The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนค่ายส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ธรรมศึกษา) ประจำปีงบประมาณ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rawa_30, 2021-12-07 10:55:54

สรุปผลการจัดกิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนค่ายส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ธรรมศึกษา) ประจำปีงบประมาณ 2564

สรุปผลการจดั กจิ กรรม

โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
คา่ ยส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ( ธรรมศกึ ษา )

ปีงบประมาณ 2564

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสวรรคโลก
สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดสุโขทยั

สรุปผลการจดั กจิ กรรม

โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
คา่ ยส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ( ธรรมศกึ ษา )

ปีงบประมาณ 2564

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสวรรคโลก
สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดสุโขทยั

การจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ค่ายส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
( ธรรมศกึ ษา ) ประจำปงี บประมาณ 2564 มวี ัตถเุ พ่อื รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม
จริยธรรมและค่านิยมทพ่ี งึ ประสงค์ในสว่ นของกิจกรรมที่ไดด้ ำเนนิ การเรยี บรอ้ ยแลว้ อันไดแ้ ก่การอบรมคุณธรรม
จริยธรรม ( ธรรมศึกษา ) ของนักศึกษา กศน.อำเภอสวรรคโลก และเพอื่ เป็นแนวทางในการสอบธรรมศกึ ษา
สนามหลวง วันสำคัญทางศาสนา และวันสำคญั ของ อำเภอสวรรคโลก

งานธรรมศึกษาหวังเปน็ อยา่ งยง่ิ ว่ารายงานผลการดำเนินงานสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรม ( ธรรมศึกษา )
ประจำปงี บประมาณ 2564 คงเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผทู้ สี่ นใจ และเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนางานธรรมะศึกษา
ต่อไป

งานธรรมศกึ ษา
มนี าคม 2564

คำนำ 1
สารบัญ 3
15
บทท่ี 1 บทนำ 17
บทที่ 2 เอกสารที่เกย่ี วขอ้ ง 19
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินงาน
บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน
บทท่ี 5 สรปุ /ประเมนิ ผลการดำเนินงาน
ภาคผนวก
โครงการ

1

บทที่ 1
บทนำ

ชื่อโครงการ : คา่ ยส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ธรรมศึกษา )
ความสอดคล้อง

➢ สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) : ยธุ ศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสรมิ สร้าง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (Transformation of Culture) เพื่อสร้าง
คนไทยท่ีมีคณุ ภาพ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย 3.2 การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต
➢ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545 และฉบับที่ 3
พ.ศ.2553 : มาตรา7ในกระบวนการเรียนรตู้ ้องมุ่งปลูกฝังจิตสานกึ ท่ีถูกตอ้ งเกยี่ วกับการเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขรู้จกั รักษาและส่งเสริมสทิ ธิหน้าท่ีเสรีภาพความเคารพกฎหมาย
ความเสมอภาคและศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์มีความภาคภูมใิ จในความเป็นไทยรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและ
ของประเทศชาตริ วมท้ังส่งเสริมศาสนาศิลปะวฒั นธรรมของชาติการกฬี าภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินภมู ปิ ญั ญาไทยและความรู้
อันเป็นสากลตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความสามารถในการประกอบอาชีพรู้จัก
พึ่งตนเองมีความรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ใฝร่ ู้และเรียนรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
➢ สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้นของสำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ประชาชนได้รบั การ
ยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองอันนำไปสู่การยกระดับ
คุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนเพ่ือพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และสง่ิ แวดล้อม
➢ สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดสุโขทัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมความมั่นคง พัฒนาสังคมและ
สงิ่ แวดลอ้ มให้สมดุล ข้อท่ี 3.1.7 เสริมสรา้ งความพร้อมใหค้ วามรู้และบริการให้กับประชาชนทกุ ชว่ งวยั
➢ สอดคลอ้ งกบั ปรชั ญาการจดั การศกึ ษา : กศน.อำเภอสวรรคโลก เป็นสถานศึกษาทจี่ ัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั โดยมุ่งจัดการศึกษาตามความตอ้ งการ เพ่อื ให้ผู้เรียนผูร้ บั บริการมีความรู้ ความสามารถตาม
มาตรฐานที่กำหนดเน้นกระบวนการคิดเป็นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำเทคโนโลยีมาใช้ใน
การดำเนนิ ชวี ติ อยา่ งเหมาะสมสกู่ ารเรียนรู้ตลอดชวี ติ
➢ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ : กศน.อำเภอสวรรคโลก เป็นสถานศึกษาที่จัดการศึกษาเพื่อยกระดับการศึกษา
และพัฒนาคนให้มีคุณภาพตามจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาคุณภาพตามจุดมุ่งห มายในการจัดการศึกษา
หมายถงึ

- มีทกั ษะในการดำรงชวี ิต
- มีทักษะในการเรยี นรู้
- มีความรู้ความสามารถและสมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน
- ดำรงชวี ติ ในสงั คม (สามารถปรับตัวและดำรงชวี ติ ในสังคมได้)

2

➢ สอดคลอ้ งกับพนั ธกจิ ของสถานศึกษา : ขอ้ 1 พฒั นาหลกั สตู รเพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนและกลุ่มเป้าหมายและ ข้อ 2 ส่งเสริมและ
สนบั สนนุ การมีส่วนร่วมของภาคีเครอื ข่ายในการจัด กศน.เพื่อสร้างความแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต จัดและส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้มีคณุ ภาพอย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต
➢ สอดคลอ้ งกบั อัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา : “เปน็ คนใฝ่เรยี นรู้”
➢ สอดคล้องเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา :“สืบสานประเพณีวฒั นธรรม”
➢ สอดคล้องกับศาสตร์พระราชาตามหลกั การทรงงาน: ข้อ17. การพ่งึ พาตนเอง
➢ สอดคล้องกับประกนั คณุ ภาพภายใน : ตวั บงชี้ที่ 1.1ผรู้ บั บรกิ ารมีความใฝร่ ู้ และเรียนร้อู ย่างต่อเนือ่ ง
➢ สอดคลอ้ งกบั ประกันคุณภาพภายนอก : ตัวบง่ ชี้ที่ 4ผู้เรียนมีมที กั ษะชีวิต

หลักการและเหตผุ ล

คณุ ธรรมเป็นปัจจัยท่ีสำคญั ท่ีจะเสริมสรา้ งความสงบสุขและความเจรญิ ให้แก่ประเทศชาติ เพราะว่าความ
สงบสุขของประเทศชาติจะมีได้ก็ต่อเมื่อคนในชาติมีคุณธรรมบางประการที่ทำให้ไม่เบียดเบียนกัน ไม่เอารัดเอา
เปรียบกัน ไม่ใช้สิทธิเสรีภาพจรเกินเลยล่วงล่ำสิทธิของกันและกันไม่ละเลยการปฏิบัติตามกฎหมาย วินัย และ
จรรยาบรรณวิชาชีพที่ใช้บังคับกัน และมีความเจริญของประเทศชาติ จะมีได้ก็ต่อเมื่อคนในชาติมีคุณธรรมบาง
ประการที่ทำให้ร่วมมือ ร่วมใจกันมุ่งมั่นสร้างพัฒนาประเทศ เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม ช่วยกันป้องกันภัยจะ
บังเกิดกับประเทศชาติ การพัฒนาการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาประเทศกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนด
นโยบายเร่งรัดปฏิรปู การศึกษา โดยยดึ คุณธรรมนำความรู้สรา้ งความตระหนกั ในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ความสมานฉนั ท์ สันตวิ ธิ ี สถาบนั ศาสนาและสถาบนั การศกึ ษา เพอ่ื พฒั นาเยาวชนให้เป็นคนดี และอยู่ดีมีสุข

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสวรรคโลก เป็นสถานศกึ ษาท่ีมบี ทบาทหนา้ ท่ี
จัดสง่ เสริมและสนบั สนุนกาศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน การจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต การจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นา
อาชีพ การจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจึงจดั การเรยี นรู้กับหนักศกึ ษาและ
ประชาชนเพ่ือพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมข้นึ

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ใหผ้ ้เู ข้าร่วมอบรมมีความรแู้ ละเข้าใจคุณธรรมและจรยิ ธรรม และคำส่ังสอนของพระพทุ ธศาสนา
2. เพ่ือใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรม นำความรแู้ ละประสบการณด์ า้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรมไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
3. เพ่ือสร้างความปรองดอง สมานฉนั ทใ์ นสังคม สามารถอยูร่ ว่ มกนั อยา่ งสมานฉันท์ สนั ตวิ ธิ ี

3

เป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ

นกั ศึกษา กศน.อำเภอสวรรคโลก จำนวน 60 คน

เชิงคณุ ภาพ

1. ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความรู้ความเข้าใจดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

2. ผเู้ ข้ารบั การอบรม รูแ้ ละเข้าใจในสิทธิหน้าท่ีของตนเองในการเป็นพลเมอื งดี

3. ร้อยละ 80 ของผเู้ รยี นมคี วามพงึ พอใจผ่านการประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

4

บทที่ 2
เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง

แนวคิดเก่ียวกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
แนวคดิ เก่ียวกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ ความหมายของคุณธรรม จรยิ ธรรมความ

สำคัญของคุณธรรม จริยธรรม และลักษณะของจรยิ ธรรม มรี ายละเอยี ด ดังน้ี
1.1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม
คุณธรรม จริยธรรม เป็นเสมือนบทบญั ญัติของความดีและความงามของจติ ใจทส่ี ง่ ผลใหบ้ ุคคล

ประพฤติดี ประพฤติชอบด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม จงึ เป็นองค์ประกอบท่มี ีความสำคัญตอ่ การดำรงชีวิต การที่
จะให้คนในสังคมมีคุณลักษณะคุณธรรม จรยิ ธรรม อนั จะสง่ ผลให้คนในสังคมอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุขไดน้ ัน้
ควรมกี ารส่งเสรมิ และปลกู ฝังในเรอ่ื งคุณธรรม จริยธรรมต้ังแตย่ งั เยาว์วยั ท่ีเข้ารับการศกึ ษา ทัง้ นี้ คุณธรรม
จริยธรรม เปน็ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ี่เปน็ พฤตกิ รรมดีงามทีแ่ สดงออก และควรส่งเสริมให้เกิดข้ึน โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ โรงเรียน ครู ผู้ปกครอง และสังคม ต้องการใหม้ ีขึ้นในตัวของผเู้ รยี น ซ่งึ เป็นคุณลกั ษณะท่ีสงั คมชมชอบ
และให้การสนับสนนุ เพราะเปน็ สงิ่ ทีถ่ กู ตอ้ งดงี าม คณุ ธรรม จริยธรรม จะประกอบขึน้ ด้วยองคป์ ระกอบหลายอยา่ ง
เข้าด้วยกัน ดงั นั้น คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จงึ เปน็ พน้ื ฐานท่สี ำคัญของทกุ คน เปน็ สิ่งจำเปน็ ในสังคม ความสงบสุขและ
ความเจรญิ กา้ วหนา้ จะบังเกิดขน้ึ เมอ่ื คนในสงั คมมีคณุ ธรรม จริยธรรม นโยบายสังคมของรฐั บาล มุ่งม่ันที่จะสร้าง
สงั คมเข้มแข็งให้คนในชาติอยู่เย็นเปน็ สขุ ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ บนพน้ื ฐานของคณุ ธรรม ในสว่ นของภาค
การศกึ ษาได้กำหนดไวว้ า่ จะเรง่ รัดปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรมนำความรู้ พฒั นาคนโดยใชค้ ุณธรรมเป็น
พ้ืนฐานของกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี ช่ือมโยงความรว่ มมอื ของสถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา และสถาบัน
การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม จงึ มคี วามสำคัญและเป็นสงิ่ จำเปน็ อยา่ งยิ่งสำหรับสังคมไทยทต่ี ้องการท้ังคนดแี ละ
คนเก่ง (สุภาพร สขุ สวัสด.์ิ 2552 : 24)

