รายงาน
เรื่อง การตั้งราคาขายปลีกค้าส่ง
เสนอ
อาจารย์ วงเดือน พูนสวัสดิ์
จัดท าโดย
นางสาว กฤติยา บุญอนันต์ เลขที่ 2
นางสาว ธมลวรรณ พินิจมนตรี เลขที่ 11
นางสาว นลินี สมอโพรง เลขที่ 12
ระดับชั้น ปวส 1/2 แผนกการตลาด
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา
การบริหารการค้าปลีกและค้าส่ง (3202-9009)
ภาคเรียนที่ 2/2561
วิทยาลัยเทคนิคระยอง
ค าน า
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการบริหารค้าปลีกและค้าส่ง จัดท าขึ้นเพื่อให้ได้ศึกษาหา
ความรู้เรื่องการตั้งราขายปลีกค้าส่งและได้ศึกษาอย่างเข้าใจและสามารถน าไปใช้เพื่อการเรียนการสอนให้
นักเรียน นักศึกษาที่สนใจได้ศึกษาค้นคว้าต่อไป ทั้งนี้ผู้จัดท าหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่
สนใจที่ได้ศึกษาไม่มาก็น้อย หากผิดพลาดประพลาดประการใดผู้จัดท าต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
นางสาว กฤติยา บุญอนันต์
นางสาว ธมลวรรณ พินิจมนตรี
นางสาว นลินี สมอโพรง
ผู้จัดท า
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ความหมายของราคา มูลค่า และอรรถประโยชน์ 1
ความส าคัญของราคา 2
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งราคา 3 - 5
นโยบายในการก าหนดราคา 6 - 7
วิธีการตั้งราคาของธุรกิจค้าส่ง 7 - 8
วิธีการตั้งราคาของธุรกิจค้าปลีก 8
ประวัติผู้จัดท า
บรรณานุกรม
1
ความหมายของราคา มูลค่า และอรรถประโยชน์
ราคา (Price) หมายถึง จ านวนเงินที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ (สินค้าและ/หรือบริการ)
โดยผู้ซื้อและผู้ขายตกลงกัน ราคาเป็นปัจจัยหนึ่งของส่วนประสมการตลาดที่จะก่อให้เกิดความพึงพอใจต่อ
ผู้บริโภค หากประเมินว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีมูลค่า (Value) และก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ (Utility) เหมาะสมกับ
ราคาหรือจ านวนเงินที่จ่ายไป
มูลค่า (Value) หมายถึง ผลของการประเมินที่ก าหนดในรูปของเงินตราที่สามารถสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้า
อรรถประโยชน์ (Utility) หมายถึง ผลประโยชน์ที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ว่าน าไปท าอะไรได้บ้าง เกิด
ประโยชน์ต่อผู้บริโภคอย่างไรบ้าง อรรถประโยชน์แบ่งออกเป็น 5ประเภท
1.อรรถประโยชน์ด้านรูปแบบ (From Utility)
2.อรรถประโยชน์ด้านเวลา (Time Utility)
3.อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ (Place Utility)
4.อรรถประโยชน์ด้านการเป็นเจ้าของ (Possession Utility)
5.อรรถประโยชน์ด้านภาพพจน์ (Image Utility)
ดังนั้นนักการตลาดจึงต้องค านึงถึงมูลค่าและอรรถประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ในสายตาของผู้บริโภคใน
การก าหนดราคาเพื่อยึดหลักความพึงพอใจของผู้บริโภคเพราะมิได้หมายความว่าผู้บริโภคจะต้องการซื้อ
