The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

20210224-บทสวดมนต์วันมาฆบูชา64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Napat Ruangkittikul, 2021-02-25 09:12:22

20210224-บทสวดมนต์วันมาฆบูชา64

20210224-บทสวดมนต์วันมาฆบูชา64

(หนา้ ๓)

คำบูชำพระรตั นตรัย

(นา) อะระหัง (รับ) สัมมำสมั พุทโธ ภะคะวำ,
พระผู้มพี ระภาคเจา้ , เปน็ พระอรหันต์,
ดับเพลิงกเิ ลสเพลิงทุกข์สนิ้ เชงิ ,
ตรสั รู้ชอบได้ โดยพระองคเ์ อง ;
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภวิ ำเทม.ิ
ขา้ พเจ้าอภวิ าทพระผมู้ ีพระภาคเจ้า,
ผูร้ ู้ ผ้ตู ื่น ผูเ้ บิกบาน.
(กราบ)

(นา) ส๎วำกขำโต (รบั ) ภะคะวะตำ ธัมโม,
พระธรรม เปน็ ธรรมที่พระผมู้ ีพระภาคเจ้า, ตรสั ไวด้ แี ล้ว ;
ธัมมัง นะมสั สำมิ.
ข้าพเจ้านมสั การพระธรรม.
(กราบ)
(นา) สุปะฏปิ นั โน (รบั ) ภะคะวะโต สำวะกะสงั โฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจา้ , ปฏบิ ตั ิดแี ล้ว ;
สังฆัง นะมำมิ.
ขา้ พเจ้านอบนอ้ มพระสงฆ์.
(กราบ)

(หนา้ ๗)
ปุพพภาคนมการ

(นา) หนั ทะ มะยงั พทุ ธัสสะ ภะคะวะโต ปพุ พะภำคะนะมะกำรัง กะโรมะ เส.

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต,
ขอนอบน้อมแด่พระผ้มู พี ระภาคเจ้า พระองค์นั้น ;
อะระหะโต,
ซึง่ เปน็ ผู้ไกลจากกเิ ลส ;
สมั มำสมั พทุ ธสั สะ.
ตรสั รู้ชอบไดโ้ ดยพระองค์เอง.
( ๓ ครัง้ )

(หนา้ ๒๒)
๑. พุทธำนุสสติ

(นา) หนั ทะ มะยงั พุทธำนุสสะตนิ ะยงั กะโรมะ เส.

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตงั เอวัง กัลย๎ ำโณ กติ ตสิ ัทโท อพั ภคุ คะโต,
กก็ ติ ตศิ ัพทอ์ ันงามของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ นัน้ , ได้ฟุ้งไปแลว้ อย่างนว้ี ่า :-
อติ ิปิ โส ภะคะวำ,
เพราะเหตุอยา่ งนี้ ๆ พระผมู้ ีพระภาคเจ้านั้น ;
อะระหัง,
เป็นผไู้ กลจากกิเลส ;

สัมมำสัมพทุ โธ,
เป็นผตู้ รสั ร้ชู อบได้โดยพระองค์เอง ;
วชิ ชำจะระณะสัมปันโน,
เป็นผ้ถู งึ พร้อมดว้ ยวชิ ชา (ความรู้แจง้ ) และจรณะ (ความประพฤต)ิ ;
สุคะโต,
เป็นผูไ้ ปแล้วดว้ ยดี ;
โลกะวทิ ,ู
เปน็ ผรู้ ู้โลกอยา่ งแจม่ แจ้ง ;

อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทัมมะสำระถิ,
เป็นผสู้ ามารถฝึกบุรุษ ท่ีสมควรฝึกไดอ้ ยา่ งไม่มีใครย่งิ กว่า;
สตั ถำ เทวะมะนุสสำนัง,
เปน็ ครูผ้สู อน ของเทวดาและมนษุ ยท์ งั้ หลาย ;
พุทโธ,
เป็นผู้รู้ ผู้ต่นื ผ้เู บกิ บานดว้ ยธรรม ;
ภะคะวำ-ติ.
เปน็ ผูม้ คี วามจาเริญ จาแนกธรรมสงั่ สอนสัตว์ ดงั น้ี.