คำว่า คุณธรรม ตรงกบั ภาษาอังกฤษวา่ virtue จากการศึกษาค้นควา้ เอกสาร คำว่าคุณธรรม จรยิ ธรรม
มักจะใชค้ วบคู่กนั เสมอ คำวา่ “คุณธรรม” กบั คำว่า “จริยธรรม” เป็นคำทแี่ ยกกนั มีความหมายแตกต่างกนั คำวา่
“คุณธรรม” แปลว่า ความดี มปี ระโยชน์ เปน็ คำท่ีมคี วามหมายเป็นนามธรรม สว่ นคำว่า “จรยิ ” แปลว่า กิริยาท่ี
ควรประพฤติ เปน็ คำทม่ี ีความหมายเปน็ รปู ธรรม ส่วนคำว่า “ธรรม” มคี วามหมายหลายประการ เชน่ ความดี
หลกั คำสอนของศาสนา หลกั ปฏิบัติ เมอ่ื นำคำท้ังสองมารวมกันจะไดเ้ ปน็ คุณธรรมและจรยิ ธรรม ซงึ่ มีผูใ้ ห้
ความหมายต่าง ๆ คำวา่ คณุ ธรรม จริยธรรม มคี วามหมายใกล้เคยี งกันมาก จึงมกั มผี ู้ใช้คำสองคำน้ีไปดว้ ยกันเป็น
คุณธรรมและจรยิ ธรรม แตค่ ำสองคำน้มี ีความแตกตา่ งกนั ซงึ่ มนี กั จติ วทิ ยา นักปรัชญา และนักการศกึ ษา ให้
ความหมายไว้ดังนี้ ดวงพร อุทัยสรุ ิ (2548 : 15) ได้สรปุ ความหมายของคุณธรรม จรยิ ธรรมวา่ เปน็ การปฏิบตั ใิ น
ส่งิ ที่ถกู ต้องดงี ามท่พี งึ ปฏิบตั ติ ่อตนเอง ตอ่ ผู้อนื่ และต่อสังคม เพอื่ กอ่ ให้เกดิ ความสงบสขุ ความเจริญรุ่งเรือง เป็น
ประโยชนต์ ่อการพฒั นาประเทศชาตินงลักษณ์ วิรัชชัย และคณะ (2551 : 9) ได้สรปุ ความหมายของคณุ ธรรม
จริยธรรม คอื คุณลกั ษณะ สภาวะ หรือสภาพของคณุ งามความดที ี่บคุ คลมอี ยแู่ ละแสดงออกทางความประพฤติ
ปฏิบัตใิ นลักษณะทีด่ ีงาม ถูกตอ้ ง เหมาะสม โดยสอดคล้องกับกฎเกณฑแ์ ละมาตรฐานของการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ

5

ในทางสงั คม สุภาพร สุขสวัสด์ิ (2552 : 21) สรุปวา่ คณุ ธรรม จริยธรรม หมายถงึ หลกั แหง่ ความประพฤตดิ ี เป็น
พฤติกรรมการแสดงออกอนั เนื่องมาจากคณุ งามความดใี นจติ ใจ ตามหลักศีลธรรม ปรชั ญา ค่านิยม ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี และวฒั นธรรม พฤติกรรมที่แสดงออกเปน็ ไปตามความสำนกึ ในจิตใจ กระทำเพราะเปน็ ส่ิงท่ดี งี าม
ถกู ตอ้ ง ไม่ใช่เพราะมีกฎระเบียบหรือสภาพบงั คับใหต้ ้องกระทำ ถ้าผใู้ ดมีคุณธรรมในจิตใจแลว้ แสดงออกมาให้เห็น
เปน็ รูปธรรม กจ็ ะได้ชอื่ วา่ เป็นผู้มจี รยิ ธรรมอันงดงาม ดังนนั้ คำว่า “คุณธรรม จริยธรรม” เปน็ คำท่ีคนสว่ นใหญ่จะ
กลา่ วควบคกู่ นั อยเู่ สมอ พระบำรุง ปญญฺ าพโล (โพธ์ิศรี) (2554 : 13-14) ได้ประมวลคำว่า“คุณธรรม” และ
“จรยิ ธรรม” เข้าด้วยกนั ได้เปน็ “คณุ ธรรม จรยิ ธรรม” (Moral Virlucs) มีความหมายวา่ เปน็ การประพฤติ
ปฏบิ ัติท่เี ปน็ ส่งิ ทด่ี งี าม ถกู ต้องตามมาตรฐานและเปน็ ท่ียอมรับของสังคม หรอื อาจจะให้ความหมายไดว้ ่า
“คณุ ธรรมตามกรอบจริยธรรม” คุณธรรมและจริยธรรมมีความสำคัญตอ่ การพัฒนามนุษย์ เพอื่ ใหม้ ีคณุ ภาพ
ลกั ษณะอันนำมาซง่ึ คุณธรรม จรยิ ธรรมทด่ี ี ความประพฤตปิ ฏบิ ัติในสิ่งท่ดี งี ามตามคำสงั่ สอนในศาสนา หรอื การ
ประพฤตติ ามเกณฑท์ ่ีถูกต้องทั้งกาย วาจา และใจ อนั ก่อให้เกิดประโยชน์และความสุขท้งั ตอ่ ตนเองและสงั คม
ส่วนรวม นำมาซ่งึ ความเจรญิ ก้าวหน้าของสงั คม เพราะฉะนน้ั จึงจำเปน็ อยา่ งย่งิ ทจ่ี ะต้องสร้างคุณธรรมและ
จริยธรรมให้เกิดในตวั บคุ คลมากท่สี ุดทง้ั นี้ ความแตกตา่ งของคุณธรรมกับจริยธรรม สรุปได้วา่ คณุ ธรรม มีลษั ณะ
เปน็ นามธรรม (Abstract) ส่วนจริยธรรม มลี ักษณะเป็นรปู ธรรม (Concrete) แต่ทั้ง 2 อย่างเสรมิ ใหม้ นษุ ยม์ ี
คุณสมบตั ทิ งี่ ดงาม สงา่ มเี สนห่ ์ในตวั ซึ่งสงิ่ เหล่าน้สี ่วนใหญ่เป็นคุณสมบัติท่ีสมั ผัสไดท้ ง้ั สิน้ กล่าวโดยสรุป “คุณธรรม
จรยิ ธรรม” หมายถึง หลกั แหง่ ความประพฤติดี เป็นพฤตกิ รรมการแสดงออกอันเนอื่ งมาจากสภาพคุณงามความดี
ในจิตใจ ตามหลกั ศีลธรรม ปรชั ญา ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม พฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกเปน็ ไป
ตามความสำนกึ ในจติ ใจกระทำ เพราะเปน็ สิ่งทด่ี งี าม ถกู ต้อง ไม่ใช่เพราะมกี ฎระเบียบหรอื สภาพบงั คบั ให้ตอ้ ง
กระทำ ถา้ ผู้ใดมคี ุณธรรมในจติ ใจแลว้ แสดงออกมาใหเ้ ห็นเป็นรปู ธรรม กจ็ ะได้ช่ือเปน็ ผูม้ ีจริยธรรมอนั งดงาม ดงั นน้ั
คำวา่ “คุณธรรม จรยิ ธรรม” เป็นคำทค่ี นส่วนใหญ่จะกลา่ วควบคกู่ นั อยูเ่ สมอ

1.2 ความหมายของคณุ ธรรม
คำว่า คุณธรรม มีผ้ใู หค้ วามหมายไว้ในทัศนะทีแ่ ตกต่างกนั ดงั นี้
พรณรงค์ สงิ หส์ ำราญ (2550 : 16) สรุปวา่ คุณธรรม หมายถึง สภาพความดงี ามทง้ั หลาย

ซึ่งฝังลกึ อยใู่ นจติ สำนกึ ของบุคคล และเป็นคณุ สมบัตทิ ่ีมอิ าจหาไดใ้ นสตั ว์โลกชนดิ อ่นื อาจกลา่ วได้วา่ คุณธรรมเปน็
สมบัตขิ องมนษุ ย์ชาตโิ ดยเฉพาะ และจริยธรรมนบั ว่าเปน็ ปัจจัยสำคัญในการอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข ถ้า
คนในสังคมใดมีจรยิ ธรรมสูง สงั คมนัน้ จะมแี ต่ความเจริญ ผู้ทม่ี จี ริยธรรมสูงจะประพฤตปิ ฏบิ ัตแิ ต่ในสิ่งทีด่ แี ละบรรลุ
ถงึ สภาพชีวติ อันทรงคณุ ค่าอนั พงึ ประสงค์

มหาวิทยาลยั อัสสัมชญั (2551 : 2) ให้ความหมายของคุณธรรม คือ สภาพคุณงามความดีท้ังทาง
ความคิดและพฤตกิ รรมท่ีมคี ณุ ธรรมตอ่ ตนเอง คุณธรรมตอ่ ครอบครวั และคณุ ธรรมตอ่ สังคมดจุ เดือน

6

พนั ธุมนาวิน (2551 : 4) กลา่ วว่า หลักธรรมทางศาสนาเปน็ เรือ่ งเกี่ยวกบั คณุ ธรรม เพราะว่า หลกั ธรรม
ในศาสนามักเป็นคำส่ังสอนที่ให้บคุ คลตระหนกั รวู้ า่ สิ่งใดเปน็ ส่ิงท่ีดีหรือส่ิงใดเปน็ สงิ่ ทีไ่ มด่ ี สง่ิ ใดควรปฏิบตั หิ รือส่งิ ใด
ไมค่ วรปฏิบัติ ซ่ึงมีการนำไปประยกุ ตเ์ ปน็ หลักในการปฏิบัติในอาชพี ต่าง ๆ หรอื ทเ่ี รียกว่า จรรยาบรรณ (Ethics)
ดงั น้ัน หลกั ธรรมทางศาสนาจึงเปน็ เร่ืองเก่ยี วกบั คุณธรรม

นงลกั ษณ์ วิรัชชัย และคณะ (2551 : 9) ไดส้ รุปความหมายของคุณธรรม คือ คณุ ลกั ษณะ สภาวะ
หรอื สภาพของคุณงามความดที ่ีเปน็ ไปในทางถูกต้อง ดีงาม ทำให้เกดิ ความชนื่ ชมยนิ ดี มจี ิตใจทเ่ี ต็มเปีย่ มไปด้วย
ความสุขความยินดี

นภสี ี ศรวี ัฒนทรพั ย์ (2551 : 13) ได้สรปุ ความหมายของคุณธรรม คือ สภาพคุณงามความดีที่มีอยใู่ น
จิตใจของบคุ คล เป็นส่งิ ทบ่ี ุคคลโดยท่ัวไปหรอื สังคมยอมรับ เกดิ จากความเพียรพยายามในการกระทำความดเี ป็น
ระยะเวลานานตดิ ต่อกนั จนเกดิ เป็นความเคยชินและเป็นนสิ ยั ไดร้ ับการสงั่ สมหรือปฏบิ ตั ิตามกันมาจากจติ ใจโดย
มไิ ดฝ้ ืนใจ เปน็ แนวทางในการประพฤตติ นทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น และสง่ ผลให้สงั คมของการอย่รู ว่ มกนั
มีความสุขและความเจริญงอกงาม หลกั คุณธรรมจงึ มีความสำคญั อยา่ งยิง่ สำหรบั มนษุ ยท์ ่ตี ้องอาศัยอยู่ร่วมกัน
เพราะคุณธรรมเป็นหลักแหง่ ความประพฤตปิ ฏิบตั ิในทางทถ่ี กู ต้องและดีงาม และมจี ุดหมายปลายทางอยทู่ ี่คุณงาม
ความดขี องสงั คมโดยส่วนรวม