ผลิตภัณฑ์ที่มีราคาต่ าเสมอไป ผลิตภัณฑ์บางชนิดหากขายราคาต่ ามาก ๆ อาจขายไม่ออกก็ได้เพราะผู้บริโภค
ประเมินมูลค่าและอรรถประโยชน์ต่ า หรือหากขายราคาสูง มาก ๆ ก็อาจขายไม่ได้เช่นกัน หากผู้บริโภค
ประเมินแล้วรู้สึกว่าแพง เป็นต้น ราคาจึงมีความส าคัญอย่างยิ่งในหลาย ๆ ด้านด้วยกันเพราะราคาเป็นปัจจัย
ตัวเดียวในส่วนประสมการตลาดที่ก่อให้เกิดรายได้ต่อกิจการส่วนองค์ประกอบอื่น ๆ ล้วนแล้วแต่เป็นค่าใช้จ่าย
ทั้งสิ้น
2
ความส าคัญของราคา
1.ท าให้กิจการอยู่รอด ราคาถือเป็นเครื่องมือในการแข่งขัน เป็นตัวก าหนดปริมาณความต้องการซื้อ ดังนั้นการ
ก าหนดราคาที่เหมาะสมจะท าให้ขายสินค้าได้จ านวนมาก ซึ่งก่อให้เกิดรายได้และท าให้กิจการอยู่รอดได้
2.ท าให้เกิดรายได้จากการขาย จุดมุ่งหมายของการด าเนินธุรกิจคือการสร้างรายได้และสร้างผลก าไร ดังนั้น
ราคาจะประกอบด้วย ต้นทุนบวกค่าใช้จ่ายและก าไรที่ต้องการ ถ้าต้นทุนและค่าใช้จ่ายมีการเปลี่ยนแปลงก็จะ
ท าให้มีผลต่อก าไรและราคาของสินค้านั้นด้วย
3.เป็นพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจ กลไกของราคาและการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจเป็นเครื่องมือที่ส่งผลต่อ
การจัดสรรทรัพยากรการบริหารอื่นๆของกิจการ เนื่องจากราคามีผลต่อการหมุนเวียนของเงินตรา
4.ราคามีผลกระทบต่อส่วนประสมทางการตลาด ในด้านต่าง ดังนี้
4.1 มีคุณภาพของสินค้า จะต้องสัมพันธ์กับราคาของสินค้าที่ผู้บริโภคจะยอมรับในระดับหนึ่ง
4.2 ช่องทางการจัดจ าหน่าย เป็นส่วนหนึ่งในการก าหนดราคา เนื่องจากราคามีผลต่อการหมุนเวียนของ
เงินตรา
4.3 การส่งเสริมการตลาด ในการก าหนดราคาจะต้องค านึงถึงค่าใช้จ่ายจากการส่งเสริมการตลาด ซึ่งเป็น
ผลกระทบต่อราคาสินค้า
3
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งราคา
1 ปัจจัยภายในกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1.1 วัตถุประสงค์ทางการตลาด (Marketing Objectives) ก่อนการก าหนดราคา ผู้บริหารจะท า
การก าหนดกลยุทธ์ต่าง ๆ ทางการตลาดไว้แล้ว จะเริ่มจากการก าหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย การวางต าแหน่ง
ผลิตภัณฑ์ การก าหนดส่วนประสมการตลาดอื่น ๆจากนั้นจึงท าการก าหนดราคาให้สอดคล้องกับกลยุทธ์
ดังกล่าวการก าหนดวัตถุประสงค์เป็นแนวทางในการก าหนดราคาให้ง่ายขึ้น และน าไปสู่ความส าเร็จทางการ
ตลาดได้ในที่สุด การก าหนดวัตถุประสงค์ในการก าหนดราคา เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดนโยบายราคา
กลยุทธ์ราคาและวิธีการในการก าหนดราคาวัตถุประสงค์ในการก าหนดราคา แบ่งได้ดังนี้
1.1.1วัตถุประสงค์เพื่อความอยู่รอดของกิจการ(Survival) ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ า อ านาจการซื้อ
