอื งอู่ฮน่ั มณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน
ในชว่ งปลายปี 2019 หลงั จากนนั้ ได้มีการระบาดไปทั่วโลก องคก์ ารอนามยั โลกจึง ต้ังชือ่ การติดเช้อื ไวรัส
โคโรนาสายพันธุใ์ หม่นวี้ ่า โรค COVID-19
อาการของผูป้ ่วยโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
อาการทัว่ ไป ได้แก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ มนี ้ามูก เจบ็ คอ หายใจ ลาบาก เหน่ือยหอบ
ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจทาให้เกิด ภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ
ไตวาย หรืออาจเสียชีวติ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แพร่กระจายเช้ือไดอ้ ยา่ งไร โรคชนิดนี้มี
ความเป็นไปได้ที่มีสัตว์เป็นแหล่งเชื้อโรค ส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับ ผู้ติดเชื้อผ่านทางละออง
เสมหะจากการไอ น้ามกู น้าลาย ปัจจุบนั ยงั ไม่มหี ลักฐาน สนบั สนุนการแพร่กระจาย เชือ้ ผ่านทางพ้ืนผิวสัมผัส
ทีม่ ไี วรสั แลว้ มาสัมผัสปาก จมกู และตา สามารถแพร่เชื้อผา่ นทางเชอ้ื ทถี่ ูกขบั ถ่าย ออกมากบั อจุ จาระเข้าสู่อีก
คนหนงึ่ โดยผ่านเขา้ ทางปากได้ด้วย
การแพรก่ ระจายเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
โรคชนิดนมี้ ีความเปน็ ไดท้ ี่มีสตั ว์เป็นแหลง่ รังโรค สว่ นใหญ่แพร่กระจายผา่ น ผา่ นทางละอองเสมหะจาก
การไอการสัมผัสจากผู้ติดเชื้อ น้ามูก น้าลาย ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนการแพร่กระจายเชื้อผ่าน
ทางการพื้นผิวสัมผัส ปาก จมูกและตา สามารถแพร่เชื้อทางเชื้อที่ถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระเข้าสู่อีกคน
โดยผา่ นทางช่องปากได้ด้วย
โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รักษาไดอ้ ย่างไร
ยังไม่มียาสาหรับป้องกันหรือรักษาโรคโควิด 19 ผู้ที่ติดเชื้ออาจต้องได้รับการรักษาแบบ
ประคบั ประคองตามอาการ โดยอาการท่แี สดงแตกตา่ งกนั บางคนรนุ แรงไมม่ าก ลักษณะเหมอื น ไขห้ วัด ทั่วไป
บางคนรุนแรงมาก ทาให้เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ร่วมกับ การรักษาด้วยการ
ประคับประคองอาการจนกว่าจะพ้นอาการช่วงน้นั และยังไมม่ ียาตัวใด ทม่ี ีหลักฐานชัดเจนว่า รกั ษาโรคโควิด-
19 ได้โดยตรง
หนา้ 5
สถานการณ์การตดิ เช้ือโควิด-19 ในเดก็ อายุ 0-19 ปี ในประเทศไทย มแี นวโน้ม เพ่มิ ข้นึ อย่างต่อเนื่อง
พบการติดเชื้อโควิด-19 ในเด็กโตมากกวา่ เด็กเล็ก สัดส่วน ร้อยละ 15 ของผู้ใหญ่ อัตราป่วยตายร้อยละ 0.02
ในห้วงเวลาที่ผ่านมา ในพื้นที่ ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) ขยายวงกว้างมากขึ้นเป็น 29 จังหวัด
โรงเรียนยังไม่สามารถเปิดทาการเรียนการสอน On site ได้ ผลกระทบต่อเด็ก ในสถานการณ์โควิด-19 จาก
การปิดโรงเรียนเป็นเวลานาน อาทิ ทักษะการเรียนรู้ และพัฒนาการทางสังคม ครูขาดปฏิสัมพันธ์กับเด็กบาง
กลุ่มพบว่า มีความเครียด และยากต่อการปรับตัว การปิดโรงเรียนส่วนใหญ่ปิดทุกแห่งในพื้นที่ โดยไม่ปฏิบัติ
ตามแผนเผชญิ เหตุ พ่อแมข่ าดรายได้ ต้องหยุดงานมาดแู ลเดก็ อาจนาไปสู่การหยดุ เรียน ถาวรของเดก็ นักเรียน
กลมุ่ เปราะบาง การเปลย่ี นรอบการเรียนมผี ลตอ่ การจดั สอบ วดั ผลการเรียนรู้ มีผลลต่อเนื่องถงึ อนาคตในการ
เรยี น
ดังนั้น จึงเป็นเหตุผลความจาเป็นต้องเปิดเรียนโดยใหเ้ ดก็ นักเรียนไปเรียนที่โรงเรียนได้ โรงเรียนเปน็
สถานที่ สามารถปฏิบตั ิและกากับให้เปน็ ไปตามมาตรการไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ผลกระทบระยะยาว
ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา พัฒนาการของเด็กกับความ ไม่แน่นอนของสถานการณก์ ารระบาด COVID-19
มาตรการการปิดเรียนไม่มีผล ในการควบคุมการแพร่ระบาด จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อของ
นักเรียนในโรงเรียน พบว่า การนั่งใกล้ชิดกับเพื่อนและการไปในพ้ืนทีแ่ ออัดนอก โรงเรียน เป็นปัจจัยเส่ียงตอ่
การติดเชื้อที่สาคัญ (Odds ratio (OR) 2.675, 95% CI 1.19-6.01, p-value 0.017 และ OR 3.12, 95%CI
1.26-7.74, p-value 0.014 ตามลาดับส่วนการสวมหน้ากากตลอดเวลาขณะอยู่ในโรงเรียน เป็นปัจจัย
ปกป้องต่อการติดเชื้อ (OR 0.43, 95%CI 0.21-0.92, p-value 0.028) (สราวุฒิและคณะกรมอนามัย,
2564) การเข้าถึงการฉีดวัคซีนสาหรับครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่เพียงพอ จะทาให้การเปิดเรียนมี
ประสทิ ธิภาพ
หน้า 6
Sandbox Safety Zone in School
โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอยได้ใช้หลกั การ Sandbox Safety Zone in School เพื่อเปน็ แนวทางตัด
ความเส่ยี งสร้างภูมิค้มุ กนั (3T1V) มดี งั น้ี
T : Thai Stop Covid Plus (TSC+)
โรงเรยี นมีการประเมนิ ความพรอ้ มผ่านTSC+ และรายงานการติดตามการประเมนิ ผา่ น MOECOVIDเพ่ือ
เตรียมความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรยี น
T : Thai Save Thai (TST)
นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ประเมนิ ความเสยี่ งดว้ ยตนเองทุกวันกอ่ นมาโรงเรยี น
T : Antigen Test Kit (ATK)
นกั เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ทุกคนทาการตรวจคัดกรอง ATK กอ่ นมาโรงเรยี นและจะมีการ
ตรวจในทกุ 2 สัปดาห์หลงั จากมาเรียนท่ีโรงเรยี นแลว้ และมีการเฝ้าระวัง สุ่มตรวจ (การตรวจคัดกรอง ATK
เฉพาะนกั เรยี นทม่ี าเรยี นแบบ On – site ทโี่ รงเรียนเท่านั้น)
V : Vaccine
ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ ับวคั ซนี ครบโดส ครอบคลมุ มากกวา่ รอ้ ยละ 85 สว่ นนกั เรียนทที่ อี ายุ 12
ปีและผปู้ กครองควรได้รับวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข
กลมุ่ เป้าหมาย
นักเรยี น ครแู ละบุคลากร โรงเรยี นขจรเกียรติโคกกลอย อาเภอตะกั่วทุ่ง จงั หวดั พังงา
ระยะเวลาดาเนนิ การ
ระยะท่ี 1 1 – 14 พฤศจกิ ายน 2564 เตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียน
ระยะท่ี 2 15 พฤศจิกายน 2564 เปดิ เรียนภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 เปน็ ต้นไป
Concept หนา้ 7
Sandbox Safety Zone in School
เตรยี มพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ประเมนิ TSC+ (44 ข้อ)
ครูและบุคลากร ได้รับการฉีดวัคซนี
เรียนแบบผสมผสาน
On site On line
แนวทางการจัดการ Safety Zone in School
ตรวจคัดกรอง ZONE 2
Safety Zone
ประเมิน Thai Save Thai
ตรวจคัดกรอง ATK นักเรียน ครู บคุ ลากร
ปลอดเชอื้ ปลอดภยั
เขม้ 6 มาตรการหลัก ZONE 1
เข้ม 6 มาตรการเสรมิ Screening
เขม้ 7 มาตรการเขม็ สาหรบั สถานศกึ ษา
ทากจิ กรรมร่วมกัน แบบ Small Bubble Safety Zone in School แบ่งเปน็ 2 Zone ดงั น้ี
เป็นพื้นที่สาหรับกลุ่มนักเรียน ครู ผู้ปกครอง หรือผูม้ าตดิ ตอ่
ทีเ่ ขา้ มาในโรงเรียน เช่น บุคลากรด้านอานวยการทีไ่ มใ่ กลช้ ิด กับนักเรียน
กลุ่มโชนอื่น รวมทั้งการจัดพื้นที่ที่เหมาะสมในการตรวจคัดกรองความ
เสี่ยง เช่น ATK, จดุ รับส่งอาหาร-สิง่ ของ, จดุ เสย่ี งอืน่ แต่ต้องปฏิบัติตาม
มาตรการอยา่ งเขม้ ข้ม