พระมหาณัฐพล ดอนตะโก (2551 : 15) สรปุ วา่ คุณธรรม หมายถงึ คณุ ลักษณะทีเ่ ปน็ ความดี ความ
งามท่ีมีอยใู่ นจติ ใจของแตล่ ะบุคคล โดยไดย้ ึดถือปฏิบัติจนเป็นนสิ ยั และเป็นท่ียอมรบั ว่าเป็นส่ิงที่ถกู ต้อง ดงี าม ของ
บุคคลท่วั ไป

สทุ ธวิ รรณ ตนั ตริ จนาวงศ์ และ ศศกิ าญจน์ ทวิสวุ รรณ (2552 : 11) ใหค้ วามหมายของคุณธรรมวา่
คณุ ธรรม หมายถึง สง่ิ ทม่ี ีคณุ คา่ มีประโยชน์ เปน็ ความดี เปน็ มโนธรรม เปน็ ความคดิ ดีทกี่ ระตุ้นให้มีการประพฤติ
ปฏบิ ตั ิอยู่ในกรอบท่ดี งี าม และสามารถจำแนกความถกู ผดิ ได้ มีสติสัมปชญั ญะ มีความรบั ผิดชอบชวั่ ดี มอี ุปนสิ ัย
ความต้งั ใจและเจตนาที่ดีงาม

สภุ าพร สุขสวัสดิ์ (2552 : 21) สรปุ วา่ จรยิ ธรรมเป็นความประพฤตขิ องบุคคล เป็นแนวทางของการ
ประพฤติปฏบิ ตั ิตนในส่งิ ท่ีดีงาม เหมาะสม และเป็นท่ียอมรับของสังคม เพอื่ ประโยชน์ของตนเองและส่วนรวม

อตกิ นั ต์ ภูดีทิพย์ (2552 : 24) ไดส้ รุปความหมายของจริยธรรม คอื การประพฤตปิ ฏบิ ัติท่ีเป็นไปตาม
ระเบียบแบบแผน กฎเกณฑ์ทางสงั คมของบุคคลท้ังทางกาย วาจา ใจ เพื่อกอ่ ให้เกดิ ความเจริญและอยูร่ วมกันอยา่ ง
สงบสขุ เปน็ การขจดั ขัดแยง้ ทางสงั คม ทำให้เกดิ การพฒั นาและเป็นปกติ

สุขทิพย์ หาสาสน์ศรี (2553 : 7) ได้สรุปความหมายของคณุ ธรรมว่า หลักคุณงามความดี ความถกู ตอ้ ง
ท่ีอยู่ภายในจิตใจของแต่ละบคุ คล ซ่งึ จะส่งเสริมให้บคุ คลในสงั คมยึดมน่ั เป็นหลักประจำใจในการประพฤตปิ ฏิบตั ิ
ส่งผลให้เกิดคุณประโยชน์แกส่ ังคมโดยรวม

นาวนิ เหมอื นแสง (2553 : 39) กล่าวโดยสรุป คุณธรรม คือ ความดีงามในจิตใจ เช่น ความเมตตา
ความซ่อื สตั ย์ เป็นต้น มีผลทำใหจ้ ติ ใจอยู่ในภาวะทด่ี ีงาม และพรอ้ มท่ีจะสรา้ งสรรค์สงิ่ ท่ี เป็นประโยชน์ สว่ น
จริยธรรมคอื การแสดงออกทางกาย วาจา เชน่ เมื่อมีความเมตตากรณุ าก็ลงมือชว่ ยเหลือ ผอู้ ื่น เมอื่ มีความซื่อสัตย์ก็
ตั้งม่ันอยูใ่ นศึล 5 ไม่ลกั ขโมย ไมโ่ กหก เปน็ ต้น ทัง้ คุณธรรมและจริยธรรม เปน็ หลกั ธรรมทมี่ คี วามเก่ียวเนื่อง

7

สนับสนุนกัน คนที่มคี ณุ ธรรมสงู คือคนจิตใจทรงคณุ ธรรม ย่อมจะประพฤตปิ ฏบิ ตั ิสงิ่ ใด ๆ ในลกั ษณะของการมี
จริยธรรมสงู ด้วย ดงั นัน้ คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของคนในสังคมหรือของสังคมหนงึ่ ๆ มีรากฐานมาจากศาสนา
ขนบธรรมเนียมประเพณี และความเห็นพ้องตอ้ งกนั ของคนในสงั คมนั้น แต่ละยคุ แต่ละสมัย คณุ ธรรมและจริยธรรม
ในสังคมหนง่ึ ๆ จะมวี วิ ฒั นาการและเปลีย่ นแปลงไปตามยคุ สมัยด้วย

อทุ ิศ ทาหอม (2554 : 46) สรุปว่า คุณธรรม คือ คณุ งามความดที ีอ่ ย่ภู ายในจติ ใจของมนุษย์ที่เป็น
แนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นทางทด่ี ใี นทางท่ีชอบ เปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม รูจ้ กั ผิดชอบชัว่ ดี ตาม
ทำนองคลองธรรม ไมท่ ำผิดศีลธรรมอนั ดงี าม เชน่ การไม่ฆา่ สตั ว์ การไม่ลกั ทรัพย์การไม่ประพฤตผิ ิดในกาม การไม่
พูดเท็จ การไม่เสพสง่ิ เสพตดิ เป็นต้น คุณธรรมเป็นเครือ่ งท่ีจะประกอบคณุ งามความดีของมนุษย์ เป็นนามธรรม
ไม่ใชเ่ ปน็ รปู ธรรม เพราะเนอ่ื งจากมนั อยู่ในสภาพของจติ ใจ ไมไ่ ด้แสดงออกมาเป็นการประพฤตปิ ฏบิ ัติ แต่ในทาง
ตรงกันขา้ มถา้ หากเราจะแสดงออกมา เรียกวา่ จริยธรรม เพราะตัวจริยธรรม เป็นการประพฤตอิ อกมาให้เปน็
รูปธรรม ซึง่ ท้ังคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมมคี วามหมายใกลเ้ คยี งกนั แต่คนละความหมาย คุณธรรมเป็นเรือ่ งของความ
ดงี ามภายในจิตใจ แต่จรยิ ธรรมเป็นการประพฤตหิ รอื แสดงออกมาใหเ้ หน็

พระครปู ระโชตจิ ันทวมิ ล (นาม จนทฺ โชโต) (2555 : 11) สรุปวา่ คุณธรรม หมายถงึ ความรู้สึกนกึ คิด
ที่จะประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในสง่ิ ท่ีดที ่จี ะก่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเองและสว่ นรวม คณุ ธรรม คอื ความดงี ามในจติ ใจที่
ทำให้บุคคลประพฤตดิ ี ผู้มีคุณธรรมเปน็ ผู้มคี วามเคยชินในการประพฤตดิ ีด้วยความรู้สกึ ในทางดงี าม คณุ ธรรมเปน็
ส่ิงทต่ี รงกันขา้ มกบั กเิ ลสซ่งึ เป็นความไม่ดใี นจติ ใจ ผู้มีคุณธรรม จึงเปน็ ผทู้ ่ีไม่มากด้วยกิเลสซ่งึ จะไดร้ บั การยกยอ่ งว่า
เป็นคนดี

ไชยพร เรอื งแหล้ (2556 : 14) ได้สรปุ ความหมายของคำว่าคุณธรรมว่า คณุ ธรรม หมายถงึ หลักของ
ความดีงามแห่งการประพฤตติ น และลกั ษณะอุปนิสัยอนั ดงี ามทสี่ ่ังสมอยใู่ นจิตใจของ บุคคลมาเปน็ เวลานาน มี
คณุ ค่ากอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กผ่ ยู้ ึดถอื และปฏิบตั ติ าม อนั นำมาซ่งึ ความเจรญิ ของตนเองและสังคม ซ่งึ คณุ ธรรมท่ี
เกดิ ขน้ึ ในจิตใจน้นั เกิดจากการอบรมและปลกู ฝัง

ดรุณี โอวจริยาพิทกั ษ์ และคณะ (2557 : 12) สรปุ ว่า คุณธรรม หมายถงึ คุณงาม ความดีท่ีบริสุทธิ์ ใน
การคดิ ในการกระทำทเ่ี ป็นหลกั พนื้ ฐานประจำใจในการประพฤตปิ ฏบิ ัติเพื่อความสุขท้งั ของตนเองและสงั คม
กลา่ วโดยสรปุ คุณธรรม หมายถึง สภาพหรือคุณลักษณะของคุณงามความดี ซึ่งอยูใ่ น จติ สำนกึ ของบุคคล เปน็ แรง
กระต้นุ ผลกั ดนั ให้เกิดความรูส้ ึกผิดชอบในการประพฤตปิ ฏบิ ัตอิ ยูใ่ นกรอบทดี่ ีงามของสังคม อกี นัยหน่งึ คอื สามารถ
เห็นได้จากพฤตกิ รรมท่แี สดงออกทางกาย วาจา และจิตใจ เมอ่ื บุคคลใด ประพฤติปฏิบัติตนโดยยึดหลกั คุณธรรม
แลว้ ย่อมเกดิ คุณค่าแกบ่ ุคคลน้นั ตลอดจนเป็นท่ยี อมรับของสงั คมและบคุ คลทัว่ ไป

1.3 ความหมายของจรยิ ธรรม
คำว่า จรยิ ธรรม เป็นคำท่ีมคี วามหมายกวา้ ง มีนักปรชั ญา นักการศกึ ษาได้ให้คำจำกัดความเกี่ยวกบั

จริยธรรม ไว้หลายความหมาย ดงั ต่อไปน้ี
รัตนากร วงคศ์ รี และคณะ (2550 : 9) สรปุ ความหมายของจรยิ ธรรม คือ การประพฤติปฏบิ ตั ิของ

บุคคลทแ่ี สดงออกถงึ ความดีงามทง้ั ต่อตนเอง ต่อผู้อ่ืน และต่อสังคม เพือ่ ให้เกิดความสงบสุขความเจริญรุ่งเรอื ง
เป็นประโยชนต์ ่อสังคมและการพฒั นาประเทศชาติ

8

ประทีป มากมติ ร (2550 : 19) ไดส้ รปุ วา่ จรยิ ธรรม ก็คือ หลกั การทีม่ นษุ ย์ในสงั คมยอมรับว่าดงี ามและ
เหน็ ควรยดึ ถอื ปฏบิ ัติ เพ่ือการอยู่รว่ มกนั อย่างเป็นสุขในสงั คมน่ันเอง และเมือนำไปใช้กบั การประกอบอาชีพหรือ
การทำงาน ซงึ่ เปน็ กจิ กรรมที่มคี วามสำคัญที่สุดอย่างหนง่ึ ของมนษุ ย์ และสงั คม กย็ อ่ มหมายความว่ามนุษย์ยอ่ ม
จะตอ้ งมจี รยิ ธรรมในการท างานหรอื การประกอบวิชาชีพ เพราะในการทำงาน มนษุ ยย์ ่อมต้องมสี ังคมซ่ึง
ประกอบดว้ ยคนหลายคน มคี วามเชื่อและความคิดเห็นทตี่ า่ งกัน

ดงั น้นั จึงมคี วามจำเปน็ ตอ้ งมกี ารวางกรอบใหม้ นษุ ย์ประพฤติปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน เพ่อื การ
ทำงานร่วมกันอย่างสงบสุขและบรรลุเป้าหมายในงานน้นั ๆ

