The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิถีชุมชนบ้านหนองแดง-ตำบลบ้านจันทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-12-17 00:35:11

วิถีชุมชนบ้านหนองแดง-ตำบลบ้านจันทร์

วิถีชุมชนบ้านหนองแดง-ตำบลบ้านจันทร์

คานา

หนังสือเร่ืองวิถีชุมชนบ้านหนองแดง ตําบลบ้านจันทร์
อําเภอกลั ยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่จัดทําขึ้นเพื่อเล่าประสบการ
ใช้ชีวิตในชุมชน จัดทําข้ึนเพื่อให้เป็นอีกหนึ่งแนวทางสําหรับผู้ที่
สนใจในเร่อื งน้ี ซ่งึ หนงั สือเล่มนป้ี ระกอบไปดว้ ย ประวัติความเป็นมา
และวถิ ชี ีวิตในชุมชน เป็นต้น หนงั สือเลม่ นส้ี ําเรจ็ ออกมาโดย

ผู้จัดทําค้นคว้าเนื้อหาทั้งหมดจาก ภายในชุมชน จึงหวัง
เป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์สําหรับผู้สนใจทั่วไป
และหาก หนังสือเล่มน้ีมีข้อบกพร่องประการใดหวังว่าคงจะได้รับ
คําแนะนําจากท่านผู้รู้ท้ังหลายผู้จัดทําจึงขอขอบคุณล่วงหน้านะ
โอกาสนี้

จดั ทําโดย

นางสาว ดาวฤมล สิทธค์ิ งชนะ

สารบญั หน้า

เรื่อง 1-3

1. ประวตั คิ วามเปน็ มา 4-5

1.1 บา้ นโป่งขาว 6
7-10
1.2 บ้านหนองแดง 11-12
2. วถิ ชี ีวติ ในชุมชน 13-17
2.1 วถิ ีชีวติ 18-19
2.2 ความเช่อื ทางศาสนา 20-26
2.3 ท่อี ยอู่ าศัย 27-31
2.4 การแต่งกาย 32-36
2.5 ภาษา 37-56
2.6 อาหาร
2.7 ยาสมนุ ไพร 57-61
2.8 อาชพี 62-66
2.9 วฒั นธรรม/ ประเพณี
3. ปราชญ์ชุมชน 67
3.1 ดา้ นทรัพยากรบคุ ล 68
3.2 ดา้ นภูมิปัญญาชุมชน
4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาหมูบ่ ้าน
4.1 วสิ ัยทศั น์
4.2 พนั ธกิจ

1.ประวัตคิ วามเปน็ มา

1.1 บา้ นโป่งขาว

ประมาณสามชว่ั อายุคนหรอื ราวสองรอ้ ยกวา่ ปีมชี ายคนหนงึ่
ชอ่ื วา่ นายเจอ่ เงพรอ้ มครอบครัวเปน็ ชนเผา่ ปกาเกอ่ ญอท่ปี ระเทศ
พมา่ และไดอ้ พยพเข้ามายังประเทศไทยเพื่อมาหาทส่ี งบสขุ และใน
ที่สุดกไ็ ด้มาพบพื้นท่ีทไ่ี กลจากผู้คนและพ้นที่ทเ่ี ขา้ มาต้งั ถ่นิ ฐานอยู่
บริเวณในพื้นทห่ี มบู่ า้ นหว้ ยฮอ่ มปัจจบุ ัน ต่อมานายเจอ่ เงไดแ้ ตง่ งาน
และมีลกู ชายช่ือว่าวอหมอื่ (เกดิ ที่บา้ นรา้ งเกา่ ของบา้ นหว้ ย
ฮ่อมในปัจจบุ นั ) เช้อื สายวงศ์ตระกูลของนายเจอ่ เงเป็นฮีโข(่ ผนู้ ํา
ดัง้ เดมิ )เดิมบ้านห้วยฮ่อมจะตอ้ งเป็นนายวอหมื่อโดยการสบื ทอด
จากวงศ์ตระกลู แตใ่ นขณะเดียวกนั นายวอหมื่อเป็นคนทชี่ อบ
เดินทางไมเ่ คยอยูบ่ ้านเท่าไรและนายวอหม่อื ไดย้ ้ายไปอยู่ที่ ตําบล
โปง่ สา อําเภอปาย จงั หวัดแม่ฮ่อง

1

ในช่วงท่ีนายวอหม่ือย้ายไปอยู่ท่ีบ้านโป่งสา บ้านห้วยฮ่อมก็ขาด
ผู้นาํ ฮีโข่เพราะโดยการสืบทอดและนายวอหมื่อจะต้องเป็นผู้นําฮีโข่
ในเม่ือไม่มีฮีโข่ชุมชนบ้านห้วยฮ่อมก็ขาดผู้นําไม่สามารถประกอบ
พิธีกรรมได้ชุมชนจึงเลือดผู้นําใหม่ที่ช่ือวงศ์ตระกูลเดียวกั นท่ีเป็น
ผู้ชายและตระกูลที่สามารถขึ้นมาแทนได้ก็ค่ือตระกูลของนายอิเป๊
นายคาเป๊ นายบปะ ขื้นมาเป็นฮีโขข่ องบ้านห้วยฮ่อมและเวลาต่อมา
นายวอหมื่อท่ีไปอยู่ที่บ้านโป่งสาก็ได้ย้ายกลับมาอยู่ที่บ้านห้วยฮ่อม
แต่กไ็ ม่สามารถอยู่ท่ีบ้านห้วยฮ่อมได้เพราะติดเงื่อนไขกฎจารีตของ
ระบบฮโี ข่ถ้านายวอหมือ่ กลับมาอยู่ที่บ้ารห้วยฮ่อมก็จะต้องเป็นฮีโข่
โดยธรรมชาตินั้นหมายถึงบ้านห้วยฮ่อมจะมีฮีโข่สองคนในเวลา
เดียวกนั และฮโี ข่สองคนจะประกอบพิธีกรรมในแม่นาํ้ เดียวกันไม่ได้
ผดิ กฎฮีโข่ นายวอหมอื่ จงึ ตอ้ งไปก่อตง้ั หมูบ่ า้ นใหมท่ ีม่ สี ายน้ําอีกสาย
หนง่ึ และนายวอหมอ่ื กไ็ ด้เลือกพืน้ ท่ีบ้านโปง่ ขาวปัจจุบันเป็นที่ก่อตั้ง
หมูบ่ า้ น