เป็นพื้นทีป่ ลอดภัยสาหรบั นกั เรียนและบคุ ลากรที่ผา่ นการ
ตรวจหาเชื้อ COVID-19 แล้วปลอดเชือ้ ซึ่งตอ้ งอยู่ในพ้ืนท่ีของ Zone นี้
หน้า 8
1. ทาแบบประเมินตนเองสาหรับสถานศึกษาของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในการเตรียมความ
พร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
2. จดั การเรียนการสอนในรูปแบบ On-site หรอื On-line แบบผสมผสาน(Hybrid) ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคในพืน้ ท่ี ชมุ ชนทีโ่ รงเรียนตัง้ อยู่
3. กรณที โ่ี รงเรียนเปิดเรียนแลว้ มีความจาเป็นต้องปิดเรียน จะมีการปฏบิ ตั ติ ามแผนเผชิญเหตุของกระทรวง
สาธารณสขุ https://bit.ly/3CvTAAa และของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด
4. . มีการจัดการระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครู บุคลากรตามหลักสุขาภิบาล และหลัก
โภชนาการ อาทิ การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบอาหารตามมาตรฐานสุขาภิบาล
อาหารในโรงเรยี น อยา่ งถกู สุขลักษณะ มกี ารตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนามาบรโิ ภค
5. จดั ให้มมี าตรการการควบคุมในโรงเรียนดังนี้
6 มาตรการหลัก
เว้นระยะหา่ ง Distancing โดยไมม่ กี ารรวมกลมุ่ แตล่ ะจุดมีเครื่องหมายการเว้นระยะอยา่ งปลอดภัย
สวมหนา้ กาก Mask wearing จะต้องมกี ารสวมตลอดเวลาทีอ่ ยู่ในโรงเรียน
ลา้ งมือ Hand washing ให้นกั เรียนลา้ งมอื บ่อยๆ มจี ุดให้บริการ
คัดกรองวดั ไข้ Testing วดั ก่อนเข้ามาในโรงเรียนและกรณมี ีไข้ตลอดวนั
ลดการแออดั Reducing จดั กิจกรรมเป็นกลมุ่ เล็กๆ ไมร่ วมกลุ่มใหญ่
ทาความสะอาด Cleaning ทาความสะอาดจดุ เส่ียงจากการสมั ผัสทุก 2 ชว่ั โมงและอาคารเรียนทุกวนั
6 มาตรการเสรมิ
ดแู ลตนเอง Self – care ดูแลตนเองตามมาตรการ และตรวจสอบสุขภาพอย่างตอ่ เนอื่ ง
ใช้ชอ้ นกลางสว่ นตัว Spoon โรงเรียนมีชอ้ นใหน้ กั เรียนเป็นรายบคุ คล ทาความสะอาดอย่างถูกสุขลักษณะ
กินอาหารปรงุ สุกใหม่ Eating ประกอบอาหารอย่างถกู สขุ อนามยั สะอาด ปลอดภัย
ลงทะเบยี นเข้าออกโรงเรยี น Track มจี ดุ แสกนการเข้าออกทุกครัง้
สารวจตรวจตรา Check ตรวจสอบ ดูแล ทุกมาตรการอย่างเขม้ ขน้
กักกันตนเอง Quarantine หากเปน็ ผู้ท่ีอยู่ในกลมุ่ สัมผสั เสยี่ งสูง กกั กันตนเอง 2 สัปดาห์
หน้า 9
7 มาตรการเขม้ สาหรบั สถานศกึ ษา
การประเมนิ ความพร้อมเปิดเรียนผา่ น Thai Stop COVID Plus (TSC)+ และรายงานการติดตาม
การประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID ทางโรงเรยี นจะมีการจัดทากอ่ นเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ลว่ งหน้า 1 สปั ดาห์ โดยมี
การถือปฏิบตั อิ ยา่ งเขม้ ขน้ และต่อเนือ่ ง
จัดกิจกรรมรูปแบบ Small Bubble คุณครูมีการจัดกิจกรรมในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยง
การทากจิ กรรมขา้ มกลุ่มกนั งดการเขา้ แถวหนา้ เสาธง หากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดลดน้อยลงอาจจะมีการ
เขา้ แถวหน้าเสาธงเปน็ สายชน้ั โดยมกี ารเว้นระยะหา่ ง ลดปริมาณของนักเรยี น การไมร่ วมกลมุ่ การจัดกิจกรรม
ชุมนุม ลูกเสือ ยุว-กาชาด การจัดนักเรียนในห้องเรียนจะมีการเว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องเรียนไม่
น้อยกว่า 1.5 เมตร ตามขนาดของห้องเรียน ในการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียนจะมีการแบ่งการ
พักเป็นระดับอนุบาล ระดับประถมต้น ระดับประถมปลาย โดยให้มีการเหลื่อมเวลาในการพักของแต่ละ
ระดับช้นั เพ่อื ลดการแออัด
จัดระบบให้บริการอาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ ในการให้บริการอาหาร
สาหรับนักเรียน ครูและบุคลากรโรงเรียนมีการยึดหลักตามมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ
ดงั น้ี
- จัดซือ้ จดั หาวัตถดุ ิบจากแหล่งอาหารท่ีปลอดภยั
- การปรุง ประกอบอาหาร ถูกสุขลักษณะ
- มกี ารตรวจสอบอาหาร สถานที่ท่ีใชใ้ นการประกอบอาหาร จาหนา่ ยอาหาร ให้ถูกสขุ ลกั ษณะ
- ผปู้ ระกอบอาหาร และผู้เกี่ยวข้องมีการปอ้ งกันตนเองใหถ้ กู ตามสุขอนามยั
- จดุ บรกิ ารนา้ ดม่ื นักเรียนมภี าชนะสว่ นบคุ คลในการใสน่ ้า นา้ ดื่มมีคุณภาพท่ีดี
ด้านอนามยั สิง่ แวดล้อม ตามเกณฑ์มาตรฐาน
- การระบายอากาศภายในอาคาร มกี ารเปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศก่อนทาการเรยี นการสอน 1.15
น. (07.15 – 08.30 น.) พร้อมทั้งในทุกคาบเรียนมีการเปิดหน้าต่างและพดั ลมเพื่อระบายอากาศ ทุก 5 นาที
และปิดเครื่องปรับอากาศช่วงเวลาพักกลางวันและหลังเลิกเรียน ทางโรงเรียนจะมีการทาความสะอาด
เครื่องปรับอากาศในวันเสารท์ กุ สปั ดาห์
- การทาความสะอาด มีการทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู
เคร่ืองเล่นของใช้ร่วมกัน ราวบันได ฯลฯ กอ่ นเปิดภาคเรียน และระหวา่ งเปดิ เรียนจะมกี ารทาความสะอาดทุก
2 ชัว่ โมง สาหรับโตะ๊ เกา้ อ้ีจะมกี ารทาความสะอาดทกุ วันหลงั เลิกเรยี น
- คุณภาพน้าอุปโภคบริโภค มีการจัดการคุณภาพน้าอุปโภคบริโภคที่เหมาะสม ดูแลเรื่องของความ
สะอาด คณุ ภาพน้า ภาชนะท่บี รรจุ ใช้แกว้ นา้ หรอื ภาชนะสาหรับใสน่ ้าดืม่ ส่วนตวั
- การจัดการขยะ จัดให้มีถังขยะทม่ี ฝี าปิดและการจัดการขยะท่ดี ี ทิ้งขยะทุกวัน
หนา้ 10
จดั School Isolation ในโรงเรยี น
ศูนย์ปฏิบัติการศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (ศปก.ศบค.)
พิจารณาเห็นชอบตามกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ให้โรงเรียนดาเนินการ
ตามมาตรการ Sandbox Safety Zone in School เปดิ เรยี นมัน่ ใจ ปลอดภยั ไรโ้ ควดิ -19 ในโรงเรยี น เพื่อให้
โรงเรยี นทม่ี คี วามพรอ้ มเปิดเรียน ทาการเรยี นการสอนทีโ่ รงเรียน นกั เรยี นสามารถมาเรียนหนังสือที่โรงเรียน
ได้ ทากิจกรรมร่วมกัน ในพื้นทีจ่ ากัดได้อย่างปลอดภยั และมีความสขุ อย่างไรก็ตามจากการเฝา้ ระวัง มีการ
ตรวจคดั กรองของนกั เรียน ครู และบคุ ลากรในโรงเรียน และจัดสถานท่ีรองรับ กรณีท่ีมีการพบผู้ติดเชื้อ โควิด-
19 หรือผู้ทเ่ี ปน็ กล่มุ สัมผสั เส่ียงสูง เกิดข้ึนในโรงเรียนเพอ่ื เป็นลดการแพร่กระจายเชื้อ ลดการติดเชื้อ ลดอาการ
รุนแรงจากโรคลดการแพร่ระบาดในชมุ ชน และลดการสูญเสยี ชีวิตได้
ทางโรงเรียนจึงไดม้ ีการจดั สถานที่ในการรองรบั 2 จดุ คอื ที่อาคารไทย 1 จุดและอาคาร ESC 1 จุด
ควบคุมดแู ลการเดนิ ทางจากบา้ นไปโรงเรียน (Seal Route)
มาตรการสาหรบั รถโรงเรียน
- คดั กรองตรวจวัดอณุ หภูมิคนขับรถ คณุ ครปู ระจาสายรถ นักเรียนทกุ คนทีใ่ ชบ้ ริการรถโรงเรียนก่อนมา
โรงเรยี นและหลงั กลับจากโรงเรยี น
- คนขับรถรับสง่ และนักเรยี นทุกคนท่ีใช้บรกิ าร สวมหนา้ กากอนามยั ตลอดการเดนิ ทาง
- จัดใหม้ ีแอลกอฮอลช์ นิดเจล และนา้ ยาฆา่ เชื้อโรคประจารถ
- ทาความสะอาดรถรับส่งนกั เรียนก่อน และหลังการให้บริการแต่ละรอบ เปิดหน้าต่าง และประตู เพื่อ
ถา่ ยระบายอากาศภายในตวั รถ และทาความสะอาดจุดทม่ี ีการสมั ผัสบอ่ ย ๆ
- เวน้ ระยะหา่ ง ระหว่างบคุ คล ขณะนั่งบนรถ