นงลกั ษณ์ วริ ชั ชยั และคณะ (2551 : 9) ได้สรปุ ความหมายของจรยิ ธรรม คอื การแสดงออกทางการประพฤติ
ปฏบิ ตั ิ หรอื พฤตกิ รรมของบคุ คลในลักษณะทีด่ งี าม ถกู ตอ้ ง เหมาะสม โดยสอดคล้องกับกฎเกณฑ์และมาตรฐาน
ของการประพฤติปฏบิ ัติในทางสังคม ซงึ่ บุคคลใช้ในการแยกการกระทำที่ถกู ตอ้ งออกจากการกระทำที่ผดิ

นภีสี ศรีวัฒนทรพั ย์ (2551 : 15) ได้สรปุ ความหมายของจริยธรรม คอื การประพฤติปฏิบตั ิให้เป็นไป
ตามหลักศีลธรรมวฒั นธรรม คา่ นยิ มทชี่ มชอบตามท านองคลองธรรมตามแนวทางพทุ ธศาสนา และมีความพึง
พอใจว่าการกระทำนัน้ ถูกตอ้ ง ดีงาม เหมาะสมตามขนบธรรมเนียมประเพณี มลี กั ษณะของความดคี วามถกู ต้องอนั
จะกอ่ ให้เกิดประโยชนต์ ่อตนเองและสังคม อีกทั้งเป็นการรูส้ กึ ผิดชอบช่วั ดี และเปน็ การกระทำทสี่ ังคมใหก้ าร
ยอมรับ แสดงออกในลกั ษณะเป็นรปู ธรรม

สุทธวิ รรณ ตนั ตริ จนาวงศ์ และ ศศิกาญจน์ ทวิสวุ รรณ (2552 : 11) ให้ความหมายของจริยธรรม คอื
พฤติกรรมที่แสดงออกใหเ้ หน็ เป็นการปฏิบัติดี ปฏิบตั ไิ ดถ้ ูกต้อง ทีเ่ ปน็ ผลมาจากความคิดท่ีสังคมหรือบุคคลเห็น
ร่วมกันเป็นส่งิ ทด่ี ี โดยมกี รอบหรือแนวทางอนั ดงี ามท่ีพึงปฏิบตั ซิ ึง่ กำหนดไว้สำหรับสงั คม เพื่อให้เกดิ ความเป็น
ระเบียบเรยี บร้อย งดงาม ความร่มเยน็ เปน็ สุข ความรัก สามัคคี ความอบอุ่น มน่ั คงปลอดภยั ในการดำเนนิ ชีวติ
ขวัญฟา้ รงั สิยานนท์ (2552 : 19) ให้ความหมายของจรยิ ธรรม คอื การแสดงออกดา้ น

พฤตกิ รรม (กาย สังคม) จิตใจและปัญญาทเี่ กิดจากการรูเขาใจความจริง รูถ้ ึงกฎเกณฑ์แหง่ ความเป็นไป
ตามเหตุปัจจยั ของสง่ิ ท้งั หลาย แล้วเอาความรนู น้ั มาใช้ ทำใหป้ ฏิบตั ิตอชวี ิตตนเองและสงิ่ ทั้งหลายรอบตัวไดถกู ต้อง
จรยิ ธรรมตามหลักพุทธศาสนาจึงเป็นเรือ่ งของระบบการดำเนินชวี ติ ที่ดงี ามทัง้ ดานกาย สังคมจติ ใจ และปัญญา ท่ี
สอดคลองกับหลักความจรงิ ของธรรมชาติ

สุภาพร สขุ สวัสดิ์ (2552 : 21) สรุปว่า จริยธรรมเป็นความประพฤติของบุคคล เป็นแนวทางของการ
ประพฤติปฏบิ ตั ติ นในสิง่ ท่ีดงี าม เหมาะสม และเป็นที่ยอมรบั ของสงั คม เพ่อื ประโยชน์ของตนเองและสว่ นรวม

อติกนั ต์ ภดู ีทพิ ย์ (2552 : 24) ได้สรุปความหมายของจรยิ ธรรม คอื การประพฤติปฏิบตั ทิ ี่เปน็ ไปตาม
ระเบยี บแบบแผน กฎเกณฑ์ทางสงั คมของบุคคลทั้งทางกาย วาจา ใจ เพือ่ ก่อให้เกิดความเจรญิ และอยรู่ วมกนั อยา่ ง
สงบสขุ เป็นการขจัดขัดแย้งทางสงั คม ทำให้เกิดการพัฒนาและเปน็ ปกตสิ ขุ

ทิพย์ หาสาสน์ศรี (2553 : 7) ไดส้ รุปความหมายของจริยธรรม คอื ธรรมท่ีเปน็ หลกั เกณฑใ์ นการ
ประพฤติปฏบิ ัตติ ามกฎของศีลธรรม ซึง่ ผูป้ ฏิบัติจะประสบแต่สภาพชวี ิตท่ีดีที่เจรญิ ร่งุ เรือง และสงบสุข

พระบุญทัน จารุวณฺโณ (กณาลกั ษณ์) (2553 : 9) กลา่ วว่า จริยธรรม มาจากคำ 2 คำ คือ จรยิ ะ +
ธรรม ซง่ึ แปลตามศพั ท์คือจรยิ ะ แปลวา่ ความประพฤติ กริ ิยาท่คี วรประพฤติธรรม แปลว่า คุณงามความดี คำส่ัง

9

สอนในศาสนา หลกั ปฏบิ ัตใิ นทางศาสนา ความจริง ความยตุ ธิ รรม ความถกู ตอง กฎเกณฑ์ เมอื่ นำเอาคำ จริยะมา
ต่อกบั คำว่า ธรรม เปน็ จรยิ ธรรม แปลเอาความหมายวา กฎเกณฑแ์ ห่งความประพฤตหิ รอื หลกั ความจรงิ ทีเ่ ป็น
แนวทางแหงความประพฤตปิ ฏิบัติ

นาวิน เหมอื นแสง (2553 : 39-40) กล่าวว่า จรยิ ธรรม หมายถงึ ลักษณะทางสังคมหลายลักษณะของ
มนษุ ย์ และมีขอบเขตรวมถงึ พฤตกิ รรมทางสงั คมประเภทต่าง ๆ ดว้ ย ลกั ษณะและพฤติกรรมท่เี กี่ยวขอ้ งกบั
จริยธรรม จะมีคณุ สมบัติประเภทใดประเภทหนง่ึ ในสองประเภท คือ เปน็ ลักษณะทส่ี งั คมตอ้ งการให้มอี ยู่ในสมาชิก
สังคมนั้น คือ เป็นพฤติกรรมท่ีสงั คมนยิ มชมชอบ ให้การสนับสนุนและผ้กู ระทำสว่ นมากเกิดความพอใจว่าการ
กระทำน้ันเป็นสิ่งท่ถี ูกตอ้ งและเหมาะสม สว่ นอกี ประเภทหนง่ึ คือ ลกั ษณะท่ีสังคมไม่ต้องการให้มีอยูร่ ่วมในสมาชกิ
ของสงั คม เปน็ การกระทำที่สังคมลงโทษหรอื พยายามกำจดั และผูก้ ระทำพฤตกิ รรมน้นั สว่ นมากรู้สึกวา่ เปน็ สิ่งที่ไม่
ถูกตอ้ งและไมส่ มควร ฉะนัน้ ผู้ทม่ี จี ริยธรรมสงู คอื ผู้ทม่ี ีลักษณะและพฤตกิ รรมประเภทแรกมากและประเภทหลงั
น้อย ลักษณะตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ที่เกีย่ วขอ้ งกบั จรยิ ธรรมนนั้ แบง่ ออกไดเ้ ป็นหลายประเภทด้วยกัน เช่น ความรู้
ทศั นคติ การใชเ้ หตผุ ล และพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ เป็นตน้

ณัฐ จันทร์หนหู งส์ (2554 : 11) สรุปว่า จริยธรรม คอื การกระทำหรอื การแสดงออกทางกาย วาจา ใจ ที่
ถูกตอ้ ง ดีงาม ทั้งภายนอกและภายใน ตามกฏเกณฑ์ของสังคม อันก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์และความสุขตอ่ ตนเอง ผ้อู นื่
และสงั คม

ชัยนนท์ นิลพัฒน์ (2555 : 17) กล่าวโดยสรุปวา่ จรยิ ธรรม คือ หลักการทีม่ นุษย์ในสงั คมยอมรับวา่ ดงี าม
และเห็นควรยดึ ถือปฏิบัติเพื่อการอยูร่ ่วมกันอยา่ งเป็นสขุ ในสังคมนน่ั เอง และเม่ือนำไปใชก้ ับการประกอบอาชพี
หรอื การทำงาน ซึง่ เปน็ กิจกรรมทีม่ คี วามสำคญั ที่สุดอย่างหนึ่งของมนษุ ยแ์ ละสงั คม ก็ย่อมหมายความว่ามนษุ ย์ยอ่ ม
จะตอ้ งมีจริยธรรมในการท างานหรอื การประกอบอาชพี เพราะในการทำงานมนษุ ย์ยอ่ มต้องมสี งั คมซง่ึ
ประกอบด้วยคนหลายคนมคี วามเชอ่ื และความคิดเห็นท่ีตา่ งกัน จงึ มีความจำเปน็ ตอ้ งมีการวางกรอบให้มนษุ ย์
ประพฤติไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อการทำงานรว่ มกนั อย่างสงบสขุ และบรรลเุ ป้าหมายในงานนนั้ ๆ

ไชยพร เรืองแหล้ (2556 : 16) กลา่ วสรุปว่า จริยธรรม คอื ความดงี ามท่ีเป็นหลกั ในการประพฤติปฏิบัติใน
การดำเนินชวี ติ ท้ังทางกาย ทางวาจา ทางใจ อันช้ีให้เหน็ ถึงความเจริญงอกงามในชีวิตและรวมถึงสภาพแวดลอ้ มท่ี
โนม้ นำใหบ้ คุ คลมงุ่ กระทำความดี เป็นหลกั ความประพฤตขิ องบุคคล เปน็ แนวทางของการประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นในสิ่ง
ทด่ี งี ามเหมาะสม และเป็นทย่ี อมรบั ของสังคมเพอื่ ประโยชน์ของตนเองและส่วนรวม

ดรุณี โอวจริยาพิทักษ์ และคณะ (2557 : 12) สรุปว่า จรยิ ธรรม หมายถึง มาตรฐาน หลักปฏิบตั ิท่ีดีงาม
ถูกต้องเหมาะสมกลา่ วโดยสรุป คุณธรรมและจรยิ ธรรมกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ท้งั ตอ่ ตนเอง คือ ทำให้ตนเอง
มชี ีวิตทส่ี งบ มีความเจรญิ รุ่งเรืองในชีวติ สว่ นตัวและการงานอาชีพ มคี วามมน่ั คง ก้าวหนา้ ไดร้ บั การยกยอ่ ง
จากบคุ คลทัว่ ไป ครอบครวั อบอนุ่ มคี วามสขุ ฐานะทางเศรษฐกิจม่ันคง ประโยชน์ตอ่ สงั คมและประเทศชาติ
คือ สถาบนั ครอบครัวได้รับการยกยอ่ ง สถาบนั การศึกษา หรอื สถาบนั อื่น ๆ มีช่อื เสยี ง ทำให้บุคคลอืน่ ศรัทธา
เลอ่ื มใส สถาบันหรือหน่วยงานท่ีตนเองสงั กดั มคี วามเจริญกา้ วหนา้ สงั คมไดร้ ับความสงบสขุ และไดร้ ับการพฒั นา
สถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ มคี วามม่นั คง ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวัฒนธรรมอนั ดงี ามของชาติ