ลดลงส่งผลให้ยอดขายกิจการลดลง การแข่งขันสูง ปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน หากเกิดสถานการณ์ดังกล่าว
วัตถุประสงค์ในการตั้งราคาพอครอบคลุมต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่บางส่วนท าให้ราคาสินค้าลดลงอาจมี
ก าไรเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย เพื่อให้สามารถจ าหน่าย ได้ในระยะเวลานั้น ๆ จนกว่าจะพ้นวิกฤตการณ์ จึง
ค่อยปรับราคากันใหม่
1.1.2 วัตถุประสงค์เพื่อก าไรสูงสุด (Current Profit Maximization) วัตถุประสงค์นี้ต้องการ
ก าไรสูงสุดสภาพคล่องทางการเงินหรือผลตอบแทนในการลงทุนในระยะสั้น ๆ แต่มีข้อจ ากัดที่ต้องทราบถึง
ความสัมพันธ์ของอุปสงค์และต้นทุน ณ ระดับราคาต่าง ๆ เพื่อเลือกก าหนดราคาที่ให้ได้ผลตอบแทนที่สูงสุด
อย่างไรก็ตามการก าหนดวัตถุประสงค์นี้อาจมีผลต่อการด าเนินธุรกิจระยะยาว
1.1.3 วัตถุประสงค์เพื่อส่วนครองตลาด(Market Share Leadership)วัตถุประสงค์นี้จะเป็น
วัตถุประสงค์ ในระยะยาว การก าหนดราคาสินค้าไว้ต่ าจะส่งผลให้ได้ส่วนครองตลาดสูงสุด และสามารถลด
ต้นทุนลงได้ต่ าสุดด้วย
1.1.4 วัตถุประสงค์เพื่อเป็นผู้น าด้านคุณภาพ (Product Quality Leadership) การก าหนด
ราคาสูง แสดงถึงคุณภาพของสินค้าในระดับสูง ซึ่งจะท าให้ได้รับก าไรต่อหน่วยสูงด้วย โดยเฉพาะสินค้า
ที่กิจการต้องลงทุนในการวิจัยและพัฒนาไปมาก
1.1.5 วัตถุประสงค์ในการก าหนดราคาลักษณะอื่น ๆ เช่น การก าหนดราคาเพื่อป้องกันการเข้า
สูง ของคู่แข่งขัน การรักษาเสถียรภาพของราคานอกจากนี้องค์การที่ไม่ได้หวังผลก าไร ยังมีวัตถุประสงค์ในการ
ก าหนดราคาที่แตกต่างออกไป เช่น โรงพยาบาล สถานศึกษา กิจการ สาธารณูปโภคซึ่งแสดงถึงวัตถุประสงค์
4
การก าหนดราคาเพื่อสังคมคือทุกคนต้องมีการรับบริการ จึงก าหนดราคาต่ าแต่พออยู่ได้ รัฐอาจต้อง
สนับสนุนบ้างเพื่อความผาสุขของประชาชนก็ต้องท า
1.2 กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix Strategy)การก าหนดราคาต้องค านึงถึง
ความสัมพันธ์ของส่วนประสมการตลาดอื่น ๆ ผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจ าหน่าย และการส่งเสริม
การตลาด การก าหนดราคาสูงก่อให้เกิดภาพพจน์ที่ดีกับผลิตภัณฑ์ ขณะเดียวกันการก าหนดราคาผลิตภัณฑ์
ใหม่สูงเป็นการชักจูงคู่แข่งให้เข้ามาสู่ตลาดได้เร็วขึ้น และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาจต้องเปลี่ยนแปลงราคาหรือ
การส่งเสริมการตลาดให้สอดคล้องกันด้วย การเลือกช่องทางการจัดจ าหน่ายต้องสอดคล้องกับการก าหนด
ราคาสูงหรือต่ าด้วยสินค้าสะดวกซื้อ โดยทั่วไปการก าหนดราคาต่ าจะมีการจัดจ าหน่ายอย่างกว้างขวางขณะที่
ผลิตภัณฑ์ที่ก าหนดราคาสูงต้องเลือกช่องทางการจัดจ าหน่ายเฉพาะ คือไม่ต้องขายหลายแห่งก็ได้การ
ส่งเสริมการตลาดของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่แตกต่างกันไปตามกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ส่งผลต่อค่าใช้จ่ายในการ
