-1-
ใบความร/ู้ ใบเนอื้ หา (Information Sheet) หนว่ ยท่ี 4
ชอ่ื วชิ า งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกสเ์ บอื้ งตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ชอ่ื หน่วย อปุ กรณพ์ าสซฟี สอนคร้งั ที่ 6
หัวขอ้ เรอ่ื ง ตัวเกบ็ ประจุ เวลา 4 ชว่ั โมง
หน่วยที่ 4
อปุ กรณพ์ าสซฟี
สาระสาคญั /แนวคิด
ประจุไฟฟ้าและศักย์ไฟฟา้ มีความสัมพนั ธ์และเก่ียวข้องกัน ประจุไฟฟา้ คือข้วั ของไฟฟา้ มี 2 ขว้ั คือขว้ั บวกและข้ัว
ลบ ส่วนศักย์ไฟฟ้าคอื ปริมาณไฟฟา้ ทีแ่ สดงออกมาขณะเกดิ ความไม่สมดุลของประจไุ ฟฟ้ามี 2คา่ คอื ศักยบ์ วกและศักย์ลบ
ประจไุ ฟฟ้าหรือศักย์ไฟฟ้า มขี ้วั เหมอื นกนั จะผลักกนั ประจุไฟฟ้าหรอื ศักย์ไฟฟ้ามขี วั้ ตา่ งกนั จะดูดกนั
ตวั เก็บประจุหรือคาปาซิเตอร์ เป็นอปุ กรณท์ างไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณสมบัติ สามารถประจุแรงดัน และ
คายประจุแรงดันได้ โครงสร้างของตัวเก็บประจุประกอบด้วยแผ่นโลหะบาง 2 แผ่น วางขนานชิดกัน มีฉนวนไฟฟ้าท่ี
เรียกว่าไดอิเล็กตรกิ วางคั่นกลาง การประจุแรงดันทาได้โดยจ่ายแหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงให้ตวั เก็บประจุ ตัวเก็บประจุจะ
ประจุแรงดนั ไว้ในตัวได้
เนือ้ หา/สาระการเรยี นรู้
4.2.1. หลกั การทางานเบอ้ื งต้นของตัวเกบ็ ประจุ
4.2.2. ชนิดของตัวเกบ็ ประจุ
4.2.3. หน่วยวดั คา่ ตวั เก็บประจุ
4.2.4. การอ่านคา่ ความจุของของตัวเก็บประจุ
4.2.5. การวัดและตรวจสอบตัวเก็บประจดุ ว้ ยโอห์มมเิ ตอร์
สมรรถนะประจาหน่วย
1. แปลงหน่วยค่าความจุของตัวเก็บประจุ
2. แปลงรหัสเป็นคา่ ความจุ
3. ตรวจสอบอาการดีเสียตัวเกบ็ ประจุ
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายหลักการทางานเบือ้ งตน้ ของตวั เกบ็ ประจุได้
-2- หนว่ ยท่ี 4
ใบความร/ู้ ใบเนอ้ื หา (Information Sheet) รหัสวชิ า 20100-1005
สอนคร้งั ที่ 6
ชอ่ื วชิ า งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกสเ์ บือ้ งต้น เวลา 4 ชั่วโมง
ชอื่ หนว่ ย อปุ กรณพ์ าสซฟี
หัวข้อเรือ่ ง ตวั เกบ็ ประจุ
2. บอกชนิดของตวั เกบ็ ประจไุ ด้
3. บอกหนว่ ยวดั ค่าตวั เกบ็ ประจุ
4. อา่ นค่าความจุของของตวั เก็บประจไุ ด้
5. บอกวิธกี ารตรวจสอบอาการดเี สยี ตัวเกบ็ ประจุดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ได้
-3- หนว่ ยที่ 4
ใบความร/ู้ ใบเนื้อหา (Information Sheet) รหัสวิชา 20100-1005
สอนครงั้ ที่ 6
ชื่อวชิ า งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ บอื้ งตน้ เวลา 4 ชว่ั โมง
ช่ือหนว่ ย อุปกรณ์พาสซีฟ
หวั ข้อเร่อื ง ตัวเก็บประจุ
4.2 ตัวเก็บประจุ
รูปที่ 4.1 ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า Capacitor คาปาซิเตอร์ บ้างเรียกว่า คอนเดนเซอร์ ซี แคป คือ อุปกรณ์
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ชนดิ หนงึ่ ทีถ่ กู ออกแบบ มาใชท้ าหน้าที่ เกบ็ พลังงานในรูปแบบของสนามไฟฟา้ โดยส่วนใหญ่สามารถพบ
ได้บนแผงวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ต่างๆ ได้แทบทุกวงจร โดยเจา้ ตัวเก็บประจนุ ี้ เปน็ อปุ กรณ์ ท่ีมคี วามสาคัญตวั หนงึ่ เลย