2

สาเหตุของการตง้ั ถนิ่ ฐานของบา้ นโปง่ ขาว

๑.เพราะเงื่อนไขระบบฮโี ข่

๒.พ้ืนทเ่ี หมาะในการกอ่ ตง้ั หมูบ่ ้านเลก็ ๆ

๓.มพี นื้ ท่ที สี่ ามารถบุกเบกิ เปน็ ทม่ี าได้และเป็นศนู ย์กลางของพนื้ ที่
ทํากนิ

ความหมายและความเป็นมาของช่อื หมูบ่ ้านโป่งขาว

เรียกตามลกั ษณะกายภาพของพน้ื ทคี่ อื บริเวณพื้นที่บ้านจะมีดินโป่ง
อยูแ่ ละมดี ินลักษณะสีขาว(เป็นหมู่บ้านเดียวในตําบลบ้านจันทร์ที่มี
ฮโี ข่ (ผู้นาํ ธรรมชาต)ิ

3

1.2 บา้ นหนองแดง

บ้านหนองแดงเป็นหมู่บ้านท่ีแยกมาจากบ้านโป่งขาวเม่ือ 100
กว่าปีที่ผ่าน บ้านหนองแดงอยู่รวมกันบ้านโป่งขาวในสมัยน้ันบ้าน
โป่งขาวมีจํานวนหลังคาเรือนทั้งหมด 45 หลังคาเรือน ต่อมา
ชาวบ้านบางส่วนได้ย้ายไปอยู่ที่ใกล้พ้ืนท่ีทํากิน ท่ี(เส่อเคาะโกล๊ะ)
เพราะพ้ืนที่ทํากินอยู่ไกลอีท้ังบ้านโป่งขาวไม่มีพ้ืนท่ีราบเหมาะใน
การปลูกบ้าน และต่อมาช่วงเวลาสงครามโลกครั้งท่ีสองได้เกิดโรค
ระบาด (ไขท้ รพิษ) ชาวบ้านได้หนีโรคร้ายดังกล่าวได้หนีเข้าป่าเป็น
กลุ่มบ้างเป็นครอบครัวบ้างและบางคนก็รอดจากโรคร้ายบางคนก็
เสียชีวิต เวลาต่อมาเม่ือสถานการณ์เบาบางลงชาวบ้านก็ได้มา
รวมตัวกันมาอยู่ที่บริเวณบ้านห้วยหนองแดงและได้ก่อตั้งเป็น
หมู่บ้านใหม่ ตอนแรกๆครอบครัวที่เข้ามาอยู่ก่อนมีสามครอบครัว
คือ ครอบครัวนายตุ๊ดิ นายพาบุ นายเจ๊าะหยู่ บริเวณที่เข้ามาอยู่
ตอนแรกคือใกล้ๆท่ีนาปัจจุบันของนายโบะพอ และทีหลังก็ได้มา
ยา้ ยทใ่ี นปัจจบุ ัน

4

สาเหตุของการต้งั ถิน่ ฐาน

๑.หนีโรคร้าย

๒.เป็นจดุ ศูนย์กลางพืน้ ท่ที ํากนิ

๓.ลกั ษณะกายภาพเหมาะในการบุกเบกิ ท่นี า

ความหมาของชอ่ื หมบู่ ้าน

เรยี กตามลักษณะกายภาพคอื บรเิ วณใกลห้ มบู่ ้านจะมหี ว้ ยหน่ึงมี
หนองและบึงมนี ้ําสีแดง บ้านหนองแดงกอ่ ต้ังเมอ่ื ประมาณปี พ.ศ.
๒๔๘๘ และเป็นหมบู่ ้านทางการเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ผ้ใู หญ่บา้ นคน
แรกคอื นายชชู ยั เชดิ ศกั ด์สิ ริ กิ ุล เมื่อปี ๒๕๓๙ –๒๕๔๙ คนทีส่ อง
นายวัชระ พริ ยิ ะวรคุณ เมอ่ื ปี ๒๕๔๙ - ปัจจบุ นั

5

2.วิถีชวี ิตในชุมชน

2.1 วถิ ชี วี ิต

ชุมชนของเราตั้งอยู่บนพ้ืนที่สูงมีป่าสนล้อมรอบคนในชุมชน
จะใชช้ วี ิตตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง คนในชุมชนจะใช้ชีวิตร่วมกัน
แบบพ่งึ พาอาศยั ซ่งึ กันและกนั ส่วนมากจะทาํ อาชพี อิสระ ด้ังเดิมจะ
ทําอาชีพ ทําไร่ ทํานา ตามป่าตามเขา ปลูกพืชผักสวนครัวตาม
ฤดูกาล ส่วนสัตว์เลี้ยงจะเล้ียงเพ่ือจะมาประกอบอาหารหรือมา
ประกอบในพธิ ตี ่างแต่งๆ เช่น แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น สัตว์ที่
ชุมชนนิยมเลี้ยง เช่น หมู ไก่ วัว ควาย เป็นต้น คนในชุมชนมีการ
นับถือศาสนาที่ต่างการ ดั้งเดิมจะนับถือผี เพราะสมัยก่อนจะเชื่อ
เร่ืองต้นไม้ป่าใหญ่ แต่ภายหลังคนรุ่นใหม่จะหันมานับถือศาสนา
พุทธ กับ คริสต์ เพราะคนในชุมชนเชื่อว่าทุกศาสนาจะสอนให้เรา
เป็นคนดี ชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกนั

6

2.2 ความเชื่อทางศาสนา

ระบบความเชื่อของคนในชุมชนมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต
และความเป็นอยู่ เชอ่ื เก่ยี วกับความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนษุ ย์กบั มนุษย์
มนษุ ย์กับธรรมชาติและมนุษย์กับส่ิงท่ีลี้ลับ ความเชื่อถือของคนใน
ชุมชนได้แผ่แทรกซึมและมีอิทธิพลมากต่อการประพฤติกรรมการ
ปฏิบัตใิ นชีวิตประจําวัน ดังน้ันคนในชุมชนจึงให้ความสําคัญในทาง
ศาสนามากนั่น คือการนับถือผีและพุทธรวมกัน ผีที่นับถือซึ่งมี
ความสําคัญ ได้แก่ ผีหน้าที่ และผีต่างๆ (ต่ามึข่า) ที่สิงสถิตอยู่ตาม
ป่า ภูเขา ลําห้วย ในไร่ ในนา ในหมู่บ้าน และในเรือนของตนเอง
เป็นต้น ผีทถ่ี อื ว่าเปน็ ผรี า้ ยน้ันเช่อื ว่าเปน็ ผีทจ่ี ะทาํ ให้ประสบภัยพิบัติ
ทงั้ ปวงจงึ ต้องมีการเอาอกเอาใจดว้ ยการเซ่นสังเวยด้วยอาหารต่างๆ
ซงึ่ ได้แก่ หมู,ไก่,เหล้า,ข้าว,ขนม เป็นต้น นอกจากมคี วามเช่ือในเร่ือง
ผีต่างๆ ซ่ึงมีอิทธิพลต่อชีวิตประจําวันต่อพวกเขาแล้ว คนในชุมชน

7

ยังเชือ่ ในเรื่องขวญั ซ่ึงมปี ระจําตัวของแตล่ ะคน

คนในชุมชนยังเชื่อว่าในร่างกายคนเรามีอยู่ทั้งหมด 33 ขวัญ ส่วน
ใหญ่ไม่สามารถนับได้หมดว่า ขวัญอยู่ในส่วนไหนบ้างขวัญอยู่ท่ี
ศีรษะ ขวัญสองทใ่ี บหูทัง้ สองข้าง ขวญั จะละทิ้งหรือหายไปก็ต่อเมื่อ
คนๆน้ันได้ตายไป นอกจากน้ันแล้วเช่ือกันว่าขวัญชอบท่ีจะหนีไป
ท่องเทีย่ วตามความต้องการของมันเอง และก็อาจจะถูกผีร้ายต่างๆ
ทาํ ร้ายหรอื กักขงั ไว้ ซึ่งจะทําให้ผนู้ ้ันล้มป่วย การรกั ษาพยาบาลหรือ
วิธีท่ีจะช่วยเหลือคนเจ็บป่วยได้ ก็คือการล่อและเรียกขวัญให้
กลับมาสู่บุคคลทีเ่ จบ็ ปว่ ย พร้อมกับทาํ พธิ ีผูกข้อมือรับขวัญด้วย โดย
คนในชุมชนนัน้ ถือเปน็ ปกติธรรมดา เมื่อวนั ในหมู่บ้านจะทําพิธีเล้ียง
ผีและการเรยี กขวญั ของคนเจ็บปว่ ยแทนการรกั ษาดว้ ยสมัยใหม่

8

บางคร้งั แมห้ มอจะมีหมอเข้าไปชว่ ยรกั ษาให้ตามแบบทันสมัย แต่ถ้า
หากที่บ้านผู้ป่วยน้ันได้รักษาด้วยการเลี้ยงผีแล้วเขาจะปฏิเสธท่ีจะ
รักษาทันทีอย่างน้อย 3 วัน คนในชุมชนนับถือท้ังศาสนาพุทธ
ครสิ ต์ และนับถือผี ผีมีอยู่ทุกแห่ง ในป่า ในไร่นา ในลําธาร ผีและ
วิญญาณเป็นบ่อเกิดของคุณธรรมและค่านิยมหลายประการ เช่น
การอยู่อย่างผัวเดียวเมียเดียว ไม่ประพฤติผิดลูกเมียใคร หรือการ
เล้ียงดูพ่อแม่ที่ชรา กับความเช่ือที่ว่าวิญญาณของบรรพบุรุษ คือผี
บา้ นเรือนที่คอยค้มุ ครองดแู ลลกู หลานใหอ้ ย่เู ย็นเปน็ สขุ เป็นต้น

9

ผีทีน่ ับถอื คือผีบา้ นและผีเรือน ผีบ้านเป็นผีเจ้าท่ีที่คอยปกป้องดูแล
หมบู่ ้าน ผีเรือนเป็นผีดวงวิญญาณบรรพบุรุษ ซึ่งคอยปกป้องรักษา
บุตรหลานเหลนผู้สืบตระกูลของตนด้วยความห่วงใย นอกน้ียังมีผี
ประจําไร่หรือผีนา ซึ่งจะช่วยทําให้ผลิตผลของไร่นาเจริญงอกงาม
ดงั นน้ั จึงมีการทําพิธีเลี้ยงผีไร่หรือผีนาก่อนทําการปลูกข้าวหรือพืช
ไร่ เมอ่ื เกบ็ เกี่ยวไดผ้ ล กจ็ ะมกี ารเลี้ยงอีกคร้ัง เรียกว่าประเพณีงาน
กนิ ข้าวใหม่ มกี ารฆ่าไก่ฆ่าหมเู ปน็ เคร่อื งเซ่นบูชาดังเช่นประเพณีข้ึน
ปใี หม่ คนในชุมชนท่ีนับถือพุทธก็จะนําอาหารหรือเงินมาถวายพระ
ที่วัด คนในชุมชนมีความเกรงกลัวผีป่า ซึ่งถือว่าเป็นผีร้าย คอยทํา
ร้ายผู้คนมากกว่าจะคุ้มครองป้องกันภัย ผีป่ามี 2 พวกคือ ผีป่าบก
และผีป่าน้ํา ผีป่าบกจะรวมไปถึงผีป่า ผีภูเขา ผีเจ้าบ้าน ผีเจ้าเมือง
เจ้าท่ี ผีหลวงและผีฟ้า ส่วนป่าน้าํ ได้แก่ ผีซ่ึงสถิตอยู่ตามลําห้วย ลํา
ธาร บงึ หนองนํา้ เป็นตน้