ส่งเสริมการตลาดและส่งผลต่อการก าหนดราคาด้วย
1.3 ต้นทุน (Cost) ต้นทุนเป็นปัจจัยพื้นฐานในการก าหนดราคา โดยการรวมต้นทุนที่เกี่ยวข้องบวก
ก าไรเป็นราคาขายแต่ต้นทุนที่ต่ ากว่าย่อมได้เปรียบดังนั้นการศึกษาถึงโครงสร้างของต้นทุนนอกเหนือจากการ
ก าหนดต้นทุนรวมมาจากต้นทุนคงที่ต้นทุนผันแปรและต้นทุนกึ่งผันแปรแล้วยังต้องค านึงถึงปริมาณการผลิตที่
ก่อให้เกิดต้นทุนต่ าสุดอันอาจจะเกิดจากประสบการณ์ของกิจการหรือท าเลที่ตั้ง เป็นต้น
2. ปัจจัยภายนอกกิจการ มีดังนี้
2.1 ตลาดและอุปสงค์ (The Market and Demand)
ตลาด ประเภทของตลาดมีผลต่อการก าหนดราคา ตลาดแข่งขันสมบูรณ์มีผู้ซื้อและผู้ขายมากราย การ
ก าหนดราคาขึ้นอยู่กับราคาตลาด ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดแม้ผู้ขายจะมีไม่มากเท่าตลาดแข่งขันสมบูรณ์การ
จะก าหนดราคาสินค้าขึ้นอยู่กับความสามารถในการสร้างความแตกต่างให้กับผลิตภัณฑ์ของตน ตลาดที่มีผู้ขาย
น้อยราย การก าหนดกลยุทธ์ด้านราคาต้องศึกษาถึงปฏิกิริยาของคู่แข่งขันโดยเฉพาะในระยะยาวส่วนตลาด
ผูกขาดนั้นการก าหนดราคาต้องค านึงถึงการเข้ามาของสินค้าทดแทนหรือข้อก าหนดจากรัฐบาลที่ส่งผลให้ไม่
สามารถก าหนดราคาสินค้าได้สูงสุดตามต้องการ
อุปสงค์ เป็นปัจจัยส าคัญประการหนึ่งของการก าหนดราคาเริ่มจากการศึกษาลักษณะของเส้นอุปสงค์
และปฏิกิริยาของลูกค้าแต่ละรายที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาที่แตกต่างกันไป ปัจจัยที่มีผลต่อการ
อ่อนไหวของการเปลี่ยนแปลงราคา เช่น ความเป็นเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ สินค้าที่สามารถใช้
5
ทดแทนกันได้ค่าใช้จ่ายในการซื้อผลิตภัณฑ์นั้น ๆและความสัมพันธ์ของราคากับคุณภาพ เป็นต้น
2.2 การแข่งขัน (Competition) การก าหนดราคาหรือการเปลี่ยนแปลงของราคา ต้องค านึงถึงคู่แข่งขันที่อยู่
ในตลาดนั้น ๆ ภาวะการแข่งขันความแข็งแกร่งของคู่แข่งขัน ปฏิกิริยาของคู่แข่งขัน การเข้าสู่ตลาดของคู่
แข่งขันรายใหม่ ๆ และไม่เฉพาะราคาเท่านั้นต้องพิจารณาถึงต้นทุน คุณภาพของสินค้า หรือบริการที่คู่
แข่งขันเสนอให้กับลูกค้าด้วย
2.3 ซัพพลายเออร์ (Suppliers) ความส าคัญของผู้จ าหน่ายวัตถุดิบนอกจากการเสนอราคาวัตถุดิบ
ที่สูงส่งผลให้ต้นทุนของสินค้าสูงแล้วคุณภาพของวัตถุดิบความสม่ าเสมอและการส่งมอบวัตถุดิบได้ตรง
ตามเวลาล้วนแต่ส่งผลให้ต้นทุนของสินค้าสูงขึ้นหรือต่ าลงได และส่งผลต่อการก าหนดราคาสินค้าดังนั้น
ความสัมพันธ์กับผู้จ าหน่ายวัตถุดิบ หรือการมีผู้จ าหน่ายวัตถุดิบที่ดีย่อมส่งผลต่อการก าหนดราคาได้เช่นกัน
2.4 สภาพเศรษฐกิจ (Economic Conditions) สภาพเศรษฐกิจส่งผลถึงอ านาจซื้อของประชาชน
การก าหนดราคาย่อมแตกต่างกันไปตามสภาพเศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจรุ่งเรืองอุปสงค์สินค้าสูงการแข่งขันสูง