- ลงทะเบยี นบันทึกขอ้ มูลการใชบ้ ริการ แตล่ ะรอบของนักเรียน เพ่ือความรวดเร็วในการสบื สวนโรค ของ
แพทย์หากพบผตู้ ิดเช้ือ
- ปฏิบัติตามมาตรการควบคุมโรคของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (ศบค.) หรอื คณะกรรมการโรคติดตอ่ จงั หวัดพังงา
จดั ให้มี School Pass สาหรบั นกั เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา
ประกอบด้วย ผลการประเมิน Thai Save Thai (TST)ผลตรวจ ATK ภายใน 14 วัน ประวัติการ
รับวัคซีน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยเมื่อเข้า-ออกโรงเรียน ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขและ
กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดพังงา เพื่อความ
ปลอดภยั เมอ่ื มีการเขา้ – ออกในโรงเรียน
นอกจากนั้นนักเรียนทุกคนยังมีการจัดทาบันทึกการเดินทางทุกวัน ระหว่างเลิกเรียนจนถึงบ้าน
เพ่ือเปน็ แนวทางการควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรค
6. จัดให้มีที่ล้างมือด้วยเจลล้างมือ น้า และเจลแอลกอฮอล์ บริการสาหรับนักเรียนทุกจุด
หน้า 11
7. มีการทาความสะอาดพื้นผิวสัมผัสต่างๆ ที่ใช้ร่วมกัน อาทิ สนามเด็กเล่น ห้องน้า ลูกบิด
ประตู ตลอดจนอาคารสถานท่ีและบริเวณโรงเรียนทุก 2 ชั่วโมง
8. จัดเตรียมอาหารปรุงสุกใหม่ พร้อมทั้งปฏิบัติตนตามหลักสุขอนามัยและปฏิบัติตามมาตรการ
ป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด
9. มีการสื่อสารทาความเข้าใจ และให้คาแนะนาผู้ปกครองติดตามข้อมูลข่าวสารการแพร่ระบาดของ
โควิด-19 จากแหล่งข้อมูลท่ีเชื่อถือได้ รวมท้ังหลีกเลี่ยงการพาบุตรหลานไปในสถานที่ท่ีเสี่ยงต่อการติดเช้ือ
หนา้ 12
แนวปฏบิ ัตติ ามมาตรการ
Sandbox Safety Zone in School
การบริหารจัดการ แนวทางการจัดการ Safety Zone in School
1. โรงเรียนทม่ี คี วามพร้อมเขา้ รว่ มโครงการ ZONE 2
2. จัดใหม้ ี สถานแยกกักตวั ในโรงเรียน Safety Zone
(School Isolation)
3. จดั ให้มี Safety Zone in School นกั เรยี น ครู บคุ ลากร
- Zone 1 Screening ปลอดเช้ือ ปลอดภัย
- Zone 2 Safety Zone
4. มีการติดตามประเมนิ ผลอย่างตอ่ เนอ่ื ง ZONE 1
5. โรงเรยี นรายงานการติดตามประเมนิ ผล Screening
ผา่ น MOECOVID หรือ Thai Stop COVID Plus
(TSC+) สถานศึกษา
นักเรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา 1. โรงเรียนจัดการเรยี นการสอนได้ท้ัง On site และ/
หรือ Online (Hybrid)
1. นักเรียนที่จะเข้ามาเรียนแบบ On-site ต้อง
ตรวจ Antigen Test Kit (ATK) กอ่ นเข้าโรงเรยี น 2. โรงเรียนประเมินตนเอง เตรียมพร้อมก่อนเปิด
เรียน ผา่ น TSC+
2. นักเรียนทากิจกรรมร่วมกัน รูปแบบ Samll
Bubble 3. กรณีจาเป็นต้องปิดเรียน ควรปฏิบัติตามแผน
เผชญิ เหตุ สธ. อย่างเคร่งครัด
3. นักเรียน ครู และบุคลากร ประเมินความเสี่ยง
ด้วยตนเอง ผา่ นไทยเซฟไทย (TST) สม่าเสมอ 4. จัดระบบการให้บริการอาหารนักเรียนตามหลัก
สขุ าภบิ าล อาทิ การจดั ซอื้ จัดหาวัตถุดิบจากแหลง่ อาหาร
4. นักเรียนปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วน การปรุงประกอบอาหารตามมาตรฐาน สุขาภิบาลอาหาร
บุคคลอย่างเข้มข้น ในโรงเรียน
- 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC),
- 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
- 7 มาตรการเข็ม
5. ครูและบุคลากร เข้าถึงฉีดวัคซีน ครอบคลุม
มากกวา่ 85%
6. ครู บคุ ลากร และพนักงานทกุ คน ตรวจ ATK ทกุ
14 วันหรอื 2 สปั ดาห์
แผนเผชญิ เหตุ (ใหม)่ หน้า 13
มาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของสถานศึกษา
ตามระดับการแพร่ระบาด
ระดับการแพรร่ ะบาด มาตรการปอ้ งกัน
ในชมุ ชน ในสถานศึกษา ครู/นักเรียน สถานศึกษา
ไมม่ ีผู้ตดิ เช้อื ไมพ่ บ ✓ ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ DMHTT ✓ เปิดเรียน on site
ผตู้ ิดเช้ือยืนยัน ✓ ประเมิน TST เป็นประจา ✓ ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ TSC Plus
✓ เฝ้าระวังคัดกรอง
ไม่พบ ✓ ปฏบิ ัติตามมาตรการ DMHTT ✓ เปดิ เรียน on site
ผู้ติดเชอ้ื ยนื ยนั ✓ ประเมิน TST เป็นประจา ✓ ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ TSC Plus
✓ เฝา้ ระวังคัดกรอง
พบผู้ตดิ เช้ือยืนยัน ✓ ปฏิบตั ิเข้มตาม DMHTT ✓ ปิดหอ้ งเรียนทีพ่ บผู้ตดิ เช้อื 3 วัน เพอ่ื
ในห้องเรียน1ราย *เน้นใสห่ น้ากาก ทาความสะอาด
*เวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คล 1-2 ม.
ขน้ึ ไป ✓ เปดิ ห้องเรียนอืน่ ๆ on site ไดต้ ามปกติ
✓ ประเมนิ TST ทกุ วนั ✓ สมุ่ ตรวจเฝา้ ระวงั Sentinel
✓ ระบายอากาศ ทุก 2 ชัว่ โมง กรณใี ช้
surveillance ทกุ 2 สัปดาห์
เครื่องปรับอากาศ ✓ ปฏิบัตเิ ขม้ ตามมาตรการ TSC Plus
กรณี High risk contact : งดเรียน
มีผ้ตู ิดเชอ้ื on site และกกั ตวั ท่บี ้าน 14 วัน
ประปราย กรณี Low RIsk contact : ใหส้ ังเกต
อาการของตนเอง และปฏบิ ัตติ าม
มาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ
พบผู้ติดเชอื้ ยืนยัน ✓ ปฏิบัติเข้มตาม DMHTT ✓ ปดิ ห้องเรียนที่พบผตู้ ดิ เช้อื 3 วนั
มากกวา่ 1 *เน้นใส่หนา้ กาก เพือ่ ทาความสะอาดหรือตามอานาจ
หอ้ งเรยี น *เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล 1-2 ม. การพิจารณาของกระทรวงศกึ ษาธิการ
✓ ประเมนิ TST ทุกวนั ✓ ปฏบิ ตั ิเขม้ ตามาตรการ TSC Plus
✓ ระบายอากาศ ทุก 2 ช่ัวโมง กรณีใช้
เคร่ืองปรับอากาศ
หนา้ 14
ระดบั การแพรร่ ะบาด มาตรการป้องกัน
ในชุมชน ในสถานศึกษา ครู/นกั เรยี น สถานศึกษา
มีผ้ตู ดิ เชื้อ ✓ ปฏบิ ัตเิ ขม้ ตาม DMHTT ✓ พิจารณาการเปิดเรียน on site โดย
เป็นกลมุ่ ก้อน
*เนน้ ใส่หนา้ กาก เข้ม มาตรการทกุ มติ ิ
*เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล 1-2 ม. ✓ สาหรบั พ้ืนท่รี ะบาดแบบกลุ่มกอ้ น
✓ ประเมิน TST ทุกวัน พิจารณาปดิ โดยคณะกรรมการควบคุม
✓ ระบายอากาศ ทุก 2 ชวั่ โมง การแพรร่ ะบาด ระดับพ้นื ที่ หากมี
กรณใี ช้เคร่ืองปรบั อากาศ หลักฐานและความจาเป็น
กรณี High risk contact : งดเรียน ✓ ส่มุ ตรวจเฝ้าระวัง Sentinel
on site และกักตวั ทบี่ ้าน 14 วัน surveillance ทกุ 2 สัปดาห์
กรณี Low RIsk contact : ใหส้ งั เกต
อาการของตนเอง
มกี าร ✓ ปฏิบตั เิ ขม้ ตาม DMHTT ✓ พิจารณาการเปดิ เรียน on site โดย
แพรร่ ะบาด ใน ✓ เฝา้ ระวงั อาการเส่ียงทุกวนั Self เข้มมาตรการทกุ มิติ
ชมุ ชน Quarantine ✓ สาหรับพนื้ ทีร่ ะบาดแบบกลุ่มก้อน
✓ ประเมนิ TST ทุกวนั พิจารณาปิด โดยคณะกรรมการควบคุม
การแพรร่ ะบาด ระดับพนื้ ที่ หากมี
หลกั ฐานและความจาเป็น
✓ สุ่มตรวจเฝ้าระวัง Sentinel
surveillance ทุก 2 สัปดาห์
หน้า 15
ผงั แนวทางการตรวจ Antigen Test Kit (ATK)
สาหรบั นกั เรียน ครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา
นักเรียน ครู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา
ประเมนิ ความเสี่ยง ผา่ นไทยเซฟไทย (TST)
เสย่ี งตา่ เสยี่ งสงู
DMHTTA Positive
Negative
ประวตั สิ มั ผสั ไม่ชดั เจน สัมผัสใกลช้ ดิ RT-PCR
ไมต่ ้องกกั ตวั สงสยั สัมผัส
สงั เกตอาการ Negative Positive
3-5 วนั
DMHTTA.