10

2.3 ท่ีอยู่อาศัย

คนในชุมชนสร้างบ้านใต้ถุนสูงแบบต่าง ๆ พื้นและฝาฟาก
หลงั คามงุ จากหรือตองตึง ใต้ถุนนั้นเป็นที่นั่งเล่นและทํากิจวัตรเช่น
ตําข้าว ผ่าฟืน เล่ือยไม้ ในเวลากลางวัน กลางคืนก็จะต้อน หมู ไก่
และวัว ควายเข้าล้อมไว้ท่ีใต้ถุนน้ี พ่อบ้านท่ีดีก็มักจะผูกชิงช้าไว้ใต้
ถุนใหล้ ูกเล่น สมาชิกของครอบครัวปูเส่ือนอนกันรอบเตาผิง ซ่ึงอยู่
กลางห้อง อาจมีการกั้นบังตาเป็นสัดส่วนให้ลูกสาววัยกําดัดอยู่
รวมกันมุมหนงึ่ ของหอ้ ง

11

ยุ้งฉางเก็บข้าวเปลือกและพืชผลสร้างต่างหากจากตัวบ้าน
แตจ่ ะต้องอยตู่ ่ํากว่าตัวบ้านแต่จะต้องไม่อยู่หน้าหรือหลังบ้าน หาก
อย่เู ยื้องกันและหากบ้านอยู่บนไหล่เขา ยงุ้ ฉางก็จะต้องอยู่ตํ่ากว่าตัว
บ้าน ถ้าสร้างผิดไปจากธรรมเนียมท่ีว่าน้ีเช่ือว่าจะทําให้เกิดการ
เจ็บป่วยข้ึนในครอบครัวได้ การสร้างบ้านเรือนมีธรรมเนียมอยู่ว่า
ญาติข้างมารดาจะอยู่รวมกลุ่มกัน ไม่ควรมีคนอื่นมา สร้างบ้าน
แทรกกลางบ้านให้ผีบ้านผีเรือนขัดใจ จะต้องไม่สร้างบ้านสามหลัง
ในลักษณะสามเส้า หากฝ่าฝืนข้อห้ามน้ีก็จะมีเหตุเทพภัยอัปมงคล
ตา่ ง ๆ เกิดขึ้น แตล่ ะบ้านไม่จาํ เปน็ ต้องมีครกตําข้าวของตนเองอาจ
ใช้รวมกนั หลาย ๆ ครอบครัวได้ และเป็นชุมชนอีกแหง่ หน่ึง

12

2.4 การแตง่ กาย

เส้ือเด็กและหญิงสาวจะเป็นชุดทรงกระสอบ ผ้าฝ้ายพ้ืนขาว ทอ
หรือปักประดับลวดลายให้งดงาม ส่วนหญิงที่มีครอบครัวแล้วจะ
สวมเส้ือสีดํา นํ้าเงิน และผ้านุ่งสีแดงคนละท่อน ตกแต่งด้วยลูก
เดอื ย ยกลาย สาํ หรับผ้ชู ายกะเหร่ียงนั้นสว่ นมากจะสวมเส้ือตัวยาว
ถึงสะโพก ตัวเสื้อจะมีการตกแต่งด้วยแถบสีไม่มีการปักประดับ
เหมือนเสอ้ื ผูห้ ญงิ

13

เสอื้ สาวโสด (เชกวา)

เส้ือผชู้ าย (เชงอ)

14

เส้อื หญงิ ที่แต่งงานแลว้ (เชซู)

ลายเซมีกอ
ลวดลายทป่ี รากฏบนผืนผ้าเลียนแบบมาจากดอกชบาประกอบด้วย
กลบี ดอกจาํ นวน 4 กลีบขึ้นด้วยลูกเดือย 4 แฉก อาจใช้ลูกเดือย 3-
4 เม็ดเป็นเกสร สีหลักที่ใช้ คือ สีแดงท่ีแสดงให้เห็นถึงความหนัก
แน่น ความกล้าหาญ ความเช่ือมั่นในตนเองและความเสียสละเพ่ือ
ส่วนรวมการปักลายจะเป็นแนวทแยงไขว้กันคล้ายกับรูปกากบาท
ในส่วนบริเวณชายเสื้อจะปักลูกเดือยในแนวทแยงสลบั กัน

15

ลายชะแอ๊ะ
ลายชะแอ๊ะเป็นลวดลายท่ีแสดงถึงความเมตตาและความอ่อนโยน
ของชาวปกาเกอะญอ ส่วนใหญ่มักสวมใส่ในวันมงคล เช่น วัน
แต่งงาน งานปีใหม่เป็นต้น โดยมีความเช่ือว่าหากผู้หญิงคนใดสวม
ใส่เส้ือลายชะแอ๊ะเข้าประกอบพิธีแต่งงาน จะทําให้มีความ
เจริญรุ่งเรืองในการทํางานและครอบครัวมีความสุขลวดลายที่
ปรากฏบนผืนผ้ามีลักษณะคล้ายดอกเรียงกัน โดยมีลายดอกที่ปัก
ดว้ ยลูกเดือยและปักด้วยฝ้ายธรรมดาสลับกัน การปักจะปักในแนว
ทแยง สําหรับดอกที่ปีกด้วยลูกเดือยน้ันประกอบด้วย กลีบดอก
จาํ นวน 4 กลีบ แตล่ ะกลบี ใช้ลกู เดือน 2 เม็ด ส่วนเกสรตรงกลางจะ
เวน้ ว่างไวใ้ หเ้ หน็ เน้ือผ้า สว่ นดอกท่ีปักธรรมดาจะใช้ฝ้าย 2 สีปักไขว้
กันเป็นรูปกากบาท ส่วนมากใช้สีแดงและขาว ในส่วนบริเวณ
ชายเสอื้ จะปักลูกเดอื ยในแนวทแยงสลับกัน

16

ลายเก่อเปเพลย
ลวดลายที่ปรากฏบนผืนผ้าจะมีการปักเป็นวงกลมจํานวน 4-6 วง
แล้ววางรวมกันเป็นกลุ่ม วงกลมแต่ละวงอาจใช้สีเดียวกันหรือ
ต่างกันตามวัสดุธรรมชาติในแต่ละท้องถ่ิน ส่วนขนาดของวงกลม
ความถี่หรือรูปแบบในการจัดวางอาจมีการปรับเปล่ียนให้แตกต่าง
กันบา้ ง รวมถึงมกี ารปกั ลูกเดอื ยคน่ั ระหวา่ งวงกลมแต่ละกลมุ่