10

มคี วามม่ันคงถาวร เพราะทุกคนมีความรู้ความเข้าใจและเต็มใจยึดถอื ปฏิบัติตาม

1.4 ความสำคญั ของคุณธรรม จริยธรรม
ผ้ทู รงคุณวฒุ หิ ลายทา่ น ไดก้ ล่าวถงึ ความสำคัญของคุณธรรม จรยิ ธรรม ดังน้ี
รัตนากร วงค์ศรี และคณะ (2550 : 9) สรุปว่า ความสำคญั ของคุณธรรมทำใหเ้ กิดจริยธรรม ค่านิยมท่ี
เหมาะสม ส่งผลส่กู ารนำไปปฏิบัตทิ ี่ถกู ต้อง ตลอดจนทำใหเ้ กิดความสุขความพอใจให้กับตนเองและทำใหเ้ กิดสันติ
สุขต่อสงั คม ซ่งึ คณุ ธรรมสามารถที่จะปลูกฝงั กันได้ เมื่อบุคคลเกดิ คุณธรรมอย่างหน่งึ กจ็ ะส่งผลใหเ้ กิดคุณธรรมดา้ น
อ่ืน ๆ ตามมา
พระมหาณัฐพล ดอนตะโก (2551 : 16) กลา่ ววา่ คณุ ธรรมเป็นพื้นฐานของการเกดิ จรยิ ธรรม ค่านยิ มที่
เหมาะสม ตลอดจนความสขุ ความพอใจ คุณธรรมสรา้ งคนดแี ละความดี เปน็ ปจั จยั ส่งเสริมวินัยของคน
เช่นเดียวกบั ที่ธรรมเปน็ เครือ่ งสง่ เสริมศีลในทางศาสนา วนิ ัยนนั้ เป็นมาตรการบงั คบั ภายนอก ไมม่ ีอำนาจบังคบั
ภายในจติ ใจ สว่ นคุณธรรมเป็นคุณลักษณะท่เี กิดขึ้นภายในจติ ใจ จึงจำเป็นตอ้ งสรา้ งคุณธรรมใหม้ ีในจิตใจ
ข้าราชการโดยเหมาะสมแก่การเป็นขา้ ราชการ การบริหารราชการและการส่งเสรมิ วินยั ขา้ ราชการ
ปราณี ปริยวาที (2551 : 16) ได้สรปุ วา่ จริยธรรมช่วยปูพนื้ ฐาน ความรู้ ความเข้าใจและความรู้สึกท่ีดี
ใหก้ ับเด็ก นอกจากนี้ ยงั เป็นแนวทางให้เดก็ เลอื กปฏบิ ัติไดถ้ ูกต้อง จริยธรรมมีความสำคญั สำหรับเด็กปฐมวยั ในการ
ปพู น้ื ฐานลกั ษณะอนั ดีงามให้กับเดก็ ควรให้เดก็ เกิดความรู้ความเข้าใจทจี่ ะนำไปปฏบิ ัติให้เกดิ เป็นนสิ ัย ซงึ่
ธรี าพร กุลนานันท์ (2554 อ้างถงึ ใน ปราณี ปริยวาที2551 : 16) ไดก้ ล่าวถงึ การพฒั นาเด็กมี 3 ดา้ น คอื
1. ด้านพุทธปิ ญั ญา (Cognitive Domain) ไดแ้ ก่ การเกิดความรู้ ความเขา้ ใจวา่ สงิ่ ใดดสี ง่ิ ใดถูกตอ้ ง สงิ่ ใด
ควรทำ ส่ิงใดควรยกเวน้
2. ดา้ นจิตพิสัย (Affective Domain) ไดแ้ ก่ การเกิดความรสู้ ึกโน้มเอยี งทางอารมณท์ ี่สะทอ้ นออกมาใน
ลกั ษณะทางการชอบ - ไมช่ อบ อย่างเห็นความสำคัญ เตม็ ใจรับค่านิยมเป็นแนวทางประพฤติปฏบิ ตั ิจนเปน็ นิสยั
3. ดา้ นทกั ษะพิสัย (Psychomotor Domain) ไดแ้ ก่ ความสามารถท่ีจะลงมอื ปฏิบตั ดิ ว้ ยกายหรอื วาจา ใน
ลักษณะนิสัยทางจรยิ ธรรม

ฉันทนา โรจนบ์ รู ณาวงศ์ (2552 : 19) กลา่ ววา่ คุณธรรมและจริยธรรมมีความสำคัญยง่ิ ทงั้ ในแงส่ ่วนตน
และสว่ นรวม เพราะหากคนในสงั คมขาดคุณธรรมจริยธรรมแลว้ จะส่งผลเสียหายอยา่ งย่งิ แก่สงั คม คุณธรรมมี
ความสำคญั ตอ่ บคุ คล คือ ทำให้บุคคลมีศกั ด์ิศรี ได้รบั การยอมรบั ได้รับความสำเร็จและมคี วามปลอดภัยในการ
ดำรงชวี ิต มคี วามสำคัญต่อส่วนรวม คอื ทำใหค้ นในสังคมอยู่รว่ มกันได้อยา่ งปกติสุข ประเทศชาติเจรญิ ก้าวหนา้
และจริยธรรมเป็นรากฐานอันสำคัญแหง่ ความเจริญรงุ่ เรือง ความมั่นคงและความสงบสุขของปจั เจกชน สังคม และ
ประเทศชาติ

11

พุทธประวตั ิ
พระประวตั ขิ องพระบรมศาสดา
ก่อนพุทธศกั ราช 80 ปี พระนางสิรมิ ายา ราชธดิ าของกษตั ริยโ์ กลยิ วงคผ์ ้คู รองกรงุ เทวทหะ พระมเหสขี อง

พระเจา้ สุทโธทนะ กษตั รยิ ์ผู้ครองกรุงกบลิ พสั ด์ุ ทรงประสูตพิ ระโอรส เมอื่ วันศุกร์ ขึ้น 15 คำ่ เดอื น 6 ปจี อ ณ สวน
ลุมพินีวัน ซึ่งตัง้ อยรู่ ะหว่างกรงุ กบลิ พสั ดกุ์ บั กรุงเทวทหะ (ปจั จุบนั คอื ตำบลรมุ มินเด ประเทศเนปาล)

หลงั จากประสตู ิ
อสตี ดาบส เปน็ มหาฤษอี ยู่ ณ เชิงเขาหิมพานต์เป็นที่เคารพของราชสกลุ ได้รับ ทราบข่าวการประสตู รของ

พระกุมารจงึ เดินทางมาเย่ยี ม และไดท้ ำนายว่า ถา้ พระกุมารอยูค่ รองฆราวาสจะไดเ้ ปน็ จักรพรรดิ ถ้าออกบวชจะได้
เปน็ ศาสดาเอกของโลก 5 วนั หลงั ประสูตพิ ระเจ้าสทุ โธทนะพรอ้ มทงั้ พระนางสริ มิ หามายา พระประยรู ญาตไิ ด้จัด
พิธขี นานพระนามพระราชกุมารวา่ สทิ ธตั ถะ โดยเชญิ พราหมณ์ 108 คนมาเลี้ยง แลว้ ได้คัดเลอื กเอาพราหมณช์ ั้น
ยอด 8 คนให้เปน็ ผ้ทู ำนายลกั ษณะพระกุมาร เมอ่ื ประสตู ไิ ด้ 7 วนั พระมารดาก็เสด็จทิวงคต พระเจ้าสทุ โธทนะ จึง
มอบให้พระนางประชาบดีซงึ่ เปน็ พระขนษิ ฐาของพระนางสิริมหามายาเป็นผู้เลี้ยงดู เมื่อเจ้าชายสิทธตั ถะ
พระชนมายุ 8 พรรษาไดท้ รงศึกษาในสำนกั ครูวศิ วะมิตร พระองค์ทรงศึกษาได้อยา่ งรวดเรว็ มีความจำดีเลิศ และ
ทรงพระปรีชาสามารถในการกีฬา ขี่ม้า ฟันดาบ และยิงธนู

อภิเษกสมรส
วยั หนุ่ม พระราชบิดาไมต่ อ้ งการให้เจ้าชายสทิ ธัตถะทรงออกบวช พระองคท์ รงพอพระทัยท่จี ะให้เจ้าชาย

สทิ ธตั ถะเปน็ องคจ์ กั รพรรดิ จึงใช้ควาพยายามทุกวิถีทางเมือ่ เจ้าชายสิทธัตถะพระชนมายไุ ด้ 16 พรรษา พระราช
บิดาไดโ้ ปรดให้สร้างปราสาท 3 หลงั ให้ประทบั ใน 3 ฤดู และทรงสู่ขอพระนางโสธราพมิ พา พระราชธิดาของพระ
เจ้าสุปปพุทธะ แห่งกรงุ เทวทหะ อย่ใู นตระกูลโกลิยวงคใ์ หอ้ ภเิ ษกด้วย เจ้าชายสทิ ธตั ถะได้เสวยสุขสมบตั จิ น
พระชนมายุ 29 พรรษา พระนางยโสาธาราก็ประสตู พิ ระโอรส ทรงพระนามว่าราหลุ

ออกบรรพชา
เสดจ็ ออกบรรพชา เจ้าชายสทิ ธัตถะทรงเบอ่ื หนา่ ยในโลกยี วสิ ยั ถึงแม้ว่าพระองคจ์ ะทรงสมบรู ณ์ดว้ ยทรพั ย์

สมบตั อิ ยา่ งเหลือลน้ พระองค์กย็ งั คงตริตรองถงึ ชวี ติ คน ฝักใฝพ่ ระทยั คดิ คน้ หาวิธที างดับทกุ ข์ทีม่ นุษยเ์ รามีมากมาย
พระองคค์ ดิ ว่า ถา้ ยังอยู่ในเพศฆราวาส พระองค์คงหาทางแกท้ กุ ข์ อนั เกดิ จากความแก่ ความเจ็บ ความตายไม่ได้
แน่ พระองคจ์ งึ ตดั สินใจเสด็จออกบวช โดยพระองคท์ รงมา้ กัณฐกะ สู่แม่น้ำอโนมา ณ ทน่ี ี้พระองคท์ รงอธษิ ฐานเพศ
เปน็ บรรพชิตและมอบหมายเคร่ืองประดบั และม้ากัณฐกะให้นายฉนั นะนำกลับไปยังกรงุ กบิลพัสด์ุ

12

เขา้ ศึกษาในสำนกั ดาบส
การแสวงหาธรรม ระยะแรกหลงั จากทรงออกบวชแลว้ เจ้าชายสทิ ธตั ถะไดท้ รงศึกษาในสำนกั

อาฬารดาบส ทกี่ รุงราชคฤห์ อาณาจักรมคธเม่อื สำเร็จการศึกษาจากสำนกั น้ีแล้วพระองคท์ รงเห็นวา่ ไมใ่ ชห่ นทางใน
การหลดุ พ้นจากทุกข์ตามท่ีพระองคไ์ ดท้ รงมงุ่ หวังไว้พระองคจ์ ึงลาอาฬารดาบสและอทุ ทกดาบสเดินทางไปแถบ
แม่น้ำคยา ในตำบลอุรุเวลาเสนานคิ มแหง่ กรงุ ราชคฤห์ อาณาจกั รมคธ

บำเพ็ญทกุ รกริ ิยา
การบำเพญ็ ทุกรกิรยิ า เมอ่ื พระองค์ทรงเปลีย่ นพระทยั ทีจ่ ะคดิ คน้ คว้าแสวงหาความรู้ดว้ ยพระองคเ์ อง