ATK
Negative Positive เขยี ว เหลอื ง แดง
Self Quarantine Home Isolation โรงพยาบาลสนาม โรงพยาบาลหลัก
& DMHTTA Organization Isolation (hospitel) (hospital)
หน้า 16
มาตรการก่อนเปิดภาคเรียน
1. จัดทามาตรการ Sandbox Safety Zone in School และแผนการเผชญิ เหตุ
2. จัดทาโครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อเป็นแนวในการ
ดาเนินการในการเฝ้าระวัง (ภาคผนวก)
3. จัดทาประกาศของโรงเรียนในเรื่องของแผนจัดการและแนวปฏิบัติการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของ
เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ให้ครู บุคลาการ ผปู้ กครองและนกั เรยี นได้รบั ทราบ (ภาคผนวก)
4. แต่งตงั้ คณะกรรมการการเฝ้าระวงั ป้องกนั ควบคุมและแก้ไขสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ภาคผนวก)
5. แต่งตั้งคณะกรรมการแกนนาด้านสุขภาพ จิตอาสา ในการดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนด้วยกัน
(ภาคผนวก)
6. จัดทาแบบประเมินตนเองของสถานศึกษาในการเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรียน เพื่อเฝ้าระวัง
และปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ของกรมอนามยั Thai stop covid (ภาคผนวก)
7. เตรียมความพร้อมทางด้านอาคารสถานที่ หอ้ งเรยี น หอ้ งประกอบการตา่ งๆ ห้องสมุด ห้อง
พยาบาล สนามเดก็ เลน่ สนามกฬี า หอ้ งประชมุ โรงอาหาร ฯลฯ
8. เตรียมความพร้อมทางด้านอปุ กรณ์ เครอ่ื งมือในการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรค
9. จดั ใหม้ สี ถานทแ่ี ยกกักตวั ในโรงเรยี น School Isolation เพือ่ กกั ตัว ดแู ลเบอ้ื งต้นเมื่อพบมีผู้ติดเชื้อ
กอ่ นทจ่ี ะทาการสง่ ต่อให้กบั หน่วยคัดกรองใหญต่ ่อไป
10. ใหค้ วามรู้ พรอ้ มทงั้ สรา้ งความเขา้ ใจให้กบั นกั เรียน ผู้ปกครอง ครู บคุ ลากรและผูเ้ กี่ยวขอ้ งทราบ
11. วางแผนการจดั การเรยี นร้ใู นรปู แบบ On- site , On-Line หรือแบบผสมผสานระหวา่ ง On- site
และ On-Line ขึ้นอย่กู ับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค
12. สาหรับการเปิดเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 สาหรับนักเรียนที่มีความประสงค์มา
เรียนทโ่ี รงเรยี นจะมีการดาเนินการใหน้ ักเรียนทีม่ าเรียนทโ่ี รงเรียนแบบ On- site และต้องทาการตรวจ ATK
2 -3 วันก่อนโรงเรียนเปิดภาคเรียน และจะมีการตรวจ ATK ทุก 2 สัปดาห์ตลอดภาคเรียนหรือจนกว่า
สถานการณ์จะดขี น้ึ
หนา้ 17
การเตรียมความพร้อมทางดา้ นอาคารสถานที่
1. หอ้ งเรยี น ห้องประกอบการ
1.1 จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล โดยคานึงถงึ สภาพบริบทและขนาด
พื้นที่ และจัดทาสัญลักษณ์แสดงจุดตาแหน่งชัดเจน การแบ่งจานวนนกั เรียน หรือการใช้พื้นที่ใช้สอยบริเวณ
สถานศกึ ษา ตามความเหมาะสมทง้ั นี้อาจพิจารณาวิธีปฏิบัติอ่ืนตามบริบทความเหมาะสม โดยยดึ หลกั Social
distancing
1.2 เปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศก่อนทาการเรียนการสอน 1.15 น. (07.15 – 08.30 น.) พร้อม
ทั้งในทุกคาบเรียนมีการเปิดหน้าต่างและพัดลมเพื่อระบายอากาศ ทุก 5 นาที และปิดเครื่องปรับอากาศ
ช่วงเวลาพักกลางวันและหลังเลิกเรียน ทางโรงเรียนจะมีการทาความสะอาดเครื่องปรับอากาศในวันเสาร์ทกุ
สปั ดาห์
1.3 จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับนักเรยี นและครู ใช้ประจาทุกห้องเรียนและ
บรเิ วณโรงเรียนเชน่ ทางเข้าออกอาคารเรยี น โรงอาหาร อย่างเพียงพอ
1.4 มีการทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู เครื่องเล่นของใช้
ร่วมกัน ราวบนั ได ฯลฯ ก่อนเปดิ ภาคเรยี น และระหวา่ งเปิดเรยี นจะมกี ารทาความสะอาดทุก 2 ชัว่ โมง สาหรับ
โต๊ะ เก้าอจี้ ะมกี ารทาความสะอาดทุกวันหลงั เลกิ เรยี น
2. หอ้ งสมุด
2.1 จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร และจัดทา
สญั ลกั ษณแ์ สดงจดุ ตาแหน่งชัดเจน
2.2 จดั ใหม้ กี ารระบายอากาศท่ีดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง หากมีความจาเป็นต้องใช้
เครื่องปรับอากาศกาหนดเวลาเปิด - ปิดเครื่องปรับอากาศ เปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศทุก 1 ชั่วโมง
และทาความสะอาดอยา่ งสม่าเสมอ
2.3 จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับครู บรรณารักษ์ นักเรียน และผู้ใช้บริการ
บริเวณทางเขา้ ดา้ นหน้าและภายในห้องสมดุ อย่างเพยี งพอ
2.4 ให้มีการทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อปุ กรณแ์ ละจดุ สมั ผสั เสย่ี ง เช่น ลูกบิดประตู ชน้ั วางหนงั สอื ทุก
วนั วันละ 2 ครงั้ (เช้ากอ่ นให้บริการ พักเทยี่ ง)
2.5 ติดประกาศแจ้งการจากัดจานวนคนจากัดเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุด ให้นักเรียน และ
ผใู้ ชบ้ ริการทกุ คนต้องสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ขณะใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ ตลอดเวลา
2.6 จัดให้มเี จลแอลกอฮอลล์ ้างมือกอ่ นเขา้ ใชห้ ้องสมดุ อย่างเพียงพอ
หน้า 18
3. สนามเดก็ เลน่ ที่มีอุปกรณ์เครอื่ งเลน่ ต่าง ๆ
3.1 ให้มีการทาความสะอาดเคร่ืองเล่นและอุปกรณก์ ารเลน่ ก่อนเปิดภาคเรียน และทาทุกวันระหวา่ ง
เปิดภาคเรียนทุก 2 ชั่วโมงเมื่อมกี ารเข้าใช้ในสนาม ทาความสะอาดด้วยน้ายาทาความสะอาดตามคาแนะนา
ของผลิตภัณฑ์
3.2 กาหนดระเบยี บการเล่นเครอ่ื งเลน่ และอุปกรณ์การเล่น จัดครเู วรดูแลการเล่นของนักเรยี น
- ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร
- กากับดูแลใหเ้ ดก็ สวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาการเลน่
- จากดั จานวนคน จากดั เวลาการเล่นในสนามเดก็ เล่น โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของครเู วร
ในชว่ งเวลาพกั เทย่ี ง และหลังเลิกเรียน
- ใหน้ กั เรยี นลา้ งมอื ด้วยเจลลา้ งมอื หรือเจลแอลกอฮอล์ ก่อนและหลังการเลน่ ทกุ คร้งั
4. ห้องส้วม
4.1 จัดเตรียมอุปกรณ์ทาความสะอาดอยา่ งเพียงพอ ได้แก่ น้ายาทาความสะอาดหรอื น้ายาฟอกขาว
อปุ กรณก์ ารตวง ถงุ ขยะ ถงั น้า ไมถ้ พู ้นื คีบด้ามยาวสาหรบั เกบ็ ขยะ ผา้ เชด็ ทาความสะอาด และอุปกรณป์ ้องกนั
อันตรายสว่ นบุคคลทีเ่ หมาะสมกบั การปฏบิ ัติงาน เชน่ ถุงมือ หน้ากากผ้า ฯลฯ
4.2 การทาความสะอาดห้องน้า ห้องสว้ ม อย่างน้อยวันละ 2 ครัง้ ดว้ ยน้ายาทาความสะอาดทั่วไปพ้ืน
ห้องส้วมให้ฆ่าเชื้อโดยใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ เน้นเช็ดบริเวณที่รองนั่ง โถ
ส้วม ฝาปิดโถสว้ ม ทกี่ ดชกั โครก สายชาระ ราวจับ ลกู บิดหรอื กลอนประตู ทีแ่ ขวนกระดาษชาระ อา่ งลา้ งมือ ที่
วางสบู่ กอ๊ กนา้ ผนัง ซอกประตู ด้วยผา้ ชุบผลิตภณั ฑก์ าจัดเชือ้ โรค Dettol
4.3 หลังทาความสะอาด ควรซักผ้าเช็ดทาความสะอาดและไม้ถูพืน้ ด้วยน้าผสมผงซักฟอกหรือน้ายา
ฆา่ เชือ้ แลว้ ซักด้วยน้าสะอาดอีกคร้งั และนาไปผงึ่ แดดให้แหง้
5. โรงอาหาร
5.1 จัดให้มี เจลแอลกอฮอลส์ าหรับให้บริการแก่ผู้เข้ามาใช้บริการ บริเวณกอ่ นเขา้ และออกทางเข้าโรง
อาหาร
5.2 จดั ทาสญั ลกั ษณใ์ หม้ ีการเว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 – 1.5 เมตร ในพื้นทตี่ ่าง ๆ เชน่
ท่นี ัง่ รบั ประทานอาหาร จุดรับอาหาร จดุ รอควิ ซอ้ื อาหาร จดุ คืนถ้วยจานอาหาร เปน็ ตน้
5.3 ทาความสะอาดสถานที่ปรงุ ประกอบอาหาร พื้นทต่ี ้งั ตู้กดนา้ ด่มื และพ้ืนท่บี ริเวณท่ีน่ังกินอาหาร
ให้สะอาด ดว้ ยผ้าชบุ ผลติ ภณั ฑ์กาจดั เชอ้ื โรค Dettol หรอื ผงซักฟอก
5.4 ทาความสะอาดโต๊ะและทีน่ ั่งให้สะอาด สาหรับนัง่ รบั ประทานอาหาร ด้วยผ้าชุบผลิตภณั ฑก์ าจดั
เช้อื โรค Dettol หรือจัดให้มีการฆ่าเชอื้ ด้วยแอลกอฮอล์ 70%
5.5 ทาความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเคร่ืองใชใ้ หส้ ะอาด ด้วยนา้ ยาลา้ งจาน
5.6 ติดตั้งฉากพลาสติกใสกั้นระหว่างเคาน์เตอร์ขายอาหาร กับผู้ซื้ออาหาร และระหว่างการนั่ง
รบั ประทานอาหาร
หนา้ 19
5.7 จดั ให้มถี งั ขยะที่มีฝาปดิ และการจดั การขยะท่ีดี
5.8 มีการจัดการคุณภาพน้าอุปโภคบริโภคที่เหมาะสม ดูแลเรื่องของความสะอาด คุณภาพน้า
ภาชนะทบ่ี รรจุ ใชแ้ กว้ น้าหรือภาชนะสาหรับใส่นา้ ด่มื ส่วนตัว
การจัดเตรยี มสถานทีจ่ ดุ คัดกรอง อปุ กรณ์ เครื่องมือและการประชาสมั พันธ์