ตามไปด้วยการก าหนดราคาเพื่อการแข่งขันเป็นสิ่งส าคัญ สภาพเศรษฐกิจที่ถดถอย การเกิดเงินเฟ้อ
เงินฝืดหรือการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย จ าเป็นต้องมีการก าหนดกลยุทธ์ทางการตลาดให้
เหมาะสม สอดคล้อง
กับการเปลี่ยนแปลงหรือการลดราคาของสินค้า สภาพเศรษฐกิจจะมีผลต่ออ านาจซื้อของผู้บริโภคด้วย
2.5 รัฐบาล (The Government) นอกจากนโยบายของรัฐบาลที่มีผลต่อการก าหนดราคาสินค้าแล้ว
ยังมีพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการก าหนดราคาสินค้าและป้องกัน เช่น พระราชบัญญัติที่
เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค และพระราชบัญญัติในเรื่องภาษีอากรต่าง ๆ ที่ผู้บริหารต้องศึกษาก่อนท า
การก าหนดราคา
6
นโยบายในการก าหนดราคา
1.นโยบายระดับราคา (The Level of Price Policy)
1.1 การตั้งราคา ณ ระดับราคาตลาด เป็นการตั้งราคาให้เท่ากับคู่แข่งขัน ใช้ในกรณีที่สินค้าไม่มีความ
แตกต่าง เป็นสินค้าที่ผู้บริโภคคุ้นเคย ณ ระดับราคานั้น เป็นตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย
1.2 การตั้งราคา ณ ระดับราคาต่ ากว่าราคาตลาด เป็นการตั้งราคาที่ต่ ากว่าคู่แข่งขันในตลาด เพื่อขยาย
ตลาด ป้องกันไม่ให้คู่แข่งเข้ามา สินค้ามีคุณภาพต่ า
1.3 การตั้งราคา ณ ระดับรา คาสูงกว่าราคาตลาด เป็นการตั้งราคาที่สูงกว่าคู่แข่งขันในตลาด ในกรณีที่
สินค้ามีต้นทุนที่สูงกว่า มีความแตกต่างจากคู่แข่ง
2. การตั้งราคาให้แตกต่างกัน (Discrimination Pricing)
2.1การตั้งราคาตามกลุ่มลูกค้า โดยจะพิจารณาจากรายได้ของลูกค้า ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม อายุ
เพศ ท าเลที่ตั้ง หรือสถานที่ของผู้ซื้อ เช่น ห้องพักที่ติดทะเลจะราคาแพงกว่าห้องพักที่ไม่ติดทะเล หรือบัตรชม
คอนเสิร์ต ด้านหน้าจะราคาแพงกว่าด้านหลัง เป็นต้น
2.2การตั้งราคาตามรูปแบบผลิตภัณฑ์ จะพิจารณาจากคุณภาพ ตราสินค้า ขนาดผลิตภัณฑ์ หรือการ
ให้บริการ
2.3การตั้งราคาตามภาพลักษณ์เป็นการตั้งราคาตามภาพลักษณ์ของสินค้าที่แตกต่างกันในสายตาของ
ผู้บริโภค ถ้าผลิตภัณฑ์ใดมีภาพลักษณ์ที่ดีในสายตาของผู้บริโภคก็สามารถตั้งราคาสูงได้
2.4การตั้งราคาตามเวลา ช่วงเวลาที่ลูกค้ามีความต้องการมากราคาก็จะสูงกว่าปกติ ตัวอย่างเช่น ค่า
โทรศัพท์ในช่วงกลางคืนจะมีราคาถูกกว่าตอนกลางวัน เป็นต้น
2.5การตั้งราคาตามคู่แข่ง ตลาดของสินค้าที่มีคู่แข่งเป็นจ านวนมากการตั้งราคาก็จะต่ ากว่าตลาดที่มีคู่แข่ง
จ านวนน้อย
7
3. กลยุทธ์การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยา (Psychological Pricing)
3.1 การตั้งราคาตามความเคยชิน เป็นการตั้งราคาไว้ในระดับราคาที่ผู้บริโภคคุ้นเคย เช่น หนังสือพิมพ์
ฉบับละ 8 บาท น้ าอัดลมกระป๋องละ 13 บาท เป็นต้น