(หน้า ๒๕)

กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ,
ดว้ ยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ;
พุทเธ กกุ ัมมัง ปะกะตงั มะยำ ยัง,
กรรมนา่ ตเิ ตียนอนั ใด ท่ีข้าพเจา้ กระทาแล้ว ในพระพุทธเจา้ ;
พุทโธ ปะฏิคคณั ห๎ ะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระพทุ ธเจา้ จงงดซ่ึงโทษล่วงเกินอนั น้นั ;
กำลนั ตะเร สังวะรติ ุง วะ พทุ เธ.
เพ่ือการสารวมระวัง ในพระพทุ ธเจา้ ในกาลต่อไป

๓. ธัมมำนสุ สติ

(นา) หนั ทะ มะยัง ธมั มำนสุ สะตนิ ะยัง กะโรมะ เส.

สว๎ ำกขำโต ภะคะวะตำ ธมั โม,
พระธรรม เปน็ ส่ิงทีพ่ ระผ้มู ีพระภาคเจ้า ไดต้ รัสไว้ดีแลว้ ;
สันทฏิ ฐโิ ก,
เป็นส่ิงท่ีผูศ้ ึกษาและปฏิบตั ิ พงึ เหน็ ไดด้ ้วยตนเอง ;
อะกำลโิ ก,
เปน็ สิ่งทีป่ ฏบิ ัตไิ ด้ และใหผ้ ลได้ ไมจ่ ากดั กาล ;

เอหิปัสสโิ ก,
เปน็ ส่งิ ท่คี วรกล่าวกะผู้อนื่ วา่ ทา่ นจงมาดูเถดิ ;
โอปะนะยิโก,
เปน็ สิ่งทคี่ วรน้อมเขา้ มาใสต่ ัว ;
ปจั จตั ตงั เวทติ พั โพ วญิ ญหู ี-ต.ิ
เปน็ ส่ิงทผี่ รู้ ู้ก็รูไ้ ด้เฉพาะตน ดงั น้ี.

(หน้า ๒๙)
กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ,
ดว้ ยกายกด็ ี ดว้ ยวาจาก็ดี ดว้ ยใจก็ดี ;
ธมั เม กุกัมมงั ปะกะตัง มะยำ ยัง,
กรรมน่าตเิ ตยี นอันใด ทีข่ ้าพเจ้ากระทาแลว้ ในพระธรรม ;
ธัมโม ปะฏคิ คัณห๎ ะตุ อจั จะยันตัง,
ขอพระธรรม จงงดซ่งึ โทษล่วงเกนิ อันน้ัน ;
กำลันตะเร สังวะรติ งุ วะ ธัมเม.
เพือ่ การสารวมระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไป.

๕. สงั ฆำนุสสติ

(นา) หันทะ มะยัง สงั ฆำนสุ สะตนิ ะยงั กะโรมะ เส.

สุปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สำวะกะสงั โฆ,
สงฆ์สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า หมใู่ ด, ปฏบิ ัตดิ แี ลว้ ;
อุชปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สำวะกะสงั โฆ,
สงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ หมใู่ ด, ปฏบิ ัติตรงแลว้ ;
ญำยะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ,
สงฆส์ าวกของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ หมใู่ ด,
ปฏิบัติเพื่อรูธ้ รรมเปน็ เครอ่ื งออกจากทกุ ขแ์ ล้ว ;

สำมีจปิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ,
สงฆส์ าวกของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏบิ ตั สิ มควรแลว้ ;
ยะทิทัง,
ไดแ้ ก่ บคุ คลเหล่านี้ คอื :
จตั ตำริ ปรุ สิ ะยคุ ำนิ อัฏฐะ ปรุ ิสะปคุ คะลำ,
ค่แู หง่ บรุ ุษ ๔ คู่, นับเรียงตัวบรุ ษุ ได้ ๘ บรุ ษุ ;
เอสะ ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ,
นน่ั แหละ สงฆ์สาวกของพระผูม้ ีพระภาคเจา้ ;

อำหเุ นยโย,
เป็นสงฆค์ วรแก่สักการะทีเ่ ขานามาบูชา ;
ปำหุเนยโย,
เปน็ สงฆ์ควรแกส่ กั การะทเี่ ขาจัดไว้ต้อนรบั ;
ทักขิเณยโย,
เป็นผู้ควรรบั ทกั ษณิ าทาน ;
อญั ชะลิกะระณโี ย,
เป็นผ้ทู ่ีบุคคลทัว่ ไปควรทาอญั ชลี ;
อะนุตตะรัง ปญุ ญักเขตตงั โลกสั สำ-ต.ิ
เป็นเน้อื นาบญุ ของโลก ไม่มนี าบญุ อ่นื ยงิ่ กวา่ ดงั น้ี.