รูปที่ 4.2 สัญลกั ษณ์ของ ตวั เก็บประจุ
4.2.1 หลกั การทางานเบ้อื งตน้ ของตัวเกบ็ ประจุ
โครงสร้างของตัวเก็บประจุประกอบด้วยแผ่นโลหะตัวนาบางสองแผ่น ถูกเรียกว่าแผ่นตัวนา (Conductive
Plate) วางขนานชิดกัน มีฉนวนไฟฟ้า (Dielectric) วางคั่นกลางแผ่นโลหะตัวนาบางทั้งสอง ทางด้านนอกของแผ่นโลหะ
ตวั นาบางทั้งสองมีลวดตวั นาเชื่อมตอ่ ไว้แผน่ ละเสน้ ใชเ้ ป็นขาต่อออกภายนอก เพอื่ ตอ่ ตัวเกบ็ ประจุไปใชง้ าน
ตวั เกบ็ ประจจุ ะมีการทางานอยู่ 2 สภาวะ คอื สภาวะประจุ (Charge) เปน็ สภาวะที่ตัวเก็บประจทุ าการประจุ
แรงดันและศักย์ไฟฟ้าเก็บไว้ภายในตัว ในขณะที่จ่ายแรงดันให้กับตัวเก็บประจุ และสภาวะคายประจุ (Discharge) เป็น
สภาวะท่ตี ัวเก็บประจทุ าการคายประจุแรงดันและศกั ย์ไฟฟา้ ที่เก็บไว้ออกมา เมื่อทาการลัดวงจรขาตวั เกบ็ ประจุเขา้ ด้วยกัน
หรอื ตอ่ เขา้ ภาระต่าง ๆ
เม่ือนาตัวเก็บประจุไปต่อเข้ากับวงจรหรอื แหล่งจ่ายไฟครบวงจร เราจะสงั เกตไดว้ ่ากระแสไฟฟา้ ไม่สามารถ
ไหลผา่ นตวั เกบ็ ประจไุ ด้ (มองเป็น Open Circuit) กเ็ พราะว่าในตวั เกบ็ ประจุมี ฉนวนกั้นอยู่
-4-
ใบความร/ู้ ใบเนอ้ื หา (Information Sheet) หนว่ ยท่ี 4
ชอ่ื วชิ า งานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บ้อื งต้น รหสั วิชา 20100-1005
ชอื่ หนว่ ย อุปกรณพ์ าสซฟี สอนครัง้ ที่ 6
หัวขอ้ เร่อื ง ตวั เก็บประจุ เวลา 4 ชั่วโมง
ในขณะเดียวกันก็เกิดประจุไฟฟ้าที่ไหลข้ามฉนวนไม่ได้ก็ติดอยู่ที่แผนตัวนา ทาให้ด้านนั้นมีประจุไฟฟ้าลบ
(Electron) เยอะ ส่วนแผนตวั นาด้านตรงข้ามก็กลายเป็นประจุไฟฟ้าดา้ นบวกเพราะ Electron ไหลไปอีกดา้ นหน่ึงจานวน
มาก การทีม่ ปี ระจตุ ดิ อยู่ท่แี ผนตัวนาของ ตวั เกบ็ ประจุ ไดก้ ็เพราะวา่ แตล่ ะดา้ นมีประจุไฟฟ้าท่เี ป็นขั้วตรงกันข้ามกันทาให้
เกิดสนามไฟฟ้า electric field ดึงดูดซ่ึงกันและกัน (+ และ - ดึงดูดกัน) ซึ่งทาให้ตัวเก็บประจุสามารถเก็บพลังงานศักย์
หรือ แรงดนั (Voltage) ไวไ้ ด้
4.2.2 ชนดิ ของตัวเกบ็ ประจุ
สามรถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดงั น้ี
1) ตวั เก็บประจุแบบคา่ คงที่ (Fixed Capacitor)
คือตัวเกบ็ ประจุที่ไม่สามารถเปล่ียนแปลงค่าได้ โดยปกตจิ ะมรี ูปลักษณะเป็นวงกลม หรอื เปน็ ทรงกระบอก ซ่ึง
มักแสดงค่าที่ตัวเก็บประจุ เช่น 5 พิโกฟารัด (pF) 10 ไมโครฟารัด ( F) แผ่นเพลทตัวนามักใช้โลหะและมีไดอิเล็กตริก
ประเภทไมกา้ เซรามิค อิเล็กโตรไลติกคน่ั กลาง เป็นต้น การเรยี กชือ่ ตัวเกบ็ ประจแุ บบค่าคงที่นจ้ี ะเรยี กช่อื ตามไดอิเล็กตริก
ที่ใช้ เช่น ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลติก ชนิดเซรามิค ชนิดไมก้า เป็นต้น ตัวเก็บประจุแบบค่าคงที่มีใช้งานในวงจร
อเิ ล็กทรอนิกสท์ ่ัวไปมดี งั นค้ี อื
1.1) ชนิดอิเล็กโตรไรต์ (Electrolyte Capacitor) เป็นที่นิยมใช้กันมากเพราะให้คา่ ความจุสูง มีขั้วบวกลบ
เวลาใช้งานต้องติดตั้งให้ถูกขั้ว โครงสร้างภายในคล้ายกับแบตเตอรี่ นิยมใช้กับงานความถี่ต่าหรือใช้สาหรับไฟฟ้า
กระแสตรง มีขอ้ เสียคือกระแสรว่ั ไหลและความผิดพลาดสงู มาก