แทนทีจ่ ะทรงเลา่ เรียนในสำนักอาจารยแ์ ล้วพระองค์เรมิ่ ดว้ ยการทรมานพระวรกายตามวิธกี ารของโยคี เรยี กว่า
การบำเพญ็ ทุกรกิรยิ า บรเิ วณแมน่ ำ้ เนรญั ชรานัน้ พระมหาบุรุษได้ทรงบำเพญ็ ทุกรกิรยิ าเป็นเวลา 6 ปี พระองคก์ ็
ยงั คงมิได้คน้ หาทางหลุดพน้ จากทกุ ขไ์ ด้ พระองค์ทรงเลกิ การบำเพ็ญทกุ รกริ ยิ า แลว้ กลับมาเสวยพระกระยาหาร
เพือ่ บำรงุ พระวรกายให้แขง็ แรง จะได้มกี ำลังในการคดิ ค้นพบวธิ ใี หม่ ในขณะท่ีพระมหาบุรษุ ไดท้ รงบำเพญ็ ทุกร
กริ ิยานน้ั ได้มปี ญั จวคั คยี ม์ าคอยปรนนบิ ัตริ ับใช้ด้วยความหวงั วา่ พระมหาบรุ ษุ ไดต้ รสั รแู้ ล้วพวกตนจะไดร้ ับการ
ถา่ ยทอดบ้าง และเมือ่ พระมหาบุรุษล้มเลิกการบำเพญ็ ทุกรกิริยา ปัญจวคั คียก์ ไ็ ดช้ วนกนั ละท้ิงมหาบรุ ษุ ไปทัง้ หมด
เป็นผลทำใหพ้ ระมหาบุรุษไดอ้ ยู่ตามลำพังในที่สงบเงียบ ปราศจากส่งิ รบกวนท้งั ปวง ปัญจวคั คีไปอยทู่ ่ีปา่ อสิ ิปตน
มฤคทายวนั กรงุ พาราณสี พระองคไ์ ด้ทรงตัง้ พระสติและเดนิ ทางกายกลาง คือ การปฏบิ ัติในความพอเหมาะ
พอควร

ตรัสรู้
ตรัสรู้ ตอนเชา้ วันเพ็ญเดือน 6 ปีระกา กอ่ นพุทธศักราช 45 นางสุชาดาไดน้ ำข้าวมธปุ ายาสเพอ่ื ไป

บวงสรวงเทวดา คร้ันเห็นพระมหาบรุ ุษประทับที่โคนต้นไทรด้วยอาการสงบ นางคดิ ว่าเปน็ เทวดา จึงถวายทอดข้าว
มธุปายาสแล้วเสดจ็ ไปริมฝ่ังแมน่ ำ้ เนรัญชรา ตอนเยน็ วนั นน้ั เองพระองคไ์ ด้กลับมายงั ต้นโพธ์ทิ ่ีประทบั พบคนหาบ
หญา้ ชอ่ื โสตถยิ ะ คนหาบหญ้าได้ถวายหญา้ ให้พระองค์ปูลาด ณ ใต้ต้นโพธิ์ แลว้ ขึน้ ประทบั หันพระพักตร์ไปทางทศิ
ตะวนั ออก และไดต้ ้งั จิตอธิษฐานวา่ แมเ้ ลอื ดในกายของเราจะเหือดแหง้ ไปเหลอื แต่หนงั เอ็น กระดกู ก็ตาม ถ้ายงั
ไม่พบธรรมวิเศษแลว้ จะไมย่ อมหยุดความเพยี รเป็นอนั ขาด เม่อื ทรงตงั้ จิตอธิษฐานแลว้ พระองค์ก็ทรงสำรวมจติ ให้
สงบแน่วแน่ พระองคเ์ ริม่ บำเพ็ญเพียรทางจิต และในท่ีสดุ ทรงชนะความลงั เลพระทัย ทรงบรรลคุ วามสำเร็จ เม่ือ
พระองคท์ รงรเู้ ห็นอยา่ งนี้ จิตก็พ้นจากกิเลสท้งั ปวง พระองค์ก็ตรัสรู้เป็นพระสมั มาสัมพุทธเจา้ เมอื่ พระชนมายุ 35
พรรษา ในวันเพญ็ เดอื น 6 ปีระกาธรรมสูงสง่ ทพี่ ระพุทธเจ้าตรัสรนู้ ้ัน คือ อริยสัจ ทกุ ข์ สมุทยั นโิ รธ และมรรค

13

ประกาศพระศาสนาครง้ั แรก
การแสดงปฐมเทศนา วนั ขึน้ 14 ค่ำ เดอื นอาสาฬหะ (เดือน 8) ณ ปา่ อิสิปตนมฤคทายวนั พระพุทธเจา้

เสดจ็ ไปหาปญั จวคั คีย์ พระองคไ์ ด้ทรงแสดงธรรมในวนั ขึน้ 15 คำ่ เดอื น 8 เรยี กว่า ธรรมจักกัปวัตนสูตร ในขณะที่
ทรงแสดงธรรมนัน้ ทา่ นโกณฑญั ญะได้ธรรมจักษุ คอื พระโสดาบนั ไดท้ ูลขออปุ สมบทในพระธรรมวนิ ยั ของสมั ม
สมั พทุ ธเจ้า เรยี กการบวชครง้ั น้วี ่า "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" พระอญั ญาโกณฑัญญะ จึงเปน็ พระภกิ ษรุ ปู แรกในพทุ ธ
ศาสนา

การประกาศพระพุทธศาสนา
เม่ือพระองค์ มสี าวกเป็นพระอรหนั ต์ 60 องค์ และกไ็ ดอ้ อกพรรษาแล้ว ทรงพิจารณาเห็นสมควรว่าจะ

ออกไปประกาศศาสนา ใหเ้ ป็นท่ีแพรห่ ลายไดแ้ ลว้ พระองค์จึงเรียกประชมุ สาวกท้ังหมดแล้วตรสั ว่า "ภิกษุทง้ั หลาย
เราไดพ้ ้อนจากบ่วงทง้ั ปวงท้งั ชนดิ ทเี่ ปน็ ทิพย์ และชนดิ ท่เี ป็นของมนุษย์แล้ว แม้ท่านทั้งหลายก็เช่นเดียวกนั เรา
ทง้ั หลายจงพากันจาริกไปยังชนบททัง้ หลาย เพ่อื ประโยชน์และความสุขแกม่ หาชนเถดิ อย่าไปรวมกันทางเดยี วถึง
สองรปู เลย จงแสดงธรรมให้งามท้ังในเบ้ืองตน้ ทา่ มกลาง และท่ีสดุ พร้อมทั้งอรรถ พรอ้ มทงั้ พยญั ชนะ เถิด จง
ประกาศพรหมจรรยอ์ นั บรสิ ุทธ์ิบรบิ รู ณส์ ้นิ เชิง สัตวท์ ั้งหลายทม่ี กี ิเลสเบาบางน้นั มีอยู่ เพราะโทษที่ไม่ไดฟ้ งั ธรรม
ย่อมจะเสอื่ มจากคณุ ท่ีจะพึงได้ถงึ ผ้รู ทู้ ว่ั ถงึ ธรรมคงจกั มอี ยู่ แมต้ ัวเรากจ็ ะไปยงั อุรุเวลาเสนานคิ ม เพ่ือแสดงธรรม
เชน่ กนั " พระองค์ทรงสง่ สาวกออกประกาศศาสนาพร้อมกันทีเดยี ว 60 องค์ ไป 60 สาย คือ ไปกนั ทกุ สารทิศ
ทเี ดยี ว แมพ้ ระองคเ์ องกไ็ ปเหมอื นกัน ไม่ใชแ่ ตส่ าวกอย่างเดยี วเทา่ นัน้ นับวา่ เปน็ ตวั อย่างที่ดขี องบคุ คลที่จะเป็น
ผูน้ ำทีเดยี ว

สาวกทง้ั 60 องค์เม่อื ไดร้ ับพุทธบญั ชาเชน่ นัน้ ก็แยกย้ายกันไปประกาศศาสนาตามจงั หวัด อำเภอ และ
ตำบลต่างๆ ทำให้กุลบุตรในดนิ แดนถิ่นฐานตา่ ง ๆ เหล่านัน้ หนั มาสนใจมากเลอ่ื มใสมากขึ้น บางคนขอบวช แต่
สาวกเหล่านนั้ ยังให้บวชเองไม่ได้ จึงต้องพากลุ บตุ รเหลา่ นน้ั มาเฝ้าพระพทุ ธเจ้าเพ่อื ให้พระองค์บวชให้ทำให้ได้รบั
ความลำบากในการเดนิ ทางมาก ฉะนัน้ พระพุทธเจา้ จงึ ทรงอนุญาตใหส้ าวกเหล่านน้ั อปุ สมบทกุลบตุ รได้โดยโกนผม
และหนวดเคราเสียกอ่ น แลว้ จึงให้นุ่งห่มผา้ ย้อมด้วยนำ้ ฝาด นั่งคกุ เขา่ พนมมอื กราบภกิ ษแุ ล้วเปล่งว่าจาวา่ "ข้าพเจา้
ขอถงึ พระพทุ ธเจา้ เป็นสรณะ ขา้ พเจ้าขอถงึ พระธรรมเปน็ สรณะ ขา้ พเจ้าขอถงึ พระสงฆเ์ ปน็ สรณะ" รวม 3 ครั้ง การ
อุปสมบทนีเ้ รียกวา่ "ติสรณคมนปู สัมปทา" คือ อุปสมบทโดยวิธใี ห้ปฏิญญาณตนเปน็ ผูถ้ งึ สรณคมน์

ทรงปรนิ ิพาน
การเสดจ็ ปรนิ ิพพาน หลังจากพระพุทธเจา้ แสดงปัจฉิมโอวาท ซ่ึงวันนัน้ ตรงกับวนั เพ็ญเดอื นวสิ าขะ (เดอื น

6) ในยามสุดทา้ ยของวันน้ัน ณ ปา่ ไมส้ าละ(สาลวันอทุ ยาน) ของกษตั ริย์มลั ละ กรุงกุสินารา พระองคไ์ ดป้ ระทับใต้
ต้นสาละคู่ หลังจากตรัสโอวาทให้แก่พระอรยิ สงฆแ์ ลว้ พระองคม์ ิได้ตรัสอะไรอกี แลว้ เสดจ็ ปรินิพพาน ดว้ ยพระ
อาการสงบ ซ่งึ เปน็ ทนี่ ่าอศั จรรยน์ กั ท่ีวนั ประสูติ วนั ตรัสรู้ และวนั ปรินิพพานของพระพุทธเจา้ ตรงกัน คอื วันเพ็ญ
เดือน 6

14

เบญจศีลและเบญจธรรม เปน็ ธรรมคู่กนั คนทมี่ ีเบญจธรรมจงึ จะเป็นผมู้ เี บญจศลี ซึง่ หากคนมีศีลและ
ธรรมดังกลา่ วแล้ว จะเว้นจากการทำความช่วั รจู้ ักควบคุมตนใหต้ ัง้ อยใู่ นความดี ไมเ่ บียดเบยี นตนและคนอนื่ และ
ประพฤตชิ อบทางกาย วาจา และใจ จะทำใหอ้ ยู่ร่วมกบั คนอืน่ ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

เบญจศลี หมายถงึ ศีล 5 ข้อ เป็นการรกั ษาเจตนาทจี่ ะควบคุมกาย และวาจาให้เป็นปกติ คอื ไม่ทำบาป
โดยการละเว้น 5 ประการ คือ ละเวน้ จากการฆา่ สัตว์ ละเว้นจากการลักขโมย ละเวน้ จากการประพฤตผิ ิดในกาม ละ
เว้นจากการพดู ปด ละเว้นจากการเสพสุรา

เบญจศลี เปน็ เคร่อื งรกั ษาเจตนาท่ีจะควบคุมกาย และวาจาให้เป็นปกติ คอื ไม่ทำบาป โดยการละเวน้ 5
ประการ คือ