3.2 การตั้งราคาเลขคี่และเลขคู่ การตั้งราคาเลขคี่จะนิยมใช้กับสินค้าหรือบริการที่ต้องการให้ผู้บริโภค
รู้สึกว่ามีราคาถูก เช่น 99 บาท 199 บาท เป็นต้น ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการซื้อที่มากกว่า ส่วนการตั้งราคา
เลขคู่ หรือจ านวนเต็ม มักใช้กับสินค้าที่มีชื่อเสียง คุณภาพดีหรือสินค้าที่ผู้บริโภครู้จักน้อย
3.3 การตั้งราคาสินค้าที่มีชื่อเสียง ส าหรับสินค้าหรือบริการที่มีชื่อเสียง นิยมใช้การตั้งราคาสินค้าที่
ค่อนข้างสูง (Skimming Pricing) เพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์ให้กับสินค้า
วิธีการตั้งราคาของธุรกิจค้าส่ง
1. การก าหนดราคาจากต้นทุน (Cost Based Pricing) เป็นวิธีการก าหนดราคาที่ง่ายและสะดวกที่สุด โดย
ใช้ต้นทุนต่อหน่วยมาเป็นพื้นฐาน ซึ่งมีวิธีการก าหนดรารา ดังนี้
1.1 วิธีการก าหนดราคาแบบ Cost-Plus การก าหนดราคาวิธีนี้มาใช้ในกรณีที่กิจการไม่
สามารถคาดการณ์ต้นทุนของผลิตภัณฑ์ล่วงหน้าได้ หรือต้นทุนของผลิตภัณฑ์ไม่แน่นอน กิจการจึงต้องก าหนด
ก าไรที่แน่นอนขึ้นมาก่อน และเมื่อทราบต้นทุนต่อหน่วยแล้วจึงน าต้นทุนนั้นไปบวกกับก าไรที่ต้องการ
ราคาขาย = ก าไรต่อหนาวยที่ต้องการ + ต้นทุนต่อหน่วย
1.2 วิธีก าหนดราคาแบบ Mark up เป็นการบวกส่วนเพิ่มโดยใช้สมการ ดังนี้
Price = Cost + Mark up หรือ ราคา = ทุน + ส่วนเพิ่ม
วิธีการค านวณ Mark up มีดังนี้
1) Mark up on Cost หรือ Mark on คือ การก าหนดเป็นร้อยละจากราคาทุน
2) Mark up on Selling Price หรือ Mark up คือ การก าหนดเป็นร้อยละจากราคา
ขายวิธีนี้ใช้มากในธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง โดยมีพื้นฐานการค านวณมาจากต้นทุนเช่นเดียวกัน
1.3 วิธีก าหนดราคาเพื่อให้ได้ผลตอยแทนตามเป้าหมาย (Target Pricing) เป็นการก าหนด
ราคาเพื่อให้ได้ผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment : ROI) โดยต้องการก าไรเป็นร้อยล่ะ
เท่าใดของเงินลงทุน (Target Profit) เข้าไปในต้นทุนของสินค้าหรือเงินลงทุน โดยใช้สมการดังนี้
ราคา = ต้นทุนต่อหน่วย + อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ * เงินลงทุน
จ านวนสินค้าที่ขาย
2. การก าหนดราคาจากอุปสงค์ (Demand Based Pricing) เป็นการก าหนดราคาโดยค านึงปริมาณความ
ต้องการซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของลูกค้าที่มีการเปลี่ยนแปลง หรือเรียกว่า ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อ
ราคา (Price Elasticity of Demand)
การตั้งราคาของธุรกิจค้าปลีก
1. ก าหนดราคาตามบริการที่ให้อย่างเต็มที่ ราคาสินค้าจะแพงกว่าปกติ เพราะร้านค้าได้บวกค่าบริการ
เข้าไปด้วย เช่น บริการเงินเชื่อ บริการจัดส่งสินค้าให้ถึงบ้าน บริการห่อของขวัญ การรับบัตรเครดิต