รูปที่ 4.3 ตวั เก็บประจุชนดิ อเิ ล็กโตรไลด์
-5-
ใบความร/ู้ ใบเน้ือหา (Information Sheet) หนว่ ยที่ 4
ชอ่ื วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บ้ืองตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ชอ่ื หน่วย อุปกรณ์พาสซีฟ สอนคร้งั ท่ี 6
หัวข้อเร่ือง ตัวเกบ็ ประจุ เวลา 4 ชว่ั โมง
1.2) ชนิดแทนทาลั่มอิเล็กโตรไลด์ (Tantalum Electrolyte Capacitor) ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องการ
ความผิดพลาดน้อยใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงได้อย่างมีประสิทธภิ าพ มกั จะใชต้ ัวเก็บประจุชนิดแทนทาล่ัมอิเล็กโตรไลต์แทน
ชนิดอิเล็กโตรไลต์ธรรมดา เพราะให้ค่าความจุสูงเช่นกัน โครงสร้างภายในประกอบด้วยแผ่นตัวนาทามาจากแทนทาล่มั
และแทนทาลมั่ เปอรอ์ อกไซคอ์ ีกแผ่น นอกจากนย้ี ังมแี มงกานิสไดออกไซค์ เงนิ และเคลอื บด้วยเรซิน ดงั รูปท่ี 4.4
รูปท่ี 4.4 ตวั เก็บประจชุ นดิ แทนทาล่ัมอเิ ลก็ โตรไลด์
1.3) ชนิดไบโพล่าร์ (Bipolar Capacitor) นิยมใช้กนั มากในวงจรภาคจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงเครอ่ื งขยายเสียง
เปน็ ตัวเก็บประจุจาพวกเดยี วกบั ชนดิ อิเลก็ โตรไลต์ แต่ไม่มขี ้วั บวกลบ บางครง้ั เรยี กส้นั ๆ วา่ ไบแคป
รปู ท่ี 4.5 ตวั เก็บประจุชนดิ ไบโพล่าร์
-6-
ใบความร/ู้ ใบเน้อื หา (Information Sheet) หนว่ ยท่ี 4
ช่ือวิชา งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์เบือ้ งต้น รหสั วชิ า 20100-1005
ชื่อหน่วย อปุ กรณพ์ าสซีฟ สอนคร้ังท่ี 6
หวั ขอ้ เร่ือง ตวั เก็บประจุ เวลา 4 ช่วั โมง
1.4) ชนิดเซรามิค (Ceramic Capacitor) เปน็ ตวั เกบ็ ประจุทมี่ ีค่าไม่เกิน 1 ไมโครฟารัด (F) นิยมใช้กันท่ัวไป
เพราะมรี าคาถกู เหมาะสาหรับวงจรประเภทคัปปลิง้ ความถวี่ ิทยุ ข้อเสียของตัวเกบ็ ประจุชนิดเซรามคิ คอื มีการสญู เสยี มาก
รูปที่ 4.6 ตวั เกบ็ ประจชุ นิดเซรามิค
1.5) ชนดิ ไมลา่ ร์ (Mylar Capacitor) เป็นตวั เกบ็ ประจทุ มี่ คี า่ มากกว่า 1 ไมโครฟารัด (F) เพราะฉะน้ันในงาน
บางอย่างจะใช้ไมลา่ รแ์ ทนเซรามิค เนื่องจากมีเปอร์เซน็ ต์ความผิดพลาดและการรั่วไหลของกระแสน้อยกว่าชนิดเซรามิค
เหมาะสาหรับวงจรกรองความถี่สูง วงจรภาคไอเอฟของวิทยุ, โทรทัศน์ ตัวเก็บประจุชนิดไมล่าร์จะมีตัวถังที่ใหญ่กว่า
เซรามิคในอัตราทนแรงดนั ท่เี ท่ากัน
รูปท่ี 4.7 ตัวเกบ็ ประจชุ นดิ ไมล่าร์
-7-
ใบความร/ู้ ใบเน้อื หา (Information Sheet) หน่วยที่ 4
ช่อื วชิ า งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบอื้ งตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ชอื่ หน่วย อปุ กรณ์พาสซีฟ สอนครั้งท่ี 6
หวั ข้อเรื่อง ตัวเกบ็ ประจุ เวลา 4 ชว่ั โมง
1.6) ชนดิ ฟดี ทรู (Feed-through Capacitor) ลักษณะโครงสร้างเป็นตวั ถังทรงกลมมีขาใชง้ านหนึ่งหรือสอง
ขา ใช้ในการกรองความถี่รบกวนทเ่ี กดิ จากเคร่ืองยนต์มักใช้ในวทิ ยรุ ถยนต์
รูปที่ 4.8 ตัวเกบ็ ประจุชนดิ ฟดี ทรู
1.7) ชนิดโพลีสไตรีน (Polystyrene Capacitor) เป็นตัวเก็บประจุท่ีมีคา่ นอ้ ยระดับนาโนฟารัด (nF) มีข้อดี