(หนา้ ๓๓ )

กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ,
ดว้ ยกายก็ดี ดว้ ยวาจากด็ ี ดว้ ยใจก็ดี ;
สงั เฆ กกุ มั มงั ปะกะตงั มะยำ ยงั ,
กรรมน่าตเิ ตียนอันใด ทีข่ า้ พเจา้ กระทาแล้ว ในพระสงฆ์ ;
สงั โฆ ปะฏคิ คณั ๎หะตุ อจั จะยันตัง,
ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษลว่ งเกินอันน้นั ;
กำลนั ตะเร สงั วะริตุง วะ สงั เฆ.
เพอื่ การสารวมระวงั ในพระสงฆ์ ในกาลตอ่ ไป.

(จบทาวัตรเย็น)

( หนา้ ๔๗ )
๖. อริยธนคำถำ

(นา) หนั ทะ มะยงั อะริยะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส.

ยสั สะ สัทธำ ตะถำคะเต อะจะลำ สุปะติฏฐติ ำ,
ศรทั ธา ในพระตถาคตของผู้ใด ตัง้ ม่ันอย่างดี ไม่หวั่นไหว ;
สีลญั จะ ยัสสะ กลั ๎ยำณงั อะริยะกนั ตัง ปะสงั สติ ัง,
และศลี ของผู้ใดงดงาม เปน็ ท่ีสรรเสริญทพี่ อใจ ของพระอรยิ เจา้ ;
สงั เฆ ปะสำโท ยัสสตั ถิ อุชภุ ตู ญั จะ ทสั สะนงั ,
ความเลอื่ มใสของผใู้ ดมีในพระสงฆ,์
และความเหน็ ของผู้ใดตรง ;

อะทะฬิทโทติ ตงั อำหุ อะโมฆนั ตสั สะ ชวี ติ ัง,

บณั ฑติ กล่าวเรียกเขาผู้นั้นว่า คนไมจ่ น,

ชวี ติ ของเขาไม่เป็นหมัน ;

ตสั ม๎ ำ สัทธญั จะ สีลญั จะ ปะสำทงั ธัมมะทสั สะนัง,

อะนุยญุ เชถะ เมธำวี สะรงั พุทธำนะสำสะนัง.

เพราะฉะนั้น เมอื่ ระลกึ ได้ ถึงคาสง่ั สอนของพระพทุ ธเจ้าอยู่,

ผู้มปี ัญญาควรกอ่ สรา้ งศรทั ธา ศีล ความเล่อื มใส

และความเห็นธรรม ให้เนอื งๆ.

(หน้า ๕๔)

๘.ภัทเทกรัตตคำถำ

(นา) หันทะ มะยัง ภัทเทกะรัตตะคาถาโย ภะณามะ เส.

อะตีตงั นำน๎วำ (อา่ นว่า นา-นะ-วา) คะเมยยะ
นัปปะฏกิ ังเข อะนำคะตงั ,
บคุ คลไม่ควรตามคิดถึงสงิ่ ที่ล่วงไปแล้ว ด้วยอาลยั ;
และไม่พึงพะวงถึงสิง่ ทยี่ ังไมม่ าถึง ;
ยะทะตตี มั ปะหีนนั ตงั
อัปปัตตัญจะ อะนำคะตงั ,
ส่ิงเปน็ อดีตก็ละไปแล้ว ; สง่ิ เปน็ อนาคตก็ยังไมม่ า ;

ปจั จุปปนั นญั จะ โย ธัมมงั ตัตถะ ตตั ถะ วปิ ัสสะติ,
อะสังหิรงั อะสงั กุปปงั ตัง วทิ ธำ มะนุพร๎ ูหะเย.
ผใู้ ดเหน็ ธรรมอันเกิดขึน้ เฉพาะหนา้ ในทน่ี ้ัน ๆ อย่างแจม่ แจ้ง ;
ไม่งอ่ นแงน่ คลอนแคลน ; เขาควรพอกพูนอาการเชน่ นัน้ ไว้.
อชั เชวะ กิจจะมำตปั ปัง โก ชัญญำ มะระณงั สุเว,
ความเพียรเปน็ กจิ ทีต่ ้องทาวนั นี้, ใครจะรคู้ วามตาย แมพ้ รุง่ น,้ี

นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหำเสเนนะ มจั จนุ ำ,

เพราะการผัดเพีย้ นตอ่ มจั จุราชซ่งึ มีเสนามาก ย่อมไมม่ สี าหรบั เรา ;

เอวังวิหำริมำตำปงิ อะโหรัตตะมะตันทติ งั ,

ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สนั โต อำจกิ ขะเต มนุ ิ.