17

2.5 ภาษา

คนในชุมชนใช้ภาษากะเหรี่ยงในการพูดและเขียนเป็นของตัวเอง
โดยดดั แปลงจากตัวหนังสอื พม่า ผสมอักษรโรมันลักษณะเด่นๆ ของ
ภาษากะเหร่ียงท่ีแตกต่างจากภาษาไทย ได้แก่ โครงสร้างพยางค์
เสียงพยญั ชนะ และเสียงสระ รวมทง้ั เสียงวรรณยกุ ต์

18

19

2.6 อาหาร

แกงเยน็ ปลา " ญ่า โพ จอ่ื ที"

วตั ถุดบิ
1. ปลาขาวจากแหลง่ นา้ํ ธรรมชาติ
2. เกลือปน่
3. ตะไคร้หนั่ เปน็ ท่อน
4. หอมแดงซอยเปน็ ช้ิน
5. ข่าซอยเป็นช้ิน
6. พรกิ แห้งโลนไฟ
7. บะเกอะเออ (ทาํ มาจากผกั กาดส้มซอยตากแห้ง)
8. ลกู มะกอก
9. ใบผกั ชี
10. นาํ้ เปล่า

20

วิธที า
1. นาํ ปลามาย่างใหส้ กุ
2. นาํ เคร่อื งปรุงท่ีเตรียมไวค้ ลุกให้เข้ากัน
3. ใสเ่ นอื้ ปลาลงไป
4. เตมิ นา้ํ เปลา่ ลงไป
5. นาํ ใบผกั ชี ทีซ่ อยมารวยหน้า

21

แกงข้าวข่ัว "ต่า เคอ่ "
วตั ถุดบิ
1. เนอ้ื ไก่ หรือ เนอ้ื หมู
2. ขา้ วค่ัว
3. ดอกง้วิ
เครอ่ื งแกง (โขลกเครอื่ งแกงทัง้ หมดให้เข้ากัน)
1. กระเทียม
2. ตะไคร้
3. ข่า
4. ขมิน้
5. กะปิ
6. เกลอื

22

วิธีทา
1. นาํ เครื่องแกงมาค่ัวให้เขา้ กัน
2. นาํ เนอื้ หมหู รอื เน้ือไก่ใสล่ งไป
3. เม่ือค่วั เข้าท่แี ล้วเทน้ําลงไปรอจงเดือด
4. ใสข่ ้าวคว่ั ลงไปแลว้ รอจนสุกพอข้าวที่ต้มเรมิ่ เดือดนําเน้อื หมูท่คี ่ัว
กับเครอ่ื งแกงใส่ลงไปแลว้ รอจนสุก

23

แกงเบือ "ต่า คอ พอ้ "

วตั ถดุ ิบ
1. ข้าวสาร
2. หนอ่ ไม้
3. หางไหว
4. เนอื้ ไกห่ รือเนอื้ หมู
เคร่ืองแกง (โขลกเครื่องแกงทั้งหมดใหล้ ะเอียด)
1. กระเทยี ม
2. ตะไคร้
3. ขา่
4. ขม้ิน
5. กะปิ
6. เกลอื

24

วิธที า
1. เอานาํ้ ใส่ลงไปในหมอ้ ที่ตัง้ ไวเ้ ทลงไปพอประมาณ
2. นาํ ขา้ วสารใส่ลงไปในหม้อแกง
3. ในระหว่างทีต่ ้มนาํ้ กบั ข้าวสาร ต้ังกระทะอีกทห่ี น่งึ เทน้าํ มนั ลงไป
นําเคร่ืองแกงท่โี ขลกค่ัว กบั เนอ้ื หมู หรือเนื้อไก่ทเ่ี ตรยี มไว้
4. พอข้าวทตี่ ม้ เรม่ิ เดอื ดนาํ เนอ้ื หมทู ค่ี ั่ว กับเครื่องแกงใส่ลงไปแล้ว
รอจนสกุ

25

น้าพริกถ่วั เนา่ " มอ้ื ซา่ โตท่ ะน่อแคาะ"

วัตถุดิบ
1. ถว่ั เนา่
2. พริกแห้ง
3. กระเทยี ม
4. เกลอื
5. ผกั ชี
วธิ ที า
1. นาํ พริกแห้ง กระเทยี ม เกลอื โขลกใหล้ ะเอียด
2. นาํ ถวั่ เน่าคลุกให้เขา้ กับเครื่องปรุงใส่นาํ้ อุ่นนดิ หนอ่ ยโรยนา่ ดว้ ย
ผักชี

26

2.7 ยาสมุนไพรพ้นื บา้ น

ขา่

สรรพคณุ

1.เหงา้ สดตําผสมกับเหล้าต้ม ใช้ทารักษาโรคผวิ หนังทเ่ี กดิ จากเช้อื
รา เช่น กลาก เกลอ้ื น

2. เหง้าอ่อนตม้ เอานํา้ ดม่ื บรรเทาอาการท้องอดื ทอ้ งเฟอ้ และขบั
ลม

3.ตม้ เอานาํ้ ด่มื ช่วยชว่ ยแก้เสมหะ

27

ขมิ้น

สรรพคุณ
1.เหงา้ ตามสด ใช้ทารักษาบรเิ วณท่มี ีแมลงกดั (ส่วนใหญ่จะใช้
สาํ หรบั เดก็ )
2.เหง้าตามสด ใช้ทาบรเิ วณทีเ่ ปน็ รดิ สดี วงช่วยลดการอกั เสบและ
ช่วยฆา่ เชอ้ื โรค
3.ขมน้ิ มสี ารต่อตา้ นอนุมลู อสิ ระซง่ึ ชว่ ยในการชะลอวัยและชะลอ
การเกดิ ร้ิวรอย