คือใหค้ า่ การสญู เสียและกระแสร่ัวไหลน้อยมาก นิยมใช้ในงานคัปปล้ิงความถว่ี ิทยุและวงจรจูนที่ต้องการความละเอียดสูง
จดั เป็นตวั เก็บประจุระดับเกรด A
รูปที่ 4.9 ตัวเกบ็ ประจชุ นดิ โพลสี ไตรนี
1.8) ชนิดซิลเวอร์ไมก้า (Silver Mica Capacitor) เป็นตัวเก็บประจุที่มีค่า 10 พิโกฟารัด (pF) ถึง 10 นา
โนฟารัด (nF) เปอรเ์ ซ็นตค์ วามผดิ พลาดนอ้ ย นยิ มใช้กับวงจรความถีส่ ูง จัดเปน็ ตัวเก็บประจุระดบั เกรด A อกี ชนิดหนง่ึ
-8- หน่วยท่ี 4
ใบความร/ู้ ใบเนอ้ื หา (Information Sheet) รหสั วิชา 20100-1005
สอนครง้ั ที่ 6
ชอ่ื วชิ า งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์เบอ้ื งตน้ เวลา 4 ชว่ั โมง
ชือ่ หนว่ ย อุปกรณพ์ าสซฟี
หวั ข้อเรื่อง ตวั เกบ็ ประจุ
รปู ท่ี 4.10 ตัวเกบ็ ประจุชนดิ ซลิ เวอร์ไมกา้
2) ตัวเก็บประจแุ บบปรับค่าได้ (Variable Capacitor)
รูปท่ี 4.11 ตัวเกบ็ ประจุแบบปรับค่าได้
-9-
ใบความร/ู้ ใบเน้ือหา (Information Sheet) หนว่ ยที่ 4
ชอ่ื วิชา งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์เบือ้ งตน้ รหสั วชิ า 20100-1005
ชอื่ หน่วย อุปกรณพ์ าสซฟี สอนครัง้ ที่ 6
หัวขอ้ เรื่อง ตวั เกบ็ ประจุ เวลา 4 ชั่วโมง
ค่าการเกบ็ ประจุจะเปลยี่ นแปลงไปตามการเคล่ือนที่ของแกนหมุน โครงสรา้ งภายในประกอบดว้ ย แผน่ โลหะ
2 แผน่ หรือมากกว่าวางใกล้กนั แผน่ หนึ่งจะอยูก่ ับทสี่ ่วนอีกแผน่ หน่ึงจะเคลือ่ นที่ได้ ไดอเิ ลก็ ตริกที่ใชม้ หี ลายชนิดด้วยกันคือ
อากาศ ไมกา้ เซรามคิ และพลาสตกิ เป็นต้น
รปู ท่ี 4.12 ทริมเมอรแ์ ละแพดเดอร์
ตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได้อีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดีคือทริมเมอร์และแพดเดอร์ (Trimmer and Padder)
โครงสร้างภายในประกอบดว้ ยแผน่ โลหะ 2 แผ่นวางขนานกัน ในกรณีท่ตี อ้ งการปรับค่าความจุ ใหใ้ ชไ้ ขควงหมุนสลักตรง
กลางค่าที่ปรับจะมีคา่ อยู่ระหว่าง 1 พิโกฟารัด (pF) ถึง 20 พิโกฟารดั (pF) การเรียกชือ่ ตัวเก็บประจแุ บบนี้ว่าทริมเมอร์
หรอื แพดเดอร์น้นั ขึน้ อยู่กับวา่ จะนาไปต่อในลกั ษณะใด ถา้ นาไปตอ่ ขนานกับตวั เกบ็ ประจุตัวอ่นื จะเรยี กว่า ทรมิ เมอร์ แตถ่ ้า
นาไปตอ่ อนุกรมจะเรียกว่า แพดเดอร์
3) ตวั เก็บประจแุ บบเลอื กคา่ ได้ (Select Capacitor)
คอื ตัวเก็บประจใุ นตวั ถังเดยี ว แตม่ ีคา่ ให้เลอื กใช้งานมากกวา่ หนงึ่ ค่า ดงั แสดงในรูปท่ี
-10- หนว่ ยท่ี 4
ใบความร/ู้ ใบเน้ือหา (Information Sheet) รหัสวชิ า 20100-1005
สอนครั้งท่ี 6
ชือ่ วชิ า งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ บ้อื งตน้ เวลา 4 ชวั่ โมง
ชือ่ หน่วย อุปกรณ์พาสซีฟ
หวั ข้อเรื่อง ตวั เกบ็ ประจุ
รูปที่ 4.13 ตัวเกบ็ ประจุแบบเลอื กคา่ ได้
4.2.3 หน่วยวดั ค่าตัวเกบ็ ประจุ
ตัวเกบ็ ประจุที่ผลิตมาใช้งานมีมากมาย คา่ ความจุที่ผลติ ขึ้นมาใช้งานแตกต่างกันไป ตั้งแต่ค่าต่าไปถึงค่าสูง
ความจุของตวั เก็บประจุตามปกติมหี นว่ ยเป็นฟารัด (Farad ; F) ซึ่งเป็นหน่วยทีใ่ หญเ่ กนิ ไป เพราะค่าความจุท่ีผลิตออกมา