มุนีผสู้ งบ ยอ่ มกล่าวเรยี ก ผมู้ คี วามเพียรอย่เู ช่นนนั้ ,

ไมเ่ กยี จครา้ นทง้ั กลางวันกลางคืน ว่า,

“ผู้เป็นอยแู่ ม้เพียงราตรเี ดยี ว กน็ า่ ชม”.

หน้า ๖๒

๙. โอวำทปำติโมกขคำถำ

(นา) หันทะ มะยัง โอวำทะปำติโมกขะคำถำโย ภะณำมะ เส.

สัพพะปำปัสสะ อะกะระณัง,
การไมท่ าบาปทง้ั ปวง ;
กสุ ะลสั สปู ะสมั ปะทำ,
การทากุศลใหถ้ งึ พร้อม ;
สะจติ ตะปะรโิ ยทะปะนงั
การชาระจิตของตนใหข้ าวรอบ ;

เอตงั พุทธำนะสำสะนงั .
ธรรม ๓ อยา่ งนี้ เป็นคาส่ังสอนของพระพทุ ธเจา้ ท้ังหลาย.
ขนั ตี ปะระมัง ตะโป ตตี กิ ขำ,
ขันตี คอื ความอดกล้ัน เปน็ ธรรมเคร่อื งเผากเิ ลสอยา่ งยงิ่ ;
นิพพำนัง ปะระมัง วะทันติ พทุ ธำ,
ผู้รู้ทงั้ หลาย กลา่ วพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันย่งิ ;
นะ หิ ปพั พะชิโต ปะรปู ะฆำตี,
ผกู้ าจดั สัตว์อืน่ อยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชติ เลย ;
สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต.

ผู้ทาสัตวอ์ ่ืนให้ลาบากอยู่ ไม่ชื่อว่าเปน็ สมณะเลย.

อะนูปะวำโท อะนูปะฆำโต,
การไมพ่ ูดรา้ ย, การไม่ทารา้ ย ;
ปำตโิ มกเข จะ สังวะโร,
การสารวมในปาตโิ มกข์ ;
มตั ตัญญุตำ จะ ภตั ตัสม๎ ิง,
ความเป็นผรู้ ู้ประมาณในการบริโภค ;
ปนั ตญั จะ สะยะนำสะนงั ,
การนอน การนง่ั ในทอ่ี ันสงดั ;
อะธิจิตเต จะ อำโยโค,
ความหมั่นประกอบในการทาจติ ใหย้ ่ิง ;
เอตงั พทุ ธำนะสำสะนัง.
ธรรม ๖ อยา่ งนี้ เปน็ คาส่งั สอนของพระพทุ ธเจา้ ทั้งหลาย.

(หน้า ๖๗)

๓.ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ

(นำ) หันทะ มะยงั ปัจฉมิ ะพทุ โธวำทะปำฐัง ภะณำมะ เส.

หนั ทะทำนิ ภกิ ขะเว อำมนั ตะยำมิ โว,
ดกู ่อนภิกษทุ งั้ หลาย ! บัดน,้ี เราขอเตอื นท่านทงั้ หลายว่า :-
วะยะธัมมำ สังขำรำ,
สังขารทงั้ หลาย มีความเส่ือมไปเป็นธรรมดา ;
อัปปะมำเทนะ สมั ปำเทถะ,
ทา่ นท้งั หลาย, จงทาความไมป่ ระมาทให้ถงึ พรอ้ มเถดิ .
อะยัง ตะถำคะตสั สะ ปัจฉิมำ วำจำ.
น้ีเป็นพระวาจามีในคร้งั สุดท้าย ของพระตถาคตเจ้า.