1. ปาณาตบิ าต คือ ละเวน้ จากการฆา่ สัตว์ และการเบียดเบยี นสัตว์
2. อทนิ นาทาน คือ ละเว้นจากการลกั ขโมย ปล้นจี้ ฉกชิง วิง่ ราว เป็นตน้
3. กาเมสมุ จิ ฉาจาร คือ ละเว้นจากการประพฤติผิด ลว่ งละเมดิ ลูกเมียผู้อนื่
4. มุสาวาท คือ ละเวน้ จากการพูดปด พดู คำหยาบ พูดเพ้อเจอ้ พูดส่อเสียด
5. สุราเมระยะ คอื ละเว้นจากการเสพสุรา เพราะเป็นสาเหตใุ หท้ ำผดิ ศลี ข้อ

อานสิ งส์ของการรกั ษาศลี
1. ทำใหม้ ีความสุขกายสุขใจ ทำให้ไม่เปน็ คนหลงลมื สติ
2. ทำให้เกิดทรัพย์สมบัตมิ ากขึน้ ได้
3. ทำให้สามารถใช้สอยทรพั ยน์ ้นั ไดเ้ ตม็ ที่ โดยไมต่ ้องหวาดระแวงภยั
4. ทำให้ไม่ต้องหวาดระแวงว่าจะมใี ครมาทวงทรพั ยค์ นื
5. ทำให้เกียรตคิ ณุ ฟงุ้ ขจรขจายไป ทำให้ผู้อน่ื เกิดความเคารพเชอื่ ถอื
6. ตายแลว้ ย่อมไปเกิดในสุคติภูมิ
เบญจศีลทงั้ 5 ขอ้ จะเกิดขึน้ มาได้กเ็ พราะบคุ คลผู้นนั้ มเี บญจธรรมประจำตัว

เบญจธรรม เป็นหลักธรรมที่ควรปฏิบัติ มี 5 ประการ ไดแ้ ก่
1. เมตตากรุณา คือ บคุ คลใดทีม่ เี มตตายอ่ มไมฆ่ ่า หรือเบียดเบยี นสตั ว์ ด้วยรู้ดวี ่าทกุ ชีวิตยอ่ มมี ความรู
ตวั กลวั ตายเชน่ เดยี วกบั เรา ทำใหไ้ ม่ผิดศีลในข้อท่ี 1
2. สัมมาอาชพี คอื ประกอบอาชพี ทส่ี ุจริต มรี ายได้ รู้จกั ใช้จา่ ย และท่สี ำคญั รจู้ ักคำว่าพอดี และมี
หิรโิ อตตัปปะ คือ ความละอาย และเกรงกลวั ต่อผลของบาป จงึ ทำให้ไมผ่ ิดศีลขอ้ ท่ี 2
3. ความสำรวมอนิ ทรยี ์ คอื ระมัดระวัง ตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ ทำให้ ความใคร่ในกามคุณ คือ การ
ตดิ ในรูป รส กล่นิ เสยี ง สมั ผัส ลดน้อยลง เมอื่ ความสำรวมเกดิ ขนึ้ จงึ ทำให้ไมผ่ ิดศลี ข้อท่ี 3
4. ความซือ่ สตั ย์ คือ การพูดความจริง เป็นสง่ิ ทท่ี ำใหไ้ มเ่ กิดการมสุ าวาท ทำใหไ้ ม่ผดิ ศลี ข้อท่ี 4

15

5. สติ คือ การรู้สึกตัว ซ่งึ เป็นหัวหนา้ ฝ่ายกุศล ทำให้ชวี ติ ไม่ประมาท เพราะรู้วา่ อะไรดี อะไรช่ัว ทำใหไ้ ม่
เกลือกกล้วั กบั สิง่ ทจี่ ะทำให้ชวี ติ ตกตำ่ เชน่ สรุ าเม่ือคนดม่ื กนิ กท็ ำใหม้ นึ เมาและขาดสติ การมีสตจิ ึงทำให้ไมผ่ ิดศลี
ข้อที่ 5

ศาสนพิธี

พิธี คอื แบบอยา่ ง แบบแผน หรือรูปแบบต่างๆ ที่พึงปฏิบตั ใิ นทางศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนา
เรียกวา่ ศาสนพิธี ความจริงเร่ือง ศาสนพิธี เปน็ เรือ่ งทีม่ ีด้วยกนั ทุกศาสนา และเป็นเรอ่ื งเกดิ ขึน้ ทีหลังศาสนา
หมายความว่า มีศาสนาเกดิ ข้นึ กอ่ นแล้วจึงมีพิธตี า่ งๆ เกิดตามมาภายหลัง แม้ศาสนพิธใี นพระพทุ ธศาสนาก็เช่นกัน
เกดิ ขึน้ ภายหลังท้งั สนิ้ เหตุเกดิ ศาสนพิธีในพระพทุ ธศาสนานี้ กเ็ น่อื งจากมหี ลักการของพระพุทธศาสนา ซงึ่
พระพุทธเจ้าทรงวางไวแ้ ตใ่ นปที ี่ตรัสรู้ เพื่อสาวกจะได้ถอื เป็นหลกั ในการออกไปประกาศพระศาสนา อันเรียกวา่
"โอวาทปาตโิ มกข"์ ในโอวาทนั้น มหี ลักการสำคญั ทีท่ รงวางไวเ้ ป็นหลกั ทั่วๆไป 3 ประการคอื

1. สอนไมใ่ หท้ ำความชั่วท้ังปวง
2. สอนให้อบรมกศุ ลใหพ้ รอ้ ม
3. สอนให้ทำจิตใจของตนให้ผ่องแผว้
โดยหลกั การทงั้ 3 นี้ เป็นอันวา่ พทุ ธบริษัทตอ้ งพยายามเลกิ ละความประพฤตชิ ่ัวทกุ อย่าง จนเต็มความสามารถ
และพยายามสรา้ งกุศลสำหรับตนให้พร้อมเทา่ ท่ีจะสรา้ งได้ กบั พยายามชำระจิตใจให้ผอ่ งใสอยู่เสมอ ดว้ ยการ
พยายามทำตามคำสอนในหลกั การการน้ี เปน็ การพยายามทำดี เรยี กวา่ "ทำบญุ " และการทำบญุ นแี้ หละ
พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงวัตถุ คือท่ีตงั้ อนั เปน็ ทางไวโ้ ดยย่อ ๆ 3 ประการ เรยี กวา่ "บุญกิริยาวตั ถุ" คอื
1. ทาน การบรจิ าคสง่ิ ของของตนใหเ้ ป็นประโยชน์แก่ผอู้ น่ื
2. ศีล การรกั ษากายวาจาให้สงบเรียบร้อยไมล่ ว่ งพุทธบัญญตั ิ
3. ภาวนา การอบรมจิตใจใหผ้ ่องใสในทางกุศล

บญุ กริ ยิ านเี้ อง เปน็ แนวใหพ้ ุทธบริษทั ปฏบิ ัตติ ามหลกั การดังกลา่ วขา้ งต้น และเปน็ เค้าให้เกดิ ศาสนพิธีต่างๆ ขน้ึ
โดยนิยม คือ ในกาลตอ่ ๆ มา พทุ ธบรษิ ทั นิยมทำบญุ ไม่ว่าจะปรารภเหตใุ ดๆ ก็ให้เข้าหลักบญุ กิริยาวัตถุ 3 น้ี โดย
เรม่ิ ต้นมีการรบั ศลี ตอ่ ไปภาวนาดว้ ยการสวดมนต์เองหรือฟงั พระสวดแล้วส่งใจไปตาม จบลงด้วยการบริจาคทาน
ตามสมควร เพราะนยิ มทำบุญเป็นการบำเพญ็ ความดีดงั กลา่ วนี้ และทำในกรณีตา่ ง ๆ กันตามเหตุที่ปรารภ จึงเกดิ
พธิ ีกรรมขึ้นมากประการ เมื่อพธิ ีกรรมใด เป็นทน่ี ยิ มและรับรองปฏบิ ัติสืบ ๆ มาจนเป็นประเพณี พิธีกรรมนั้นก็
กลายเป็นศาสนพิธีขึน้

16

บทท่ี 3
วธิ กี ารดำเนินงาน

กจิ กรรม : คา่ ยสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม (ธรรมศึกษา) ได้มีวธิ กี ารดำเนนิ งาน ดังนี้

กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
มกราคม 7,650.-บาท
1.ประชมุ วางแผน เพอื่ วางแผนการดำเนิน ดำเนินการ 2564
-บุคลากร กศน. กศน.อำเภอ
กุมภาพันธ์
ดำเนนิ งาน กิจกรรมเรยี นรใู้ ห้บรรลุ อำเภอสวรรคโลก สวรรคโลก 2564

วัตถปุ ระสงค์ 15 คน กุมภาพนั ธ์
2564
-เพื่อกำหนดเน้อื หาสาระใน
2 มนี าคม
การจัดกจิ กรรม 2564

2.ประสานงานกับผู้ เพ่ือสะดวกในการจัดกิจกรรม -บุคลากร กศน. กศน.อำเภอ มีนาคม
ท่ีเก่ยี วขอ้ ง อำเภอสวรรคโลก สวรรคโลก 2564

3.จัดเตรยี มสถานที่ เพื่อสะดวกในการจดั กจิ กรรม 15 คน กศน.อำเภอ
เอกสาร และ -บุคลากร กศน. สวรรคโลก
เครอื่ งมือวดั ผล อำเภอสวรรคโลก

15 คน

4. ดำเนนิ การจัด -อบรมธรรมศกึ ษา ธรรม -บคุ ลากร กศน. กศน.อำเภอ
กจิ กรรม ติวธรรม วภิ าค เรยี งความแกก้ ระทู้ อำเภอสวรรคโลก สวรรคโลก
ศกึ ษา ธรรม
พุทธประวัติ เบญจศลี เบญจ 15 คนและ
ธรรม ศาสนพธิ คี วามรู้ด้าน นกั ศกึ ษากศน.
คุณธรรมจรยิ ธรรมใน อำเภอสวรรคโลก
ชีวิตประจำวนั
และคำส่งั สอนของ 50 คน
พระพุทธศาสนา

5.ประเมนิ ผล เพอ่ื รายงานให้ผ้บู ังคบั บญั ชา ครู กศน.ตำบล กศน.ตำบล
รายงานและ ช้นั ต้นทราบและจัดเกบ็ เปน็
สรปุ ผลการ เอกสารการประกนั คณุ ภาพ
ดำเนินงาน

17

งบประมาณ
งบประมาณ เงินอุดหนนุ คา่ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น รหสั งบประมาณ 20024316500574

รหสั กิจกรรมหลกั 200026400P2740 แหลง่ ของเงนิ 6411410 จำนวน 7,650 บาท ( เจด็ พันหกร้อยห้าสิบ

บาทถว้ น )

ดงั รายละเอยี ดดังนี้

1. ค่าวสั ดุ เปน็ เงิน 150 บาท

2. คา่ จา้ งถา่ ยเอกสารแบบฝึกหัด เปน็ เงิน 500 บาท

3. ค่าอาหาร รวม 50 คน x 1 มอ้ื x 70 บาท เปน็ เงิน 3,500 บาท

4. คา่ อาหารวา่ งและเครือ่ งดมื่ รวม 50 คน x 2 มือ้ x 25 บาท เป็นเงนิ 2,500 บาท

5. ค่าวทิ ยากร 1 คน x 5 ชวั่ โมง เป็นเงนิ 1,000 บาท

รวมเงินท้งั สนิ้ จำนวน 7,650 บาท

หมายเหตุ : ขอถวั จ่ายถามท่ีจา่ ยจรงิ

แผนการใชง้ บประมาณ ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
ท่ี กจิ กรรมหลกั (ต.ค–ธ.ค63) (ม.ค-มี.ค 64) (เม.ย-ม.ิ ย 64) (ก.ค-ก.ย 64)