ใช้งานมีค่าต่ากว่าฟารัด จึงจาเป็นต้องแตกหน่วยค่าความจุออกให้เป็นหน่วยเล็กลง แบ่งออกเป็น หน่วยไมโครฟารัด
(Microfarad ; µF) นาโนฟารัด (Nanofarad ; nF) และ พิโคฟารัด (Picofarad ; pF) หน่วยใช้งานทั้งหมด เขียนค่า
ความสัมพันธก์ ันไดด้ งั น้ี
1 ฟารดั (F) = 1,000,000 ไมโครฟารัด (µF) = 1 x 106 µF
= 1,000,000,000 นาโนฟารัด (nF) = 1 x 109 nF
1 ไมโครฟารดั (mF) = 1,000,000,000,000 พิโคฟารัด (pF) = 1 x 1012 pF
1 นาโนฟารดั (nF) = 1 x 10-6 F = 1 x 103 nF = 1 x 106 pF
1 พโิ คฟารดั (pF) = 1 x 10-9 F = 1 x 10-3 mF = 1 x 103 pF
= 1 x 10-12 F = 1 x 10-6 mF = 1 x 10-3 nF
ตวั อย่างที่ 4.1 จงแปลงหนว่ ยคา่ ความจตุ ่อไปนใี้ ห้ถกู ตอ้ ง ใหเ้ ป็นหนว่ ย nF
ใหเ้ ป็นหน่วย mF
(ก) 47,000 nF ให้เป็นหนว่ ย mF (ข) 330,000 pF
(ค) 6.8 x 10-9 F ให้เปน็ หนว่ ย pF (ง) 22 x 10-5 F
(จ) 0.15 mF ใหเ้ ปน็ หน่วย nF
-11-
ใบความร/ู้ ใบเน้อื หา (Information Sheet) หนว่ ยท่ี 4
ชอื่ วิชา งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์เบอื้ งต้น รหัสวชิ า 20100-1005
ชื่อหน่วย อปุ กรณพ์ าสซีฟ สอนครั้งที่ 6
หัวขอ้ เรอ่ื ง ตวั เก็บประจุ เวลา 4 ช่ัวโมง
วิธีทา = 47 mF = 6,800 pF
(ก) 47,000 nF = 47,000 x mF = 330 nF
(ข) 330,000 pF = 330,000 x nF = 6.8 x 103 pF
(ค) 6.8 x 10-9 F = 6.8 x 10-9 x 1012 pF = 220 mF
(ง) 22 x 10-5 F = 22 x 10-5 x 106 mF = 150 nF
(จ) 0.15 mF = 0.15 x 1,000 nF
4.2.4 การอ่านค่าความจุของของตวั เกบ็ ประจุ
ตัวเก็บประจทุ ีผ่ ลิตมาใช้งานแต่ละตวั มีคุณสมบัติในการทางานแตกต่างกัน ทง้ั ค่าความจุค่าทนแรงดัน และคา่
ความผิดพลาดของความจุ จงึ จาเป็นต้องแสดงค่าเหล่าน้ีกากบั ไว้ทตี่ ัวถงั เพอื่ ให้ผใู้ ช้งานสามารถเลอื กใช้งานไดถ้ ูกต้อง
เหมาะสม การบอกค่าเหลา่ นี้สามารถบอกค่าไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ บอกคา่ ออกมาโดยตรง และบอกคา่ ในรูปรหัสตัวเลข
ตัวอักษร เป็นต้น
1) บอกค่าออกมาโดยตรง
ตวั เกบ็ ประจุท่ีบอกค่าออกมาโดยตรง จะพมิ พ์คา่ ความจอุ า่ นได้โดยตรงค่าน้ันไวท้ ีต่ ัวถงั ตวั เกบ็ ประจุ ค่าความ
จทุ ี่บอกไวน้ ิยมบอกค่าในหน่วย พโิ คฟารัด (pF) และไมโครฟารัด (µF) ซึง่ จะมหี น่วยกากับไว้หรือไมม่ กี ไ็ ด้ ข้ึนอยู่กับพืน้ ทไ่ี ว้
บอกค่าของตวั เกบ็ ประจุแต่ละตัว ตวั เก็บประจุ ขนาดเล็กทีม่ ีค่าความจุต่า ๆ ไมน่ ิยมแสดงหนว่ ยไว้ การจะทราบว่าตัวเก็บ
ประจุขนาดเล็ก เช่น ชนิดเซรามิก หรือชนิดฟิล์มพลาสติกต่าง ๆ นิยมบอกค่าไว้ในหน่วย pF หรือ µF ให้สังเกตจากตัว
เลขท่ีบอกไว้
ถ้าตัวเลขที่บอกไว้มีค่าตั้งแต่เลข 1 ขึ้นไป เช่น 1, 1.2, 3.3, 10, 18, 33, 56, 120 และ 680 เป็นต้น จะมี
หน่วยเป็น pF
ถ้าตัวเลขที่บอกไว้มคี ่าน้อยกว่าเลข 1 ลงมา เช่น 0.01, 0.022, 0.047, 0.12, 0.39, 0.68 และ 0.82 เป็นตน้
จะมหี น่วยเปน็ µF
ส่วนตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลติกแบบแปะติด SMD ที่มีขนาดเล็ก นิยมบอกค่าไม่บอกหน่วยไว้เช่นกัน
ปกติบอกค่าไวใ้ นหนว่ ย µF เพราะมีคา่ ความจุสงู การอา่ นค่าต้องพจิ ารณาให้รอบคอบ