28

กระเจยี๊ บ

สรรพคุณ
1.นาํ ผลกระเจ๊ยี บไปคน้ั เป็นน้าํ ชา ชว่ ยแก้กระหายนํา้
2.น้าํ กระเจ๊ยี บเยน็ ๆ จะชว่ ยใหร้ ่างกายสดชน่ื ขึ้น
3.นาํ้ กระเจย๊ี บก็ชว่ ยลดอาการเปน็ ไข้

29

ใบบัวบก

สรรพคุณ

1.นําใบบัวบกตม้ เอานํา้ ด่มื ชว่ ยแก้ชํ้าใน

2.นาํ ใบบัวบกตม้ เอานํ้าด่ืม ช่วยบาํ รุงรักษาดวงตาและสายตา
เพราะใบบัวบกมีวิตามนิ เอสงู

3.นําใบบวั บกต้มเอานํ้าดมื่ ชว่ ยลดความเครียดและคลายความกงั วล
ได้

30

มะขามป้อม

สรรพคณุ
1.นิยมนาํ มารบั ประทานเพ่ือใหส้ ดชน่ื ชมุ่ คอ แก้กระหาย
2.มสี ารตอ่ ตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ ชว่ ยเสริมสร้างภูมคิ ุ้มกันให้แข็งแรง
3.ใบสดมะขามปอ้ มนํามาต้มนํา้ อาบ ช่วยลดอาการไข้

31

2.8 อาชีพ
อาชพี หลัก
1.ทาํ นา

คนในชุมชนสว่ นใหญ่จะทํานาขั้นบันใด จะเร่ิมทาํ ตั้งแตเ่ ดอื น
มถิ ุนายน – พฤศจกิ ายน

32

2. ทําไร่

คนในชุมชนทาํ ไร่ในการปลูกข้าวเพราะชาวบ้านบางคนไมม่ ที ี่นา ใช้
เป็นไร่หมุนเวียน คือ ทําไปแล้วก็พักท้ิงไว้ 3-7 ปี ก็จะกลับมาทํา
ใหมว่ นเวียนกนั อยา่ งนีต้ ลอดไปเพ่ือป้อนกันการสูญเสียของหน้าดิน
อันจะทําใหห้ นา้ ดนิ เส่ือมคุณภาพ จะเริ่มทําตั้งแต่เดือน มิถุนายน –
พฤศจกิ ายน

33

อาชพี เสรมิ
1.เลย้ี งสัตว์

คนในชุมชนส่วนใหญ่จะเล้ียงสัตว์ไว้รับประทานน้อยกว่าเลี้ยงขาย
ส่วนใหญ่ท่ีชาวบ้านเล้ียง หมู ไก่ วัว ควาย นอกจากน้ันแล้วสัตว์
ชนิดต่างๆยังถูกนะนํามาใช้ทําเป็นพิธีต่างๆ เช่น งานแต่งงานก็จะ
เป็นฆา่ หมเู ลยี้ งแขก พิธีมัดมือจะใชไ้ ก่ในการทําพธิ ี เป็น

34

2. ทําการเกษตร

คนในชุมชนจะทาํ การเกษตรในช่วงทีว่ า่ งจากการปลูกข้าวเสร็จ เพ่ือ
เป็นรายได้เสริมให้กับตัวเองและปลูกไว้ทานภายในครอบครัว
ชาวบ้านส่วนใหญจ่ ะปลกู ถว่ั ลิสง ฟักทอง เปน็ ต้น

35

3. รบั จา้ งท่ัวไป

การรบั จ้างในอดตี ไม่มีการรบั จา้ งแต่จะเป็นการช่วยเหลือซึ่งกันและ
กันมากกว่า โดยภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า (มาเด๊าะมากะ)
หมายความว่า การลงแขก ซ่ึงลักษณะจะเป็นแบบการเวียนกันใน
บ้านบ้านแต่ละหลัง แรกทํางานบ้านอ่ืนๆก็จะมาช่วยกัน และ
ผลัดเปลี่ยนการไปจนครบทุกหมู่บ้าน การตอบแทนก็จะเป็นข้าว
อาหาร ที่นํามาเล้ียงสู่กัน แต่การรับจ้างปัจจุบัน เป็นการจ้างแบบ
ขายแรงงาน คือการทํางานจะต้องมีการจ้างวานกันและได้รับค้า
ตอบแทนเป็นเงิน

36

2.9 วัฒนธรรม/ประเพณี
ประเพณแี ตง่ งาน
ผู้หญิงจะเป็นคนเลือกคู่ครองเองก่อนแต่งงานเจ้าสาว

จะตอ้ งทอเส้ือกับย่ามให้เจ้าบ่าว วันแต่งท้ังเจ้าบ่าวเจ้าสาวจะต้อง
ฆ่าหมกู ับไก่เพือ่ ทาํ พิธแี ละเพือ่ เปน็ อาหารเลย้ี งแขกท่ีมารว่ มงาน

เร่ืองราวการสู่ขอ เม่ือทุกคนรับรู้แล้วว่าทั้งสองชอบพอกัน พ่อแม่
และญาตขิ องฝา่ ยหญิงจะส่งคนไปขอฝา่ ยชาย เพื่อสอบถามให้แน่ใจ
วา่ ฝา่ ยชายรกั และยินดีท่ีจะแต่งงานกับฝ่ายหญิง หากฝ่ายชายยินดี
แต่งงานก็จะมีการพูดคุยเกี่ยวกับวันเวลาที่จะทําพิธี (ตามหลัก
ประเพณีของคนในชมุ ชนฝ่ายหญิงต้องไปขอฝ่ายชาย) เม่ือฝ่ายชาย
ตกลงและมีการนัดหมายวันทําพิธีเรียบร้อยแล้วฝ่ายชายก็จะส่งเถ้า
แก่ (เจอะโหล)่ ไปทาํ พิธีหมัน่ หมาย

37

ฝ่ายหญิงก่อนวันแต่งงานในพิธีจะต้องฆ่าไก่สองตัว เพ่ือทําอาหาร
เล้ียงรับรองเถ้าแก่ของฝ่ายชายและวันรุ่งขึ้นก็จะพูดคุยนัดหมาย
เวลาท่ีฝ่ายชายและเพ่ือนๆจะมาหาฝ่ายหญิงเพ่ือประกอบพิธีทาง
ศาสนา