1 เขยี นโครงการเพอื่ ขออนมุ ตั ิ - - - -
2 ดำเนินการตามแผนโครงการ - 7,650 - -
3 สรปุ รายงาน - - -
-

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ
1. นายสมเกยี รติ ใจหนกั ครู ศรช.ตำบลเมอื งบางยม

ภาคเี ครือขา่ ย
- หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน ในพ้นื ที่ 9 ตำบล 5 เทศบาลในเขตอำเภอสวรรคโลก
- วดั ท่าเกษม อ.สวรรคโลก จ.สุโขทยั

โครงการทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
1. โครงการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ตลอดชีวิต
2. โครงการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
3. โครงการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

18

ผลลพั ท์
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องธรรมศึกษาและคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนาและสามารถนำไปใช้ใน

ชีวิตประจำวันได้

ตัวช้วี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ
ตัวช้ีวัดผลผลติ (Outputs)

1. ร้อยละ 80 ของผู้เขา้ รบั การอบรมจบหลกั สตู ร
2. ผู้เขา้ รว่ มอบรมรอ้ ยละ 80 มคี วามพงึ พอใจในการมสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรม

ตัวชี้วัดผลลพั ธ์ (Outcomes)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผเู้ รยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเรื่องธรรมศึกษาและคำสั่งสอนของพระพทุ ธศาสนา
2. ผู้เรียนนำความรู้ท่ีได้รับการศึกษาอบรมไปศึกษาต่อในระดบั ท่ีสูงขึน้ และพฒั นาคุณภาพชีวิตของตนให้ดี
ขึ้นโดยมี กศน.ตำบล เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน และมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
เรียนรู้ตลอดชวี ิตและการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนร่ใู นชุมชนอย่างตอ่ เนื่อง
3. ผู้เรยี นมีความรเู้ ข้าใจในการอบรมคา่ ยส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม (ธรรมศกึ ษา)

19

บทท่ี 4
ผลการดำเนินงาน

จากการดำเนนิ การจดั กิจกรรมจากการได้ดำเนินการจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน คา่ ยสง่ เสริมคุณธรรม
จริยธรรม (ธรรมศึกษา) ปีงบประมาณ 2564 วนั ที่ 2 มนี าคม 2564 ณ. กศน.อำเภอสวรรคโลก
ตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทยั

ผลจากการดำเนินงาน

นกั ศึกษา กศน.อำเภอสวรรคโลกทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน คา่ ยสง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม
(ธรรมศึกษา) ปงี บประมาณ 2564 วันท่ี 2 มีนาคม 2564 ณ. กศน.อำเภอสวรรคโลก จังหวดั สโุ ขทัย
เปน็ กิจกรรมทมี่ ุ่งพัฒนาให้นักศึกษา กศน.อำเภอสวรรคโลกไดม้ คี วามรู้และเข้าใจเรื่องธรรมศกึ ษา และคำสั่งสอน
ของพระพทุ ธศาสนา และสามารถนำความรูด้ า้ นธรรมศกึ ษา คุณธรรมและจริยธรรมไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน โดยมี
นกั ศกึ ษาทีเ่ ขา้ รว่ มในการอบรม โดยแบ่งเป็น 3 ระดบั ดงั นี้

1. นักธรรมชน้ั ตรี จำนวน 49 คน
2. นักธรรมชน้ั โท จำนวน 1 คน

และมนี ักศึกษาท่สี อบผ่านธรรมศึกษา พ.ศ. 2563 ดงั น้ี

20

บทท่ี 5
สรปุ /ประเมนิ ผลการดำเนินงาน

สรุปความพึงพอใจ จากแบบประเมนิ ผลความพึงพอใจ

รายงานผลการจัดความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร ดำเนินการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน คา่ ยสง่ เสริม
คุณธรรมจรยิ ธรรม (ธรรมศึกษา) ปงี บประมาณ 2564 วนั ที่ 2 มีนาคม 2564 ณ. กศน.อำเภอสวรรคโลก
อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสโุ ขทยั เพอื่ ประเมนิ ความพึงพอใจและความคิดเห็นของผูเ้ รยี นทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ
ดงั กล่าวซึง่ มีความพึงพอใจ ต่อการให้บรกิ ารในด้าน

1. ด้านวิทยากร
2. ดา้ นสถานท่ี / ระยะเวลา / อาหาร
3. ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ
4. ดา้ นการนำความรู้ไปใช้

เกณฑ์การตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจในการรับบรกิ าร

1. เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ ผล
เครอื่ งมือที่ใชป้ ระเมนิ ผลคร้ังนี้ คอื แบบทดสอบ และแบบประเมินความพึงพอใจ

2. ระดับความพงึ พอใจ
ลักษณะคำถามมีคำตอบให้เลือก 5 ระดับ คอื มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทส่ี ุด

โดยมีเกณฑก์ ารให้คะแนนเฉลี่ย ดงั นี้
- คา่ เฉลยี่ ระหว่าง 4.50 - 5.00 หมายความวา่ พงึ พอใจมากท่สี ุด
- คา่ เฉลี่ยระหว่าง 3.50 - 4.49 หมายความว่า พึงพอใจมาก
- คา่ เฉล่ียระหวา่ ง 2.50 - 3.49 หมายความว่า พึงพอใจปานกลาง
- คา่ เฉลย่ี ระหวา่ ง 1.50 – 2.49 หมายความวา่ พงึ พอใจน้อย
- ค่าเฉล่ยี ระหวา่ ง 1.00 – 1.49 หมายความวา่ พึงพอใจนอ้ ยท่ีสดุ

21

แบบสรปุ ผล ความพึงพอใจการรบั บรกิ าร

ระดบั การประเมนิ / ค่าคะแนน (n =50 คน)

ท่ี รายการ ดมี าก ดี ปาน พอใช(้ 2) ปรับปรุง x/n
(5) (4) กลาง (1)
(3) X

ดา้ นหลกั สูตร

1 กิจกรรมทจี่ ัดสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ อง 50 250/50 5.00
หลักสตู ร

2 เนือ้ หาของหลกั สตู รตรงกบั ความต้องการของ 48 2 248/50 4.95
ผู้รับบรกิ าร

3 ผู้รบั บริการมีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็นต่อ 50 250/50 5.00
การจดั ทำหลกั สตู ร 4.98

ดา้ นการจดั กิจกรรมหรือการเรยี นรู้ เฉลี่ยรวม
เฉล่ียรวม
4 จดั กิจกรรมสอดคลอ้ งกบั ผเู้ รียน 50 เฉลย่ี รวม 250/50 5.00
49 249/50 4.97
5 จดั กจิ กรรมเป็นไปตามลำดับข้นั ตอน 49 1 249/50 4.97
50 1
6 จดั กจิ กรรมจากงา่ ยไปยาก 250/50 5.00
50 1
7 กจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเข้าใจหรือ
มีทักษะตามจุดประสงคข์ องหลักสตู ร 49

8 มีการวดั และประเมินผลตามจุดประสงคข์ อง 200/50 5.00
หลักสตู ร

9 นำผลการประเมินมาปรับปรงุ การจดั กจิ กรรมและ 249/50 4.97
ปรับหลกั สตู ร 4.98

ดา้ นวทิ ยากรหรอื ผ้สู อน

10 เปน็ ผมู้ คี วามร้แู ละความชำนาญในเรอื่ งที่สอน 49 1 249/50 4.97
50 250/50 5.00
11 มีการเตรียมตวั และมคี วามพรอ้ มในการสอนหรอื จดั 50 250/50 5.00
กิจกรรม 50 250/50 5.00
4.99
12 ถา่ ยทอดความรไู้ ด้ชัดเจนเข้าใจง่าย

13 เอาใจใสแ่ ละสงั เกตการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นและให้
ความชว่ ยเหลอื จนผเู้ รียนเขา้ ใจหรอื ปฏิบตั ิได้

22

ระดบั การประเมนิ / ค่าคะแนน (n =40 คน)

ที่ รายการ ดีมาก ดี ปาน พอใช้(2) ปรบั ปรุง x/n
(5) (4) กลาง (3) (1)
X

ดา้ นส่อื วสั ดุอปุ กรณ์

14 ส่ือและวัสดอุ ุปกรณม์ คี วามทนั สมัย 50 250/50 5.00
50 250/50 5.00
15 ส่ือและวสั ดุอุปกรณ์มีจำนวนเพยี งพอตอ่ ผู้เรียน 49
249/50 4.97
16 มีส่อื และวสั ดุอปุ กรณส์ อดคล้องกบั ขนั้ ตอนการ 50 1
จดั กิจกรรมหรือการเรยี นรู้
50
17 มแี หลง่ เรียนร้ตู อบสนองต่อการจัดกิจกรรมการ 500/50 5.00
เรยี นรู้

18 แหลง่ เรยี นรู้ทตี่ อบสนองและบรรยากาศทเ่ี อ้อื 500/50 5.00
ตอ่ การเรียนรู้ 4.99

ผลทีไ่ ดร้ ับจากการเรยี นรู้หรือการเขา้ รว่ ม เฉลี่ยรวม
เฉลย่ี รวม
กิจกรรม

19 ความรแู้ ละความสามารถที่ไดร้ บั จากการเรียนรู้ 50 250/50 5.00
หรอื เข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ 50
50
20 ความมน่ั ใจในการนำผลทไ่ี ด้รับจากการเรียนรู้ 50 250/50 5.00
ไปประยุกต์ใช้

21 ความเชือ่ ม่ันต่อความสามารถของสถานศกึ ษา 250/50 5.00
ในการจัดกจิ กรรม

22 ความพึงพอใจตอ่ การรับบรกิ ารหรือเขา้ ร่วม 250/50 5.00
กิจกรรม 5.00

ความพึงพอใจตอ่ การให้บริการของผู้จดั การ 50 250/50 5.00
เรยี นรู้ 50 250/50 5.00
23 เจ้าหนา้ ท่ใี หบ้ ริการด้วยความเต็มใจ 50 250/50 5.00

24 สถานศกึ ษามขี ั้นตอนการบริการที่รวดเรว็ 50 250/50 5.00

25 เจ้าหนา้ ท่ใี หข้ ้อมลู รายละเอียดตา่ งๆชัดเจน

26 เจา้ หนา้ ทต่ี ดิ ต่อประสานงานจนได้รบั ผลเปน็ ที่
พอใจ

23

ระดับการประเมิน / ค่าคะแนน (n =15 คน)

ท่ี รายการ ดมี าก ดี ปาน พอใช(้ 2) ปรับปรุง x/n ลำ
(5) (4) กลาง (1) ดับ
(3) X

27 เจ้าหนา้ ทใี่ หบ้ ริการด้วยความเปน็ ธรรมและ 50 250/50 5.00
เสมอภาค

28 สถานศึกษาจดั หาสงิ่ อำนวยความสะดวกให้ 50 250/50 5.00
เชน่ มสี ถานทพ่ี กั มีน้ำด่ืมบรกิ ารฯลฯ

เฉลีย่ รวม 5.00

29 อ่ืนๆ

เฉลย่ี รวมทกุ ดา้ น เฉล่ยี รวมท้ังหมด ( ข้อที่ 1 – ขอ้ ที่ 29 ) 4.89

24

ภาคผนวก

25

ภาพกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการค่ายสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม (ธรรมศกึ ษา)
วันที่ 2 มีนาคม 2564

ณ กศน.อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสโุ ขทยั
***************************


Click to View FlipBook Version