เปอร์เซ็นตค์ า่ ผิดพลาดของความจุ นยิ มบอกค่าไว้เป็น 2 แบบ คอื แบบบอกคา่ เปน็ เปอร์เซน็ ต์ผิดพลาด
โดยตรง เช่น ±1%, ± 2%, ±10% และ ±20% เปน็ ตน้ อกี แบบหน่งึ บอกคา่ เป็นตัวอกั ษรภาษาอังกฤษ เช่น A, B, C, D,
E, F, G, J, L และ M เปน็ ต้น ตวั อักษรแต่ละตัวมีค่าความผดิ พลาดแสดงดงั ตารางที่ 4.1
-12-
ใบความร/ู้ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน่วยที่ 4
ช่อื วิชา งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บอ้ื งตน้ รหสั วชิ า 20100-1005
สอนคร้งั ท่ี 6
ชอ่ื หนว่ ย อุปกรณพ์ าสซีฟ เวลา 4 ชั่วโมง
หัวข้อเร่อื ง ตวั เกบ็ ประจุ ค่าความผดิ พลาด (%)
3%
ตารางที่ 4.1 ตวั อกั ษรแสดงค่าเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดของความจุ 5%
10%
ตัวอักษร ค่าความผิดพลาด (%) ตัวอักษร 15%
A H 20%
B 0.05 pF J 30%
C 1 pF K
D 0.25 pF L –20 ถึง +80%
E 0.5 pF M
F 0.5% N
G 1% Z
2%
ตวั อยา่ งท่ี 4.2 จงอา่ นค่าความจุของตัวเกบ็ ประจทุ ีบ่ อกคา่ ไว้โดยตรงตามค่าต่อไปน้ี
= ความจุ 0.1 F ทนแรงดนั ได้ 63 VDC
= ทนแรงดันได้ 450 V ความจุ 470 F
= ทนแรงดันได้ 3 kV ความจุ 470 pF คา่ ผิดพลาด K = 10%
-13- หน่วยที่ 4
ใบความร/ู้ ใบเนอ้ื หา (Information Sheet) รหัสวชิ า 20100-1005
สอนครั้งท่ี 6
ชอื่ วชิ า งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์เบอื้ งต้น เวลา 4 ชั่วโมง
ชอื่ หน่วย อปุ กรณ์พาสซีฟ
หวั ข้อเร่ือง ตวั เกบ็ ประจุ
= ความจุ 10 F ทนแรงดนั ได้ 35 V
= ความจุ 0.33 F ทนแรงดันได้ 250 VAC ยา่ นอณุ หภมู ิท่ีทางานได้
-40 ถงึ +110o C
= ความจุ 0.5 F ค่าผดิ พลาด = 5% ทนแรงดันได้ 450 VAC ใช้
กบั ความถ่ี 50 / 60 เฮิรตซ์ (Hz)
2) บอกคา่ ในรูปรหัสตวั เลขตวั อักษร
ตัวเก็บประจุบางแบบตัวเลขและตวั อักษรท่กี ากับไวบ้ นตัวเกบ็ ประจุ บอกคา่ ไวใ้ นรูปรหสั ไม่สามารถอา่ น
ค่าออกมาไดโ้ ดยตรง การอ่านคา่ จาเปน็ ต้องแปลงรหสั ให้กลับมาเปน็ ค่าความจุเสยี กอ่ น จึงสามารถอา่ นคา่ ออกมาได้ รหสั
คา่ ความจุมักเป็นตัวเลข 3 ตัว เขยี นเรียงกนั ไป และอาจตามดว้ ยตัวอักษร 1 ตัว เพอื่ แสดงคา่ ความผิดพลาดของความจุ
ตัวเลขที่แสดงไวต้ อ้ งไมเ่ ปน็ ทศนิยม ไมข่ ึน้ ต้นด้วยเลขศูนย์
การอ่านค่ารหสั ความจุ อ่านจากตวั เลขซ้ายมือไปขวามือ ตัวเลข 2 ตัวแรกด้าน ซ้ายอ่านคา่ ออกมาไดโ้ ดยตรง
ตวั เลขตัวที่ 3 แสดงจานวนเลขศูนยท์ ตี่ ้องเตมิ เข้าไป อ่านคา่ ความจุออกมาเปน็ หน่วย pF ส่วนตวั อักษรท่แี สดงค่าไวเ้ ป็นค่า
ความผิดพลาดของความจุ สามารถใช้ค่าในตารางท่ี 4.2 มาใชอ้ ่านคา่
ตัวอย่างท่ี 4.3 จงอ่านค่าความจุของตวั เก็บประจุทีบ่ อกคา่ ไว้ดว้ ยรหัสตามค่าต่อไปนี้
-14-
ใบความร/ู้ ใบเนอื้ หา (Information Sheet) หน่วยท่ี 4
ชื่อวชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บอื้ งตน้ รหสั วิชา 20100-1005
ชอ่ื หนว่ ย อปุ กรณ์พาสซีฟ สอนคร้ังที่ 6
หวั ขอ้ เรอื่ ง ตัวเกบ็ ประจุ เวลา 4 ชัว่ โมง
155K/250V = ความจุ 15 100,000 pF = 1,500,000 pF
= 250 V = 1,500,000 F = 1.5 F
1,000,000