1. จุดคัดกรอง โรงเรยี นกาหนดจุดคัดกรองท่ีใช้ในการเข้า – ออก ของครู บุคลากร คนงาน นักเรียน
ผ้ปู กครองและผู้ที่เขา้ มาติดต่อกบั ทางโรงเรยี น ณ ประตทู างเข้าหลกั ของท้ัง 2 อาคารเรียน
2. ทาสญั ลักษณต์ าแหนง่ ยืนรอเข้าจดุ คดั กรอง ระยะห่างกนั 1-1.5เมตร
3. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่จุดคัดกรอง เช่น เครื่องมือวัดอุณหภูมิร่างกายแบบแสกนข้อมือ และทาง
หนา้ ผากแบบมอื ถือ เจลแอลกอฮอลสาหรับลา้ งมอื ความเข้มขน้ 70% โตะ๊ ลงทะเบยี นและแสกนไทยชนะ
4. อุปกรณ์ป้องกันการแพร่ระบาด เช่น เจลแอลกอฮอล์สาหรับล้างมอื ความเขม้ ข้น 70% สารองไว้
อยา่ งเหมาะสม หนา้ กากอนามัย หน้ากากผ้า (Face shield) มีอ่างล้างมือบริเวณอาคารเรยี น ห้องเรียน สนาม
เด็กเล่น น้ายาฆา่ เชือ้ ทาความสะอาดสาหรับทาความสะอาดพน้ื ผิวสมั ผสั ต่าง ๆ
5. จดั ทาป้ายนเิ ทศประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ภายในโรงเรียน เช่น การสวมหนา้ กากท่ีถูกวิธี ขั้นตอน
การล้างมือที่ถกู ต้อง การเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล และมาตรการต่างๆในเรอ่ื งของการป้องกันตนเองในเร่ือง
ของการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19
การสร้างความรู้และสรา้ งความเข้าใจ
1. มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความรู้การป้องกันโรคโควิด 19 ประชุมชี้แจงแนวปฏิบัติในการเปิดเรียน
ชว่ ง สถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควดิ 19 ให้ครู บุคลากรทุกคนรับทราบ
2. ประชมุ ฝ่ายอนามัยโรงเรยี น และฝ่ายอาคารสถานที่ ในการเตรียมพร้อมทุกจดุ
3. ประชุมเพ่ือส่อื สารประชาสัมพนั ธ์ความรู้โรคโควิด 19 แกผ่ ปู้ กครองนกั เรยี นทกุ ระดับช้ันก่อน เปิด
ภาคเรียน ท้ัง 2 ภาคเรยี นและรับทราบแนวทางการดาเนินงาน
4. มีการรณรงค์การฉีดวคั ซีนป้องกนั โรคโควิด19 ให้กับครู บุคลากร แม่บ้าน คนสวน คนขับรถครบ
100 เปอร์เซ็นต์ก่อนการเปิดภาคเรยี น
การวางแผนการจัดการเรยี นรู้
โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย ตระหนกั ถงึ การจัดการเรยี นรู้ใหก้ ับนกั เรียนในช่วงสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จงึ ไดก้ าหนดการจัดการเรยี นร้ใู หก้ บั นักเรียนดงั น้ี
หน้า 20
1. ในรูปแบบการเรยี นการสอนท่ีโรงเรยี น (On-site) กรณที ีส่ ถานการณเ์ ปน็ ปกติไมพ่ บผู้ติดเช้ือหรือ
เป็นพื้นที่สีส้ม ซึ่งสามารถทาการเรียนการสอนได้ตามปกติตามคาสั่งของจังหวัดพังงาและตามมาตรการของ
โรงเรยี น
2. ในรูปแบบการเรียนการสอนแบบ (On-Line) ทุกระดับชั้น กรณีที่มีผู้ติดเชื้อจานวนมากและ
กระจายไปในหลายพ้ืนท่ี โดยอาศัยอานาจคณะกรรมการควบคมุ โรคและคาสง่ั ของทางจงั หวดั พงั งา
3. ในรูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน (Hybrid) เป็นการเรียนการสอนที่โรงเรียน (On-site) ควบคู่
กบั การเรียนการสอนที่บ้านแบบ (On-Line) ในกรณที ีเ่ ป็นพน้ื ที่สีส้ม โดยมนี ักเรียนส่วนหน่ึงมีความประสงค์ท่ี
จะมาเรียนที่โรงเรียน (On-site) และอีกส่วนหนึ่งมีความประสงค์ที่จะเรียนอยู่ที่บ้าน (On-Line) ทั้งนี้โดย
อาศัยคาสั่งของจังหวัดพังงาและต้องนักเรียนปฏิบัติตามมาตรการของโรงเรียนกรณีที่มาเรียนที่โรงเรียนอยา่ ง
เคร่งครัด
ในการจัดการเรียนการสอนจะคานึงถึงแนวทางการป้องกนั และควบคมุ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID–19) เป็นสาคัญ ตามแนวทางกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข การจัดห้องเรียนสาหรับนักเรียน
จานวน การเวน้ ระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing)
หน้า 21
มาตรการขณะเปิดภาคเรยี น
หลกั ปฏิบัติในการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี น
1. คัดกรอง (Screening) ผ้ทู ี่เขา้ มาในโรงเรยี นทุกคน ตอ้ งได้รับการคัดกรองวดั อุณหภมู ิรา่ งกาย
2. สวมหน้ากาก (Mask) ทกุ คนตอ้ งสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาทีอ่ ยใู่ นโรงเรยี น
3. ล้างมือ (Hand Washing) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยเจลล้างมือ นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือใช้เจล
แอลกอฮอลห์ ลีกเล่ียงการสัมผัสบรเิ วณจุดเสี่ยง เช่น ราวบันได ลูกบิดประตู ขอบระเบียง เปน็ ต้น รวมท้ังไม่ใช้
มอื สมั ผัส ใบหนา้ ตา ปาก จมกู และใชข้ องรว่ มกนั
4. เว้นระยะห่าง (Social Distancing) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร รวมถึงการจดั
เวน้ ระยะห่างของสถานท่ี
5. ทาความสะอาด (Cleaning) เปิดประตู หน้าต่าง ให้อากาศถ่ายเท ทาความสะอาดห้องเรียน และ
บรเิ วณต่าง ๆ โดยเชด็ ทาความสะอาดพนื้ ผวิ สมั ผัสของโต๊ะ เก้าอ้ี และวสั ดุอุปกรณ์ กอ่ นเขา้ เรยี น พกั เทย่ี ง และ
หลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดให้มีถงั ขยะมูลฝอยแบบมฝี าปิดและรวบรวมขยะออกจากห้องเรียน เพื่อนาไป
กาจัดทกุ วนั
6. ลดแออัด (Reducing) เหลื่อมเวลาทากิจกรรมและหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมรวมตัวกันเป็นกลุ่มลด
แออดั จัดกจิ กรรมแบบ Small Bubble งดการรว่ มตัวในกจิ กรรมลูกเสอื ยวุ กาชาด ชมุ นุม เป็นตน้
7. ปฏบิ ัติตาม 6 มาตรการหลัก โดยการเว้นระยะหา่ ง สวมหน้ากาก ลา้ งมือ คัดกรอง วัดไข้ ลดการแออัด
ทาความสะอาด
8. ปฏบิ ตั ติ าม 6 มาตรการเสริม โดยการดูแลตนเอง ใช้ช้อนสว่ นตัว กินอาหารปรุงสกุ ใหม่ ลงทะเบยี นเข้า
ออกโรงเรยี น สารวจตรวจสอบ และกกั กนั ตนเอง
9. ปฏิบัตติ าม 7 มาตรการเข้มสาหรับโรงเรยี น โดยโรงเรยี นมกี ารประเมนิ ความพร้อมเปิดเรยี นผ่าน TSC
และรายงานการติดตามการประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID จดั ทากิจกรรมแบบ Small Bubble จดั ระบบการ
ให้บรกิ ารอาหารตามหลกั สขุ าภบิ าลอาหารและหลกั โภชนาการ จัดการดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มให้ได้ตามเกณฑ์
มาตรฐาน ไดแ้ ก่การระบายอากาศภายในอาคาร การทาความสะอาด คณุ ภาพน้าอุปโภคบรโิ ภคและการกาจัด
ขยะ จดั ใหม้ ี School Isolation แผนเผชญิ เหตุโดยมีการซักซ้อมทาความเข้าใจ ควบคมุ การเดินทางจากบ้าน
ไปโรงเรียนและจดั ทา School Pass สาหรบั นกั เรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน
แนวปฏบิ ตั ิสาหรับผบู้ ริหารโรงเรยี น
1. จัดทามาตรการ Sandbox Safety Zone in School และแผนการเผชญิ เหตุ
2. จัดทาโครงการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เพือ่ เปน็ แนวในการดาเนินการ
3. จดั ทาประกาศของโรงเรียนในเรือ่ งของแผนจัดการและแนวปฏิบัตกิ ารป้องกันการแพรร่ ะบาดของ
หนา้ 22
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ใหค้ รู บุคลาการ ผปู้ กครองและนกั เรียนไดร้ ับทราบ
4. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน ควบคมุ และแก้ไขสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
5. แต่งตง้ั คณะกรรมการแกนนาดา้ นสขุ ภาพ จติ อาสา ในการดูแลสขุ ภาพเพือ่ นนกั เรียนด้วยกัน
6. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัตกิ ารปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี น
7. กาหนดแนวทางปฏบิ ัติตติ ามระเบียบสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากร ที่สงสัยติดเช้ือหรือเป็นผู้ทีเ่ ปน็
กลุ่มเสย่ี งสงู ด้วยโรคโควดิ 19 โดยไมถ่ ือเปน็ วันลาหรือวนั หยุดเรียน
8. ทบทวน ปรับปรุง ซ้อมปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของสถานศึกษาในภาวะที่มีการระบาดของโรคติดเช้ือ
(Emergency operation for infectious disease outbreaks)
9. ส่อื สารประชาสมั พันธ์การป้องกันโรคโควดิ 19 เกย่ี วกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏบิ ตั ิ และการจดั การ
เรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม และ
ตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารท่ีเก่ยี วข้องกบั โรคโควิด 19 จากแหล่งขอ้ มลู ทเี่ ชื่อถอื ได้
10. สื่อสารทาความเข้าใจเพื่อลดการรังเกียจและลดการตีตราทางสังคม (Social stigma) กรณีอาจพบ
บุคลากรในสถานศึกษา นักเรยี น หรือผู้ปกครองติดเชอื้ โควิด 19
11. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry) ให้แก่
นักเรยี น ครู บุคลากร และผ้มู าติดตอ่ และจัดใหม้ ีพื้นท่ีแยกโรค อุปกรณป์ อ้ งกัน เชน่ หนา้ กากผา้ หรือหน้ากาก
อนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในกรณที ีพ่ บนกั เรยี นกล่มุ เส่ียง
12. พจิ ารณาการจดั ใหน้ กั เรียนสามารถเข้าถงึ การเรียนการสอนที่มคี ุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่าง
ต่อเนื่อง ตรวจสอบติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดสถานศึกษา การจัดให้มีการเรียนทางไกล
ส่อื ออนไลน์ การตดิ ต่อทางโทรศพั ท์ Social media โดยติดตามเป็นรายวัน หรอื อย่างต่อเนื่อง
13. กรณพี บนักเรียน ครู บคุ ลากร หรอื ผู้ปกครองอยใู่ นกลุม่ เส่ียงหรือผปู้ ว่ ยยืนยนั เข้ามาในโรงเรียนให้ จะ
มีการแจ้งเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ ในพื้นท่ี เพื่อดาเนนิ การสอบสวนโรคและพจิ ารณาเปิด-ปิดโรงเรียนตามแนวทาง
ของกระทรวงสาธารณสขุ
14. มมี าตรการใหน้ กั เรียนไดร้ ับสทิ ธิอาหารเสรมิ นมตามสิทธทิ ค่ี วรได้รับ กรณีพบอยใู่ น กลมุ่ เสยี่ งหรอื กกั ตัว
15. ควบคมุ กากบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการดาเนินงานตามมาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของ โรคโค
วดิ 19 ในโรงเรียนอยา่ งเคร่งครัดและตอ่ เนือ่ ง
16. มีการจัดหางบประมาณสาหรับจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันโรคโควิด 19 ให้กับนักเรียน ครู บุคลากร
ตามความจาเป็นและเหมาะสม
17. มีการจัดสรรบุคลากรในการดูแลนักเรียน และการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน ให้มีความ
ปลอดภัยและเหมาะสมตอ่ การเรียนรู้
หนา้ 23
แนวปฏบิ ตั ิสาหรับครู และผดู้ แู ลนกั เรียน
1. ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พ้นื ทีเ่ สี่ยง คาแนะนาการปอ้ งกันตนเองและ
ลดความเสยี่ งจากการแพร่กระจายของเชอื้ โควิด 19 จากแหลง่ ข้อมลู ท่เี ชอื่ ถือได้
2. สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มนี า้ มกู เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหนือ่ ยหอบ ไมไ่ ดก้ ล่ิน
ไม่รรู้ ส ให้หยุดปฏบิ ัตงิ าน และรีบไปพบแพทย์ทนั ที กรณมี คี นในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควดิ 19 หรือ กลบั จาก
พื้นท่ีเส่ียงและอยใู่ นชว่ งกักตัว ให้ปฏิบัตติ ามคาแนะนาของเจ้าหน้าท่สี าธารณสุขอยา่ งเครง่ ครัด
3. แจง้ ผปู้ กครองและนกั เรยี น ให้นาของใช้สว่ นตวั และอปุ กรณ์ป้องกนั มาใช้เป็นของตนเอง พรอ้ มใช้ เช่น
แก้วนา้ แปรงสีฟนั ยาสีฟนั ผา้ เช็ดหน้า หนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามยั เปน็ ตน้
4. สื่อสารความรู้คาแนะนาหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากการ
แพร่กระจายโรคโควิด 19 ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกตอ้ ง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัยคาแนะนาการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทาความสะอาด หลีกเลี่ยงการทากิจกรรม
รว่ มกนั จานวนมากเพื่อลดความแออดั
5. ทาความสะอาดสือ่ การเรยี นการสอนหรอื อปุ กรณ์ของใช้ร่วมทีเ่ ป็นจุดสัมผสั เสี่ยง ทกุ ครงั้ หลังใชง้ าน
6. ควบคมุ ดูแลการจดั ทน่ี ั่งในห้องเรียน ระหว่างโตะ๊ เรียน ทน่ี ่ังในโรงอาหาร การจัดเว้นระยะห่าง ระหว่าง
บุคคล หรือเหลื่อมเวลาพักกินอาหารกลางวัน และกากับให้นักเรียน สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย
ตลอดเวลา และล้างมือบอ่ ย ๆ
7. ตรวจสอบ กากับ ตดิ ตามการมาเรยี นของนกั เรยี นขาดเรียน ถกู กักตัว หรืออยใู่ นกลุม่ เส่ยี งตอ่ การติดโรค
โควดิ 19 และรายงานตอ่ ผบู้ รหิ าร
8. วิธีการปรับพฤติกรรมสาหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏบิ ัติตามมาตรการทีค่ รูกาหนด ด้วยการแก้ปัญหา
การเรียนรู้ใหมใ่ หถ้ ูกต้องนน่ั คอื สรา้ งพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ หรอื ลดพฤติกรรมท่ไี มพ่ ึงประสงค์
9. ครสู ื่อสารความรเู้ กย่ี วกบั ความเครียด วา่ เปน็ ปฏิกิรยิ าปกตทิ เี่ กิดขึน้ ได้ในภาวะวกิ ฤติทมี่ ีการแพร่ระบาด
ของโรคโควดิ 19 และนากระบวนการการจดั การความเครยี ด การฝึกสติใหก้ ลมกลนื และเหมาะสมกับนักเรียน
แตล่ ะวยั รว่ มกบั การฝึกทักษะชีวิตท่ีเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ (Resilience) ใหก้ ับนักเรยี น ได้แก่ ทักษะ
ชวี ติ ดา้ นอารมณ์ สงั คม และความคดิ เปน็ ตน้
แนวปฏบิ ตั ิสาหรบั นกั เรียน
1. ตดิ ตามข้อมลู ข่าวสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19 พืน้ ท่ีเสีย่ ง คาแนะนาการป้องกันตนเอง
และลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของโรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มลู ทีเ่ ชอ่ื ถือได้
2. สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีนา้ มกู เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ่ ด้กลิ่น
ไม่รรู้ ส รบี แจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวปว่ ยด้วยโรคโควดิ 19 หรือ กลับบ้าน
จากพน้ื ทเ่ี สย่ี งและอยูใ่ นชว่ งกกั ตวั ใหป้ ฏบิ ัตติ ามคาแนะนาของเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุขอย่างเครง่ ครดั
หนา้ 24
3. มีและใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้า แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า
หน้ากากผ้า หรือหนา้ กากอนามัย และทาความสะอาดหรือเกบ็ ใหเ้ รยี บร้อย ทุกครั้งหลังใช้งาน
4. กรณีนักเรียนดื่มน้าบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทาเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เฉพาะไม่ให้
ปะปนกับของคนอน่ื
5. หมนั่ ล้างมอื บ่อย ๆ ด้วยวิธลี ้างมือ 7 ข้ันตอน อยา่ งน้อย 20 วินาที ก่อนกินอาหาร หลงั ใช้ส้วม หลีกเล่ยี ง
ใช้มอื สมั ผัสกับใบหนา้ ตา ปาก จมกู โดยไมจ่ าเป็น รวมถงึ สรา้ งสขุ นสิ ยั ท่ดี ีหลงั เลน่ กบั เพือ่ น เมื่อกลับมาถงึ บา้ น
ต้องรีบอาบน้า สระผม และเปลย่ี นเสือ้ ผ้าใหม่ทนั ที
6. เว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1–2 เมตร ในการทากิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก และหลัง
เลิกเรยี น เช่น นง่ั รบั ประทานอาหาร เลน่ กับเพ่อื น เขา้ แถวต่อคิว ระหว่างเดินทางอยบู่ นรถ
7. สวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาท่อี ยู่ในโรงเรยี น
8. หลีกเล่ียงการไปในสถานทที่ ่แี ออัด หรือแหล่งชุมชนทีเ่ ส่ยี งต่อการติดโรคโควดิ 19
9. ดูแลสุขภาพใหแ้ ข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรงุ สุก ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ 5 สี
เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ควรเสรมิ อาหารเช้าจากบ้าน รวมถึงการออกกาลังกาย อย่างน้อย 60 นาที ทุกวัน และ
นอนหลับอย่างเพียงพอประมาณ 8–11 ชวั่ โมงต่อวนั
10. กรณีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตามความคืบหน้าการเรียนอย่างสม่าเสมอ ปรึกษาครู
เช่น การเรยี นการสอน ส่ือออนไลน์ อ่านหนังสอื ทบทวนบทเรยี น และทาแบบฝกึ หดั ทบ่ี ้าน
11. หลีกเลี่ยงการล้อเลียนความผิดปกติ หรืออาการไม่สบายของเพื่อน เนื่องจากอาจจะก่อให้เกิดความ
กลวั มากเกนิ ไปต่อการป่วยหรือการติดโรคโควิด 19 และเกิดการแบง่ แยกกีดกนั ในหมู่เพ่อื นนกั เรยี น
แนวปฏบิ ัติสาหรับนกั เรยี นแกนนาด้านสุขภาพ
1. ติดตามข้อมลู ข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พนื้ ท่เี สีย่ ง คาแนะนาการป้องกันตนเอง และ
ลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของโรคโควิด 19 จากแหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ช่ือถือได้
2. ช่วยครูตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายของนักเรียนทุกคนที่มาเรียน ในตอนเช้า ทางเข้า โดยมีครู
ดแู ลให้คาแนะนาอย่างใกลชดิ เนน้ การจัดเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 – 2 เมตร
3. ตรวจดูความเรียบร้อยของนกั เรียนทุกคนทีม่ าเรียน ตอ้ งสวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย หากพบ