(หน้า ๗๗)
๑๐.อทุ ทสิ สนาธิฏฐานคาถา บทท่ี ๑ และ ๔

(นา) หันทะ มะยัง อทุ ทิสสะนำธิฏฐำนะคำถำโย ภะณำมะ เส.

อมิ นิ ำ ปุญญะกัมเมนะ ดว้ ยบุญนี้ อทุ ิศให้
อุปชั ฌำยำ คณุ ุตตะรำ อุปัชฌาย์ ผ้เู ลศิ คุณ
อำจะรยิ ปู ะกำรำ จะ แลอาจารย์ ผูเ้ กอ้ื หนุน
มำตำ ปิตำ จะ ญำตะกำ ทั้งพ่อแม่ แลปวงญาติ

สุรโิ ย จันทมิ ำ รำชำ สรู ย์จนั ทร์ แลราชา

คุณะวนั ตำ นะรำปิ จะ ผทู้ รงคุณ หรือสงู ชาติ

พร๎ หม๎ ะมำรำ จะ อินทำ จะ พรหมมาร และอินทราช

โลกะปำลำ จะ เทวะตำ ทั้งทวยเทพ และโลกบาล

ยะโม มติ ตำ มะนุสสำ จะ ยมราช มนษุ ยม์ ติ ร

มชั ฌัตตำ เวริกำปิ จะ ผเู้ ป็นกลาง ผู้จอ้ งผลาญ

สพั เพ สตั ตำ สขุ ี โหนตุ ขอให้ เปน็ สุขศานติ์

ทกุ ทว่ั หน้า อยา่ ทุกขท์ น

ปญุ ญำนิ ปะกะตำนิ เม บุญผอง ทข่ี ้าทา
จงช่วยอา นวยศภุ ผล
สขุ ัง จะ ติวธิ งั เทนตุ ใหส้ ขุ สามอย่างล้น
ขปิ ปงั ปำเปถะ โวมะตงั ใหล้ ถุ ึง นพิ พานพลัน

(บทที่ ๔ หนา้ ๘๐ ) ด้วยบุญนี้ ท่เี ราทา
แลอทุ ศิ ใหป้ วงสัตว์
อิมินำ ปุญญะกัมเมนะ เราพลนั ได้ ซึ่งการตดั
อมิ นิ ำ อทุ ทเิ สนะ จะ
ขิปปำหัง สลุ ะเภ เจวะ

ตัณ๎หปุ ำทำนะเฉทะนงั ตวั ตณั หา อปุ าทาน
เย สันตำเน หินำ ธัมมำ ส่ิงช่วั ในดวงใจ
ยำวะ นิพพำนะโต มะมงั กวา่ เราจะ ถึงนิพพาน
นสั สันตุ สพั พะทำ เยวะ มลายส้นิ จากสนั ดาน
ยัตถะ ชำโต ภะเว ภะเว ทุก ๆ ภพ ทเี่ ราเกดิ
อุชุจติ ตงั สะตปิ ัญญำ มจี ติ ตรง และสติ
ท้งั ปญั ญา อนั ประเสรฐิ

สัลเลโข วริ ยิ มั ห๎ ินำ พรอ้ มท้ัง ความเพียรเลศิ
เปน็ เคร่อื งขดู กเิ ลสหาย
มำรำ ละภันตุ โนกำสงั โอกาส อย่าพึงมี
แก่หมูม่ าร ส้นิ ทง้ั หลาย
กำตญุ จะ วริ เิ ยสุ เม เปน็ ชอ่ ง ประทุษรา้ ย
ทาลายล้าง ความเพียรจม
พทุ ธำทปิ ะวะโร นำโถ พระพุทธผู้ บวรนาถ
ธัมโม นำโถ วะรุตตะโม พระธรรมท่ี พง่ึ อดุ ม

นำโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ พระปจั เจ กะพุทธสม-
สงั โฆ นำโถตตะโร มะมัง ทบพระสงฆ์ ท่ีพ่ึงผยอง
เตโสตตะมำนุภำเวนะ ด้วยอา นภุ าพนนั้
มำโรกำสัง ละภนั ตุ มำ ขอหม่มู าร อยา่ ไดช้ อ่ ง
ทะสะปุญญำนุภำเวนะ ดว้ ยเดชบญุ ทัง้ สิบป้อง
มำโรกำสงั ละภนั ตุ มำ อยา่ เปดิ โอ กาสแก่มาร
(เทอญ).


Click to View FlipBook Version