2=5
1=1 ค่าผดิ พลาด K = 10%
K = +-10% ทนแรงดนั ได้ 250 V
5 = 00,000
= ความจุ 10 x 10,000 pF = 100,000 pF
1
= 100,000 x 1,000 nF = 100 nF = 0.1 F
= ความจุ 47 100 pF = 4,700 pF
ทนแรงดนั ได้ 1 kV
2A15J = ความจุ 15 pF, คา่ ผิดพลาด J = 5%
= ความจุ 20 100 pF = 2,000 pF
ค่าผิดพลาด M = 20%, ทนแรงดันได้ 12 kV
= ความจุ 10 100,000 pF = 1,000,000 pF
= 1,000,000 F = 1 F
1,000,000
ค่าผดิ พลาด K = 10%, ทนแรงดนั ได้ 250 V
-15-
ใบความร/ู้ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หนว่ ยที่ 4
ชอ่ื วิชา งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บือ้ งตน้ รหสั วชิ า 20100-1005
ช่อื หนว่ ย อุปกรณ์พาสซีฟ สอนคร้ังท่ี 6
หวั ขอ้ เรอ่ื ง ตวั เกบ็ ประจุ เวลา 4 ช่วั โมง
4.2.5 การวัดและตรวจสอบตัวเกบ็ ประจดุ ้วยโอหม์ มิเตอร์
การวดั และตรวจสอบตวั เก็บประจวุ ่าดหี รอื เสยี น้นั จะใช้มลั ตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ วดั ตัวเก็บประจุ โดยการ ใช้ยา่ นวัด
โอหม์ เปน็ เพยี งการตรวจสอบอาการดี อาการการชอ็ ตหรอื รว่ั และอาการขาด หรอื มคี า่ ความจุ ของตัวเกบ็ ประจลุ ดลง ใน
ท่นี ี้ผูเ้ รียบเรียงจะขออธิบายการใชโ้ อหม์ มิเตอร์วัดและตรวจสอบอาการต่าง ๆ ของตวั เก็บประจุ แบบไม่มขี ว้ั บวกลบ และ
แบบมขี ้ัวบวกลบ มรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้
1) การวดั และตรวจสอบตัวเก็บประจุแบบไม่มขี ั้วบวกลบ
ตัวเกบ็ ประจุแบบไมม่ ีข้วั บวกลบ จะเป็นตัวเก็บประจุขนาดเล็กซง่ึ มคี ่าความจไุ มถ่ งึ 1 µF ย่านของโอห์ม
มเิ ตอร์ท่จี ะตั้ง ถา้ คา่ ความจขุ องตัวเกบ็ ประจตุ ่าให้ใช้ยา่ นวัดของโอห์มมเิ ตอร์สงู ถ้าคา่ ความจุ ของตัวเกบ็ ประจสุ งู ให้ใชย้ ่าน
วดั ของโอหม์ มเิ ตอร์ตา่ ลง มีวิธกี ารวดั และตรวจสอบดงั นี้
1.1) การวดั และตรวจสอบตัวเก็บประจแุ บบไม่มขี ้ัวบวกลบ เป็นการวัดนอกวงจร และทาการ คายประจุท่ี
อาจมอี ยใู่ นตวั เกบ็ ประจุกอ่ น
1.2) การวัดในกรณที ี่ตัวเก็บประจุตัวน้นั ดี ทาได้โดยตง้ั ย่านวดั Ω X1Ok นาสายวัดของโอหม์ มิเตอร์ไปวัด
ครอ่ มตวั เก็บประจแุ บบขนาน เขม็ มัลติมิเตอร์จะกระดิกข้ึนไปทางด้านขวามอื เลก็ น้อย และ เคลอ่ื นกลบั ไปอยใู่ นตาแหนง่
เดมิ ถ้าตวั เกบ็ ประจุมีคา่ ความจุสูง เขม็ มเิ ตอรจ์ ะเบนขนึ้ มาก ถ้ามีคา่ ความจุตา่ เข็มมเิ ตอร์จะเบนขน้ึ น้อย ถือวา่ ตัวเกบ็
ประจุตัวน้ดี ี ดังการวัดในรูปที่ 3.31
รปู ท่ี 4.14 การวดั ตัวเก็บประจุแบบไม่มขี ว้ั บวกลบด้วยโอห์มมเิ ตอร์
1.3) การวัดในกรณีที่ตัวเก็บประจุตัวนั้นมีอาการเสียแบบช็อต หรือรั่ว ทาได้โดยตั้งย่านวัด Ω X1Ok นา
สายวดั ของโอห์มมิเตอรไ์ ปวัดคร่อมตัวเก็บประจแุ บบขนาน โดยปลายสายวัดใดจะวัดท่ีข้ัวใดก็ได้ ถ้าผลของการวัดเม่ือเข็ม
มเิ ตอร์ขึน้ เต็มสเกล แสดงว่าตัวเกบ็ ประจุตวั นีเ้ สียแบบชอ็ ต และถา้ เข็มมิเตอรข์ ึ้น แล้วลดลงไมส่ ดุ สเกล (ขึ้นแลว้ คา้ ง) แสดง
-16-
ใบความร/ู้ ใบเนือ้ หา (Information Sheet) หนว่ ยที่ 4
ชื่อวชิ า งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์เบื้องต้น รหัสวิชา 20100-1005