2. ก าหนดราคาตามบริการให้อย่างจ ากัด ถ้าจะให้บริการอยู่บ้างก็คิดเงินกับลูกค้า ทางเรียกลูกค้าได้มากโดยตั้ง
ราคาสินค้าไว้ต่ ากว่าต้องการ ให้สินค้าหมุนเวียนอย่างรวดเร็ว เป็นการลดต้นทุนด้านสินค้าคงคลัง
3. ต้นทุนสินค้าของร้านค้าปลีก ประกอบด้วยส่วนส าคัญ 2 ส่วน คือต้นทุนสินค้าที่ซื้อมากับต้นทุนด าเนินงาน
4. การแข่งขัน วิธีปฏิบัติอย่างกว้างๆ มี 3 วิธีคือ
4.1 ก าหนดราคาขายไว้ต่ ากว่าคู่แข่งขัน
4.2 ก าหนดไว้เท่ากับคู่แข่งขัน
4.3 ก าหนดไว้สูงกว่าคู่แข่งขัน แต่มีเงื่อนไขว่า ท าเลที่ตั้งร้านดีกว่า บริการดีเหนือกว่า เป็นต้น
5. ลูกค้า ลูกค้ามีหลายประเภทแตกต่างกันทั้งก าลังเงิน นิสัยการซื้อ จีงต้องประเมินตลาดว่าลูกค้าของตนจัด
อยู่ในประเภทใด ต้องการขายสินค้าให้กับลูกค้ากลุ่มใด ระดับบน ระดับกลาง หรือระดับล่าง
การตั้งราคาขาย
พิจารณาโดยการตั้ง Mark – up (ยอดเพิ่ม) เป็นเปอร์เซ็นต์ของราคาทุนหรือราคาขายโดยการใช้สูตร
M = R – C
M = Mark – up ( ยอดเพิ่ม)
R = Retail (ราคาขาย )
C = Cost ( ราคาทุน )
ตัวอย่าง กิจการแห่งหนึ่ง ซื้อตู้เย็นขนาด 7 คิว ราคาทุนตู้นี้เป็นเงิน 7,800 บาท ตั้ง Mark-up ไว้
40 % ของราคาทุน จงค านวณหาราคาขายของตู้เย็นตู้นี้เป็นจ านวนเงินกี่บาท
วิธีท า M = R – C
40 = R - 100
R = 40 + 100 = 140
ราคาทุน 100 = 7,800 บาท
ราคาขาย 140 = 7,800 X 14100
ราคาขายตู้เย็นตู้นี้ = 10,920 บาท
ประวัติผู้จัดท า
ชื่อ ธมลวรรณ พินิจมนตรี
วันเดือนปีเกิด 28/มิถุนายน/2542
สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
ที่อยู่ปัจจุบัน 014 ซ.เรือนจ า1 ถ.จันทอุดม ต.เชิงเนิน อ.เมือง จ.ระยอง
งานอดิเรก ดูหนังร้องเพลงฟังเพลง
ความสามารถพิเศษ มีความอดทน
คติประจ าใจ สิ่งส าคัญคือ ไม่ได้อยู่ที่คนเราเกิดมาเป็นอะไร แต่อยู่ที่เติบโตขึ้นมาเป็นอะไร
ชื่อ นางสาว กฤติยา บุญอนันต์
วัน/เดือน/ปี 13 ตุลาคม พ.ศ.2542
สัญชาติ/เชื้อชาติ/ศาสนา ไทย ไทย พุทธ
ที่อยู่ปัจจุบัน 18/6 ถ.สมุทรเจดีย์ ซ.8 ต.ปากน้ า อ.เมือง จ.ระยอง 21000
งานอดิเรก ดูยูทูป
ความสามารถพิเศษ พูดภาษาเกาหลี
คติประจ าใจ ท าวันนี้ให้ดีที่สุด
ชื่อ นางสาว นลินี สมอโพรง
วันเดือนปีเกิด 06/กรกฎาคม/2542
สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
ที่อยู่ปัจจุบัน 70/5 ม.1 ต.ชากพง อ.แกลง จ.ระยอง
งานอดิเรก ดูหนังร้องเพลงฟังเพลง
ความสามารถพิเศษ ร้องเพลง
คติประจ าใจ ภูมิใจในสิ่งที่มี พอใจในสิ่งที่เป็น
บรรณานุกรม
http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sms/market/Unit5/Subm1/U511-1.htm
https://sites.google.com/site/lakkantalad/nyobay-laea-klyuthth-ka-rkaa-hn-dra-kha
https://sites.google.com/site/onlinelearningseries/hnwy-thi-2-kar-kahnd-
rakha/watthuprasngkhnikarkahndrakha
https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/chantana/unit3