นักเรยี นไม่ได้สวม ใหแ้ จง้ ครู ผรู้ ับผิดชอบ เพ่อื จัดหาหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยสารองให้
4. เฝ้าระวงั สงั เกตอาการของเพือ่ นนกั เรียน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามกู เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ
ไม่ไดก้ ลิน่ ไมร่ ูร้ ส ใหร้ บี แจง้ ครูทันที
5. จัดกิจกรรมสื่อสารให้ความรู้คาแนะนาการป้องกัน และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของ โรคโค
วิด 19 แก่เพื่อนนักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การทาหน้ากากผ้า การสวมหน้ากาก การถอด
หน้ากากผ้า การเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล จัดป้ายแนะนาตา่ ง ๆ
หน้า 25
6. ตรวจอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวของเพื่อนนักเรียนและรุ่นน้อง ให้พร้อมใช้งาน เน้นไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น
จาน ช้อน สอ้ ม แก้วนา้ แปรงสีฟนั ยาสฟี ัน ผ้าเชด็ หน้า ผ้าเชด็ มือของตนเอง
7. จดั เวรทาความสะอาดห้องเรียน ห้องเรยี นรว่ ม และบรเิ วณจดุ สัมผัสเส่ยี งทุกวนั เช่น ลกู บดิ ประตู กลอน
ประตู ราวบันได สนามเดก็ เล่น อุปกรณก์ ฬี า เคร่อื งดนตรี และเคร่อื งคอมพิวเตอร์
8. เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคโควิด 19 ด้วยการสวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากาก
อนามยั ลา้ งมือบ่อย ๆ กินอาหารใชจ้ าน ช้อน ส้อม แก้วน้าของตนเอง การเว้นระยะหา่ ง เปน็ ต้น โดยถอื ปฏิบัติ
เปน็ สุขนสิ ยั กิจวตั รประจาวนั อยา่ งสม่าเสมอ
แนวปฏบิ ตั ิสาหรับผูป้ กครอง
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดโรคโควิด 19 พื้นที่เสี่ยง คาแนะนาการป้องกันตนเอง
และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรค จากแหลง่ ข้อมลู ที่เช่ือถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของบุตรหลาน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้
กลิ่น ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่นกับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ทีบ่ ้านจนกว่าจะหายเป็น
ปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือเป็นผู้มีความสี่ยงสูง ให้กักตัวโดยให้ปฏิบัติตาม
คาแนะนาของเจา้ หน้าท่สี าธารณสุขอยา่ งเคร่งครดั
3. จัดหาของใชส้ ว่ นตัวใหบ้ ตุ รหลานอย่างเพียงพอในแต่ละวนั ทาความสะอาดทุกวัน เช่น หนา้ กากผ้า แกว้
นา้ แปรงสฟี นั ยาสฟี ัน ผ้าเชด็ หนา้ และของใช้สว่ นตัว
4. จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ และกากับดูแลบุตรหลานให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลีกเลี่ยงการใช้มอื สัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไมจ่ าเป็น และสรา้ งสขุ นิสัยทดี่ ี หลังเล่นกับเพ่ือนและเม่ือ
กลบั มาถึงบา้ น ควรอาบนา้ สระผม และเปลย่ี นชุดเส้อื ผา้ ใหมท่ ันที
5. ดแู ลสขุ ภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรงุ สุกใหม่ ส่งเสริมใหก้ นิ อาหารร้อน สะอาด กินอาหารครบ 5
หมู่ เพื่อเสรมิ สร้างภูมคิ ุ้มกนั ออกกาลังกาย อย่างนอ้ ย 60 นาที ทุกวนั และนอนหลับอย่างเพยี งพอประมาณ 8
- 11 ช่ัวโมงต่อวนั
6. หลกี เลย่ี งการพาบตุ รหลานไปในสถานเส่ยี งตอ่ การติดโรคโควดิ 19 สถานท่แี ออดั ทีม่ กี ารรวมกนั ของคน
จานวนมาก หากจาเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ 7 ขั้นตอน ด้วยสบู่และน้า
นาน 20 วินาที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์
7. กรณีการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ผปู้ กครองควรใหค้ วามรว่ มมือกบั ครูในการดแู ลจดั การเรียนการ
สอนแก่นกั เรียน เช่น การสง่ การบา้ น การร่วมทากจิ กรรม เปน็ ต้น
แนวปฏบิ ัตสิ าหรบั แมค่ รวั ผจู้ าหน่ายอาหาร และผูป้ ฏบิ ัตงิ านทาความสะอาด
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นที่เสี่ยง คาแนะนาการป้องกัน
ตนเองและลดความเสยี่ งจากการแพรก่ ระจายของโรค จากแหล่งขอ้ มลู ท่ีเชอ่ื ถือได้
หน้า 26
2. สังเกตอาการป่วยของตนเองหากมอี าการไข้ ไอ มีน้ามกู เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหน่อื ยหอบ ไม่ได้กลิ่น
ไมร่ ูร้ ส ให้หยุดปฏิบตั งิ านและรบี ไปพบแพทย์ทันที กรณมี คี นในครอบครัวปว่ ยดว้ ยโรคโควิด 19 หรือกลับจาก
พนื้ ทีเ่ สย่ี งและอย่ใู นช่วงกักตวั ใหป้ ฏบิ ัติตามคาแนะนาของเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ อย่างเครง่ ครดั
3. ล้างมือบอ่ ย ๆ ด้วยสบแู่ ละน้า ก่อน - หลังปรงุ และประกอบอาหาร ขณะจาหน่ายอาหาร หลังสัมผัสสิ่ง
สกปรกเมื่อจับบัตรของนักเรียน หลังใช้ส้วม ควรล้างมือด้วยสบู่และนา้ หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์ และหลีกเลี่ยง
การใชม้ อื สมั ผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ าเป็น
4. ขณะปฏิบัติงานของผู้สัมผัสอาหาร ต้องสวมหมวกคลุมผม ผ้ากันเปื้อน ถุงมือ สวมหน้ากากผ้าหรือ
หนา้ กากอนามยั และปฏิบตั ติ นตามสุขอนามัยสว่ นบคุ คลที่ถูกต้อง
5. ปกปดิ อาหาร ใสถ่ งุ มือและใชท้ ่คี ีบหยิบจบั อาหาร หา้ มใชม้ อื หยิบจบั อาหารพรอ้ มกนั โดยตรง
6. จัดเตรยี มเมนูอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพอ่ื เสริมสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ปรุงสกุ ใหม่ ให้นักเรยี นรับประทานภายใน
เวลา 2 ชั่วโมง หากเกินเวลาดังกล่าว ให้นาอาหารไปอุ่นจนเดือด แล้วนามาเสิร์ฟใหม่ กรณีที่ ไม่สามารถจัด
เหลือ่ มเวลาสาหรบั เดก็ ในม้อื กลางวัน
7. ผปู้ ฏบิ ตั ิงานทาความสะอาด ผ้ปู ฏิบัติงานเก็บขนขยะ ตอ้ งใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น สวมหน้ากาก
ผา้ หรอื หน้ากากอนามยั สวมถงุ มอื ยาง ผา้ ยางกันเปอ้ื น เปน็ ตน้
8. การเกบ็ ขยะ ควรใช้ทจี่ บั ปากคบี ดา้ มยาวเก็บขยะ ใส่ถุงขยะปิดปากถงุ ให้มิดชดิ และนาไปรวบรวมไว้ท่ี
พักขยะ
9. เมื่อปฏิบตั งิ านเสรจ็ ทกุ ครงั้ ตอ้ งลา้ งมอื บอ่ ย ๆ และเมอื่ กลบั มาถึงบา้ น ควรรีบอาบนา้ สระผม เปลีย่ น
เสื้อผ้าใหมท่ ันที
แนวปฏิบตั สิ าหรับผปู้ กครองและบคุ คลภายนอกที่มาติดตอ่ กับทางโรงเรยี น
มีการคัดกรองบุคคลที่เข้ามาในโรงเรียน โดยยึดหลัก DMHTT (Distancing เว้นระยะห่าง , Mask
wearing สวมหน้ากาก , Hand washing ล้างมือ , Testing ตรวจวดั อุณหภูมิ , Thai Chana สแกนแอป ไทย
ชนะ) โดยครูพยาบาล ครู เจ้าหน้าท่ีของโรงเรยี น
แนวปฏบิ ัตสิ าหรบั คนขับรถรบั -สง่ นกั เรยี น
1. คดั กรองตรวจวัดอุณหภูมิคนขับรถ คณุ ครปู ระจาสายรถ นักเรียนทุกคนท่ีใช้บริการรถโรงเรียนก่อนมา
โรงเรยี นและหลงั กลบั จากโรงเรยี น
2. คนขบั รถรบั ส่ง และนักเรยี นทุกคนท่ีใชบ้ รกิ าร สวมหนา้ กากอนามยั ตลอดการเดนิ ทาง
3. จดั ให้มีแอลกอฮอลช์ นิดเจล และน้ายาฆา่ เช้อื โรคประจารถ
4. ทาความสะอาดรถรับส่งนักเรียนก่อน และหลังการให้บรกิ ารแตล่ ะรอบ เปิดหน้าต่าง และประตู เพื่อ
ถ่ายระบายอากาศภายในตวั รถ และทาความสะอาดจุดท่มี กี ารสัมผัสบอ่ ย ๆ
5. เว้นระยะห่าง ระหว่างบุคคล ขณะนงั่ บนรถ
หนา้ 27
6. ลงทะเบียนบนั ทกึ ข้อมูลการใช้บรกิ าร แตล่ ะรอบของนกั เรียน เพื่อความรวดเร็วในการสืบสวนโรค ของ
แพทยห์ ากพบผตู้ ิดเช้อื
7. ปฏิบัติติตามมาตรการควบคุมโรคของศนู ย์บรหิ ารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (ศบค.) หรอื คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวัดพังงา
ขอ้ ควรปฏบิ ตั ริ ะหว่างเปิดภาคเรยี น
1. การเขา้ แถวเคารพธงชาติ ดังน้ี
- ไม่มีการเข้าแถวหน้าเสาธงแต่ปรับเปลี่ยนเข้าแถวในช้ันเรียนโดยเว้นระยะห่าง เพื่อลดการแออดั หาก
สถานการณ์ดขี ้ึน จัดให้มีการเข้าแถวโดยสลบั ชน้ั เรียน เวน้ ระยะห่าง
- ครู และนกั เรียนทุกคนต้องสวมหนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาเขา้ แถวเคารพธงชาติ
- ทาความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรือจุดสัมผัสเสี่ยง ภายหลังการใช้งานทุกครั้ง เช่น เชือกที่เสาธง
ไมโครโฟน เป็นต้น
2. การเข้าช้นั เรียน
- กอ่ นเข้าช้นั เรียนตอ้ งลา้ งมอื ด้วยเจลแอลกอฮอล์หนา้ หอ้ งเรียนทุกคร้งั