38

ประเพณีเลีย้ งผขี นุ นา้ หรอื ผีฝาย
ใน สมัยโบราณชุมชน จะอาศัยอยู่ร่ว มกัน และ มี
ความสมั พันธเ์ ก่ียวขอ้ งกนั ไปตามสายนาํ้ หรอื ลมุ่ น้าํ เพราะลุ่มนา้ํ เป็น
แอ่งท่ีราบเดียวกัน เป็นทั้งเส้นทางคมนาคม และใช้ทรัพยากรน้ํา
ร่วมกัน โดยเฉพาะน้ํา เป็นส่ิงสําคัญท้ังในการบริโภคอุปโภคและ
การเพาะปลูก จึงต้องมีระบบการจัดสรรแบ่งปันทรัพยากรน้ําให้
เรียบร้อย ซ่ึงก็คอื ระบบเหมอื งฝาย ท่ีเป็นภูมิปัญญาของคนล้านนา
มาแต่โบราณ และประเพณีเล้ียงผีขุนนํ้า ก็เป็นส่วนหน่ึงระบบ
เหมืองฝาย ด้วยเหตุนี้บางคร้ัง จะมีการเรียกการเล้ียงผีขุนนํ้าว่า
เล้ียงผฝี าย ดว้ ย

39

การเลี้ยงผีขุนนํ้า หรือ ผีฝาย คือ การทําพิธีสังเวยผีหรือเทวดา
อารกั ษ์ ผเู้ ปน็ หัวหน้าของผอี ารักษท์ ัง้ หลาย ท่ที ําหน้าที่ ปกปักรักษา
ป่าไม้อันเป็นต้นนํ้าลําธาร เพื่อเป็นการขอบคุณที่บันดาลให้ฝนตก
และมนี ้ําจากขุนนา้ํ หรือตน้ นํ้าไหลลงมาให้ใช้ในการเพาะปลูก ทําไร่
ไถนา ที่ผู้คนในชุมชนท่ีอยู่ในสายน้ําเดียวกัน ต้องถือปฏิบัติเล้ียงผี
ขนุ นา้ํ รว่ มกัน

ดังนั้นการนับถือผีขุนน้ําและระบบเหมืองฝาย จึงเป็นระบบสังคม
และวฒั นธรรมของคนในชุมชน ท่ีจะเปน็ กลไกทําหนา้ ท่ีควบคุมผู้คน
ในชุมชน ไม่ให้มีการทําลายป่าอันเป็นแหล่งต้นน้ํา และใช้
ทรพั ยากรนํ้าอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

40

ประเพณผี ูกขอ้ มอื
พิธีการผูกข้อมือเป็นพิธีการท่ียืดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา
ตัง้ แต่บรรพบุรุษจนถึงปจั จุบนั ซง่ึ มคี วามเช่อื เรื่องขวัญว่า เมื่อขวัญ
ตกหล่นหรือหนีหายไปจากตัวเรา จนเป็นเหตุทําให้ตัวเราเจ็บไข้ได้
ป่วย จงึ ต้องมกี ารผูกขอ้ มือเพอื่ เรียก ขวัญ ให้กลับมา โดยทุกๆปีจะ
มีการผูกข้อมือทั้งหมดสองคร้ัง คือช่วงเดือนกุมภาพันธ์กับเดือน
สงิ หาคม

41

ประเพณีสบื ชะตา
พิธีสืบชะตา เป็นพิธีกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการดําเนินชีวิต
ของชาวล้านนา ท่ีเช่ือกันว่าเป็นการต่ออายุหรือต่อชีวิตของ
บ้านเมืองหรือของคนให้ยืนยาว มีความสุข ความเจริญ ตลอดจน
เป็นการขจัดภัยอันตรายต่างๆ ท่ีจะบังเกิดขึ้นให้แคล้วคลาด
ปลอดภยั

สืบชะตาคน
นิยมทาํ เมือ่ ข้ึนบ้านใหม่ ย้ายที่อยูใ่ หม่ ได้รบั ยศหรือตําแหนง่ สูงขน้ึ
วนั เกิดทค่ี รบรอบ เช่น 24 ปี 36 ปี 48 ปี 60 ปี 72 ปี เป็นต้น หรอื
ฟ้ืนจากป่วยหนัก หรือมผี ู้ทักทายวา่ ชะตาไมด่ ี จาํ เปน็ ต้องสะเดาะ
เคราะห์และสบื ชะตา เป็นตน้

สบื /ชะตาบา้ น
นิยมทําเมอ่ื คนในหมูบ่ ้านประสบความเดือดร้อน หรือ
เจ็บไข้ไดป้ ว่ ยกันทว่ั ไปในหมูบ่ า้ น หรอื ตายติดตอ่ กนั เกิน 3 คนข้ึนไป
ถือเป็นเสนียดของหมู่บ้าน คนในหมู่บ้านอาจพร้อมใจกันจัดในวัน
ปากปี ปากเดือน หรอื ปากวัน คือวนั ทห่ี นง่ึ สอง หรอื สามวันหลังวัน
เถลงิ ศก เพ่ือให้เกิดความเปน็ สริ ิมงคล บางท้องถ่ินมีการทําพิธีในวัด
ประจําหมูบ่ ้าน

42

สบื ชะตาเมือง
จดั ขน้ึ เมื่อบา้ นเมอื งเกิดความเดอื ดร้อนจากอิทธิพลของ
ดาวพระเคราะห์ตามความเช่ือทางโหราศาสตร์ เพราะทําให้
บ้านเมืองปั่นป่วนวุ่นวาย เพราะการจลาจลการศึกหรือเกิดโรคภัย
แกป่ ระชาชนในเมือง