- ครูตรวจเชค็ นกั เรียนทกุ คนให้สวมหน้ากากอนามยั หรอื หน้ากากผ้า เวน้ ระยะห่าง
3. ระหวา่ งอย่ใู นช้นั เรยี น
- ครู นกั เรียนต้องใส่หนา้ กากอนามยั หรือหนา้ กากผา้ ขณะจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
- นักเรยี นนัง่ เรียนทีโ่ ต๊ะเรียนของตนเอง ซึ่งมีการเวน้ ระยะหา่ ง งดการยมื ของใช้ อุปกรณ์การเรยี นของ
เพ่ือนรว่ มชัน้ เรยี น
- หลกี เลยี่ งกจิ กรรมทตี่ ้อง สัมผัสแตะตอ้ งตวั กัน
- ทาความสะอาดอุปกรณป์ ระกอบการสอน เช่น mouse คอมพิวเตอร์ แปรงลบกระดาน เป็นต้น รวมถึง
อปุ กรณ์สื่อการสอนท่เี ดก็ ต้องหยิบ ต้องสัมผัส
4. ช่วงพัก
- ครปู ระจาชัน้ หรือครทู ไ่ี ดร้ ับมอบหมายสงั เกตดกู ารเลน่ ของนักเรียน ถ้าพบเห็นมีกิจกรรมใดท่ีเส่ียงต่อ
การระบาดของโรค ควรเขา้ ไปให้คาแนะนา
- มกี ารเหล่อื มเวลาพักเพอื่ ลดความแออัด และไมจ่ ดั กจิ กรรมทเี่ กิดการรวมกลุ่มของนกั เรยี น
- แนะนานกั เรียนใหล้ ้างมอื ด้วยเจลล้างมอื หรอื เจลแอลกอฮอล์ ก่อนเขา้ หอ้ งเรยี นทกุ ครงั้
5. การรับประทานอาหารกลางวนั
- ลา้ งมือบอ่ ย ๆ ดว้ ยเจลลา้ งมือหรือใชเ้ จลแอลกอฮอลท์ าความสะอาดมอื ทุกคร้ังกอ่ นเข้าไปในโรงอาหาร
ก่อนกนิ อาหาร ภายหลังซอ้ื อาหาร หลงั จากสมั ผสั สงิ่ สกปรก หรอื หลังออกจากหอ้ งสว้ ม
หน้า 28
- ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงอาหารหรือเข้าไปในสถานที่
จาหนา่ ยอาหาร
- เลือกซื้ออาหารปรุงสาเร็จสุกใหม่ หลีกเลี่ยงการกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ที่ปรงุ ไมส่ ุก
และตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันที เช่น สภาพอาหาร กลน่ิ ความสะอาด มีการปกปดิ อาหารมิดชิด
- เว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล ในการรอซ้ืออาหาร ขณะน่ังรบั ประทานอาหาร
- การรับประทานอาหารกลางวันแตล่ ะระดบั ช้ันมกี ารเหลื่อมเวลาพกั รบั ประทานอาหารกลางวัน เพอ่ื ลด
ความแออัด
- ครูผูส้ อนสงั เกตอาการเด็กนักเรียนในชัน้ เม่ือพบเดก็ มีอาการผิดปกติ ไมส่ บาย มีการตรวจวัดอุณหภูมิ
ร่างกายโดยใช้เครื่องมือวัดแบบมือถือจ่อหน้าผาก หากพบมีไข้ ให้ส่งต่อห้องพยาบาลของโรงเรียนเพื่อให้
ผูป้ กครองมารับกลับบา้ น
6. การเจ็บป่วยระหวา่ งเรียน
- ครูประจาชนั้ /ครูประจาวชิ า พบนกั เรยี นมีอาการดังต่อไปน้ี มไี ข้ ไอ เจ็บคอ มนี ้ามกู หายใจ
เหน่อื ยหอบ ส่งตอ่ ไปท่ี ฝา่ ยพยาบาลของโรงเรียนเพอื่ ประสานงานใหผ้ ูป้ กครองมารับกลับบา้ น
- ครูผดู้ แู ลตดิ ตามข้อมูลอาการของนกั เรยี น และสรปุ รายงานประจาวันสง่ ฝ่ายบริหารของโรงเรียน
- เมื่อนักเรียนหายป่วยแล้ว และจะกลับเข้าเรียนตามปกติ ให้นักเรียนนาหลักฐานใบรับรองแพทยม์ า
ยืนยนั กับโรงเรียนทกุ ครัง้
หนา้ 29
มาตรการกอ่ นเข้าเรียนและหลงั เลิกเรียน
การปฏบิ ตั ิกอ่ นเข้าเรยี น
จดุ คัดกรอง
1. นกั เรยี น และ ครูทุกคนต้องผา่ นจดุ คัดกรองของโรงเรยี น มีข้นั ตอนดังนี้
- ยนื รอควิ ตามสญั ลักษณ์ โดยเว้นระยะห่าง ก่อนเขา้ จุดคดั กรอง
- ตรวจเช็คการสวมหนา้ กากอนามยั
- วดั อณุ หภมู ริ ่างกาย ดว้ ยเครอ่ื งวัดอุณหภมู ิแบบแสกนขอ้ มือ
- ลา้ งมือดว้ ยเจลแอลกอฮอล์
เกณฑก์ ารคัดกรองเบอื้ งต้นทีไ่ ม่สามารถผ่านจดุ คดั กรอง
- มไี ข้ 37.5 องศาเซลเซียส ขึน้ ไป (จากเครอ่ื งวดั ไข้)
- ไอ เจบ็ คอ มนี า้ มกู หายใจเหนอ่ื ยหอบ
- ไมร่ ับรกู้ ล่นิ ,รส
กรณีทไี่ ม่พบอาการทั้ง 3 อย่าง อนุญาตใหน้ กั เรียนเข้าไปในพน้ื ที่ อาคารเรยี นเพือ่ ทาการเรยี นได้
กรณีหากนักเรียนมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ถือว่าอยู่ในเกณฑ์เสี่ยง ให้แจ้งผู้ปกครองรับกลับเพื่อนา
นกั เรียนไปปรึกษาเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุขเปน็ เบอื้ งต้นครูประจาชัน้ ตดิ ตามผลการวินิจฉยั จากแพทย์จาก
จากผู้ปกครอง และรายงานต่อผเู้ ก่ียวข้องทราบต่อไป
การปฏิบตั ิหลังเลิกเรยี น
1. ทาความสะอาดผวิ สัมผัสต่าง ๆ ในห้องเรยี น เช่น โต๊ะ เก้าอี้ คอมพิวเตอร์ รีโมท ฯลฯ มีการใช้ผ้าชบุ
นา้ ยาทาความสะอาดเช็ดถู ทกุ วัน
2. ทาความสะอาด ลกู บดิ ประตู ราวบันได ด้วยผา้ ชุบนา้ ยาฆา่ เชือ้
3. ลดการแออัดของผ้ปู กครองทม่ี ารอรบั บตุ ร หลาน โดยขอความร่วมมอื ให้รกั ษาระยะห่างน่งั พักท่ี จดุ พัก
รอท่มี ีสัญลักษณ์เว้นระยะห่าง โรงเรียนได้จดั จดุ พกั รอให้ผู้ปกครอง หากพบวา่ มีการแพร่ระบาดอย่างต่อเน่ือง
ไม่อนุญาตให้ผู้ปกครองเข้าในอาคารเรียน โดยทางโรงเรียนจะประกาศเรียกนักเรียนเป็นรายบุคคลให้กับ
ผู้ปกครองท่มี ารบั ในจดุ ท่ีทางโรงเรียนได้จดั ไวใ้ ห้ เพือ่ เปน็ การเว้นระยะห่างและลดการแออดั
4. สรปุ สถานการณ์แตล่ ะวัน เพือ่ รายงานต่อผบู้ รหิ ารสถานศึกษาล
หนา้ 30
มาตรการเพิม่ เติม
1. นิเทศ ติดตาม ประเมนิ สถานการณ์ ของระดบั ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
2. นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ สถานการณ์ ภาพรวมของโรงเรยี น โดยทีมบรหิ ารโรงเรียน
3. ประมวลผล สรปุ ข้อมูลภาพรวมรายวัน /รายสัปดาห์/ รายเดือน
4. ให้ข้อมูลย้อนกลับผลการปฏิบัติตามมาตรการต่าง ๆ ของโรงเรียน นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุง
การดาเนนิ การในมาตรการที่ยงั มจี ุดอ่อน
5. กาหนดมาตรการชว่ ยเหลอื นักเรียน 4 ด้านคอื
- ดา้ นการเรยี น
- ดา้ นจิตใจและทักษะชีวติ
- ด้านค่าเล่าเรียนและกองทนุ โควดิ
- ด้านสุขภาพ
6. รายงานผบู้ รหิ ารในเครอื ขจรเกยี รติอย่างต่อเนื่องเพ่อื ประเมินสถานการณอ์ ยา่ งต่อเนื่อง
หน้า 31
ภาคผนวก
หนา้ 32
ปฏทิ ินการทางานชว่ งสถานการณแ์ พรร่ ะบาดโรค COVID-19
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นขจรเกยี รตโิ คกกลอย
วนั /เดอื น/ป กิจกรรม ผรู้ ับผิดดชอบ
15 ต.ค. 64
ศึกษาแนวทางการเปดิ สถานศึกษาในสถานการณ์แพรระบาด ผูบ้ รหิ ารในเครอื ขจรเกียรติ
1 พ.ย. 64 โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร่วมกบั คณะผบู้ ริหารภายใน
โรงเรียน
5 พ.ย. 64
8 พ.ย. 64 ประชุมผปู้ กครองใหท้ ราบถงึ แนวการดาเนินการในการเปิดภาคเรียนใน ผบู้ รหิ ารในเครือขจรเกียรติ รว่ มกับ
10 พ.ย. 64 ทุกระดับชั้น จากนัน้ สง่ Google form ถงึ ผู้ปกครองเพ่ือแจ้งความ คณะผบู้ รหิ ารภายในโรงเรียน
10 พ.ย. 64 ประสงคใ์ นการเรียนของนกั เรยี นว่าจะเรยี นในรูปแบบ On- site หรือ
12 พ.ย. 64 On-Line
13 พ.ย. 64 ผูป้ กครองส่งกลบั ขอ้ มูลในการแจง้ ความประสงค์ในการเรยี นของ ครูประจาชนั้
13 พ.ย. 64 นักเรียนวา่ จะเรยี นในรูปแบบOn- site หรอื On-Line
15 พ.ย. 64
ฝา่ ยบรหิ ารโรงเรยี นนาเสนอรูปแบบการสอนต่อประธานและรอง คณะผบู้ รหิ ารภายในโรงเรียน
ประธานโรงเรยี นในเครอื ขจรเกียรติ
โรงเรียนทาการประเมนิ ความพร้อมในการเปิดเรียนผา่ น TSC ของกรม ครูผู้รบั ผิดชอบโครงการ
อนามัยและรายงานการตดิ ตามการประเมนิ ผลผ่าน MOECOVID
แจ้งข้อปฏบิ ัตแิ ละแนวทางการตรวจ ATK ของนักเรียนท่ีจะมาเรียน คณะผู้บรหิ ารภายในโรงเรยี น
แบบ On- site ที่โรงเรียนใหก้ บั ผ้ปู กครองไดร้ ับทราบ
นักเรียนทาการตรวจ ATK ผู้ปกครองสง่ หลักฐานการตรวจตาม ครปู ระจาชั้น
แนวทางท่ีโรงเรียนกาหนดใหก้ ับทางคุณครูประจาชน้ั เพอื่ ทาการ
ประมวลผลและจะมีการตรวจทุก 2 สัปดาหห์ ลังเปิดภาคเรียน
ทาการตรวจ ATK ของครู บุคลากร คนขับรถ แม่ครัว แมบ่ า้ นและคน ครผู รู้ ับผดิ ชอบโครงการ
สวน
ตรวจความพรอ้ มทุกจดุ ของโรงเรยี นเพ่อื เตรียมความพรอ้ มการเปิด คณะผ้บู รหิ ารภายในโรงเรียน
เรยี น
เปิดเรยี นภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ปฏิบัติตามมาตรการตลอด คณะผบู้ รหิ ารภายในโรงเรยี น
ภาคเรยี น
หน้า 33
ผลการประเมินความพรอ้ มของโรงเรยี นผ่านระบบ Thai Stop Covid + (TSC+)
โรงเรียนขจรเกียรตโิ คกกลอย ได้ประเมนิ ตนเองเตรียมความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรยี นตามแบบประเมิน
ตนเองในรูปแบบของ Digital Platform ผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) กรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข เม่อื วันท่ี 19/05/2021
หนา้ 34
หนา้ 35
หนา้ 36
หนา้ 37
หนา้ 38
หนา้ 39
ฃ
หนา้ 40
หนา้ 41
หนา้ 42
หนา้ 43
หนา้ 44
หนา้ 45
หนา้ 46
1
หนา้ 47
หนา้ 48
หนา้ 49
44
หนา้ 50