43

ประเพณีข้นึ ปใี หม่
ป ร ะ เ พ ณี ก า ร ข้ึ น ปี ใ ห ม่ ข อ ง ค น ใ น ชุ ม ช น อี ก อ ย่ า ง ว่ า
ประเพณมี ัดมือ เร่มิ กอ่ นท่ีจะลงมือทําไรท่ าํ นา ซึ่งอย่ใู นช่วงต้นเดือน
กมุ ภาพนั ธข์ องทุกปี โดยหมอผีเป็นผู้หาฤกษ์งามยามดี แล้วนัดแนะ
ให้ชาวบ้านเตรียมอาหาร สุรา และขนมซ่ึงทําจากข้าวเหนียว โดย
นาํ ข้าวเหนียวมาน่ึงแล้วเอามาตํากับงา ภาษากะเหรี่ยงเรียกขนมน้ี
วา่ “เมโตพ่ ่ี” หรือทางภาคเหนือเรียกวา่ “ขา้ วป๊กุ ”

พิธีจะเริ่มตั้งแต่เช้า โดยผู้ท่ีอาวุโสท่ีสุดในบ้าน จะนําเอา
เคร่อื งเซ่นไหว้ผีบ้านผีเรือน ซ่ึงประกอบด้วย เหล้า ขนม ไก่สองตัว
คือตัวผู้หน่ึงตัวและตัวเมียหนึ่งตัว และเส้ือผ้าชุดใหม่หน่ึงชุดของ
เจา้ ของบ้านนน้ั นาํ มาวางไว้ตรงบันไดบ้าน และผู้ประกอบพิธีจะถือ
ไม้ซึ่งเป็นท่ีตักข้าว เคาะตรงบันได เพ่ืออัญเชิญผีบ้านผีเรือนมารับ
ของเซ่นไหว้ พร้อมกับการภาวนาเป็นภาษากะเหร่ียงให้ปกป้อง
คุ้มครองสมาชิกภายในครอบครัวให้มีชีวิตอย่างมีความสุข ตลอด

44

จนถึงการทาํ ไรทํานาให้ได้ผลผลิตท่ีดีและพอเพียงต่อความต้องการ
ของครอบครัว จากนั้นจะดงึ ขนไกใ่ ส่ลงไปในกระบอกไมไ้ ผซ่ ่ึงทาํ เป็น
บันไดบ้านท้ังสองข้าง นับว่าเป็นสัญลักษณ์แทนตัวไก่พร้อมกับใส่
ขนมคือข้าวปุ๊กและเหล้าอย่างนิดหน่อย ต่อไปก็ทําการเคาะไม้ตัก
ข้าวกบั เสาไมไ้ ผ่ทท่ี ําเป็นร้านเหนือเตาไฟในครัวเพื่อเซ่นผีประจําเตา
ไฟอกี คร้งั หนง่ึ โดยในมืออีกข้างผู้ทําพิธีจะถือไก่ไว้ด้วย เสร็จแล้วนํา
ไกไ่ ปฆ่าเพ่อื เปน็ อาหารของสมาชิกในครอบครัวหรือญาติพี่น้อง ใน
พิธชี ว่ งน้ี สมาชิกคนอื่นๆ ในบ้านจะต้องอยู่พร้อมหน้ากัน ห้ามมิให้
ไปไหนในระหว่างพธิ ี ตอ่ จากน้นั จะมีการมัดมือ

45

โดยมีหมอผีประจําหมู่บ้านจะรับสุราซึ่งชาวบ้านเรียกว่า
“หัวเหล้า” จากหัวหน้าครอบครัว สรุ าขวดนีเ้ ปน็ สรุ าขวดแรกท่ีกล่ัน
ได้จากหม้อต้มสุรา สุราแก้วแรกต้องรินให้หมอผี หมอผีจะยกแก้ว
ข้ึนเสมอศีรษะ แล้วอธิษฐานเช้ือเชิญบรรดาผีทั้งหลายให้ลงมาด่ืม
สรุ าโดยพรอ้ มเพรียงกัน ขอร้องวิงวอนให้ช่วยดูแลคุ้มครองป้องกัน
ภยั อนั ตรายทั้งปวง และขอให้พืชผลทจี่ ะทาํ การเพาะปลูกต่อไปงอก
งาม ได้ผลอดุ มสมบรู ณพ์ ูนสุข หมอผีจะรินสุราของแต่ละครอบครัว
น้ันลงบนพื้นประมาณ 10 หยด สําหรับให้ผีท้ังปวงด่ืม แล้วหมอผี
จะต้องจิบดื่มนิดหน่ึงก่อนท่ีจะส่งให้ผู้อาวุโสตามลําดับ จนถึงเด็กท่ี
น่งั ร่วมวงดว้ ย และมีการนําดา้ ยท่เี ตรียมไวผ้ ู้ข้อมอื บรรดาพ่ีน้องของ
ตนและคนอ่นื ๆ ทีม่ าร่วมในพิธี ขณะกาํ ลังผกู ขอ้ มอื กจ็ ะให้ศีลให้พร
ไปด้วย เมื่อเสร็จพิธีจากบ้านหน่ึงแล้ว หมอผีก็จะไปทําพิธีท่ีบ้าน
อื่นๆ ต่อไป โดยทําเช่นเดิมอีก เพ่ือความครึกคร้ืนสนุกสนานให้สม
กบั เป็นพิธีขน้ึ ปใี หม่ ตา่ งรว่ มร้องเพลงตามทํานองของเขา

46

การเกิด
เม่ือทารกเกิด สายรกที่ตัดออกไปแล้วก็จะบรรจุลง
กระบอกไม้ไผ่ปิดฝาดว้ ยเศษผา้ แล้วนําไปผูกไว้ตามต้นไม้ในป่ารอบ
หมบู่ า้ น ต้นไม้ต้นน้ันเรียกช่ือว่า “เดปอทู่” แปลว่าต้นสายรก และ
ต้นไม้ต้นน้ีจะห้ามตัดโดยเด็ดขาด เพราะเชื่อว่าขวัญของทารกจะ
อาศัยอยทู่ น่ี ั่น หากตัดท้งิ จะให้ขวัญของทารกหนีไปและทําให้ทารก
ลม้ ป่วยลง หากว่าผู้ใดผู้หนึ่งตัดต้นไม้ต้นน้ีโดยเจตนาหรือไม่เจตนา
จะตอ้ งถกู ปรบั ด้วยไก่หน่ึงตัว พ่อแม่ก็นําไก่ตัวนี้ไปทําพิธีเรียกขวัญ
ทารกกลบั คืนมา


Click to View FlipBook Version