ช่ือหนว่ ย อุปกรณพ์ าสซฟี สอนครง้ั ท่ี 6
หัวขอ้ เรอื่ ง ตวั เกบ็ ประจุ เวลา 4 ช่ัวโมง
วา่ ตวั เก็บประจุตวั นี้เสียแบบรั่ว การวัดตวั เกบ็ ประจแุ บบไม่มี ขวั้ บวกลบ เมื่อเข็มมิเตอร์ข้ึนแล้วต้องลดลงสุดสเกล ถ้าเข็ม
ค้างแมแ้ ต่เพียงเลก็ นอ้ ยให้ถอื วา่ ตวั เกบ็ ประจุเสีย
1.4) การวดั ในกรณที ีต่ วั เก็บประจุตัวนน้ั มีอาการเสยี แบบขาด หรือมคี ่าความจุของตวั เก็บประจุ ลดลง ทา
ได้โดยตั้งย่านวัด ΩX1Ok นาสายวัดไปตอ่ คร่อมตัวเก็บประจุแบบขนาน โดยปลายสายวดั ใดจะวดั ที่ขั้วใดก็ได้ ถ้าผลของ
การวดั คอื เขม็ มิเตอรไ์ มข่ ึ้น แสดงว่าตวั เก็บประจุตวั นี้เสียแบบขาด
(1) ให้สังเกตผลการวดั ตัวเก็บประจุที่ดี ทม่ี คี า่ ความจุสงู กว่า 0.001 µF หรอื 1,000 pF ว่าในการวัด
ครั้งแรกที่ค่าความจุเท่าไรเข็มมิเตอร์ข้ึนเท่าไร (หรือการวัดครั้งที่สองจากการสลับสายวัดมิเตอร์ แล้ววัดใหม่) เพื่อไว้
เปรยี บเทียบกบั การวัดตัวเกบ็ ประจุทส่ี งสัยว่าจะเสีย ถา้ ตวั ที่สงสัยว่าจะเสียวัดแลว้ เข็ม ขึน้ นอ้ ยกว่าทคี่ วรข้ึน (เปรียบเทียบ
กับค่าทเ่ี คยวดั ได้กบั ตวั เกบ็ ประจทุ ดี่ )ี แสดงว่าตัวเก็บประจุตัวน้เี สยี แบบ มคี ่าความจลุ ดลง ก็ได้
(2) ในทางปฏิบัติเมื่อสงสัยว่าตัวเกบ็ ประจุในวงจรเสียแบบขาด หรือมีค่าความจุลดลง ให้ ใช้ตัวเกบ็
ประจทุ ี่มีคา่ ตรงกนั หรอื ใกล้เคียงกนั ต่อคร่อมตวั เก็บประจุท่ีสงสยั ว่าจะเสียในวงจร ถ้าตอ่ ครอ่ ม แล้วอาการเสียของวงจร
หายไป แสดงว่าตัวเกบ็ ประจเุ ดิมในวงจรเสีย
(3) ตัวเก็บประจุแบบไม่มีขั้วที่มีค่าความจุสูงระหว่าง 1-20 µF ให้ใช้ย่านวัด 9 x 1k และ ถ้ามีค่า
ความจสุ งู กวา่ 20 µF ใหใ้ ช้ยา่ นวดั 2 x10 ตรวจวดั แทน รายละเอียดการตรวจวดั จะเหมือนกับการ ตรวจวัดตวั เก็บประจุที่
มคี า่ ความจุต่ากวา่ 1 µF ดว้ ยย่านวัด 2x10k ที่กลา่ วมา
2) การวัด และตรวจสอบตวั เกบ็ ประจุแบบมีข้ัวขั้วบวกลบ
ตัวเก็บประจแุ บบมีขั้วบวกลบ คือ ตวั เกบ็ ประจุท่ีมขี ้ัวกากบั ไว้แน่นอนวา่ ด้านใดเปน็ บวก และ ดา้ นใดเปน็ ลบ
มีรายละเอียดต่าง ๆ เหมือนการตรวจสอบตัวเก็บประจุแบบไมม่ ีขั้วบวกลบทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว ข้างต้นทุกประการ แต่มีขอ้
แตกต่างกนั ท่ีต้องเพม่ิ เติม ในการใชย้ า่ นวัดความตา้ นทานในการตรวจวัด ต้องใช้ ให้เหมาะกบั ค่าความจุของตัวเก็บประจุ
โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
(ก) ตัวเกบ็ ประจทุ ่ีมคี ่าความจตุ ่ากว่า 20 µF ให้ใชย้ ่านวดั Ωx1k ตรวจวดั
(ข) ตวั เกบ็ ประจุทีม่ คี ่าความจรุ ะหวา่ ง 20-2,000 µF ให้ใชย้ า่ นวัด Ωx10 ตรวจวดั
(ค) ตัวเกบ็ ประจทุ ม่ี ีคา่ ความจุตัง้ แต่ 2,000 µF ใหใ้ ช้ย่านวดั Ω x1 ตรวจวัด
ในกรณที ตี่ ัวเกบ็ ประจุแบบมีข้วั บวกลบทม่ี ีอาการดี ร่วั ช็อต ขาด และมคี า่ ความจุของตวั เกบ็ ประจุลดลง พอ
สรปุ ผลการตรวจวัดไดด้ งั นี้
2.1) การวดั ในกรณีท่ตี วั เก็บประจตุ วั น้ันดี มผี ลการวัดคือ การวัดทัง้ สองคร้ัง (สลับสายมิเตอร)์ เอม็ มเิ ตอร์
ข้นึ แล้วตกครง้ั หนงึ่ ข้ึนแล้วคา้ งครงั้ หนง่ึ ผลการวดั ในลักษณะน้แี สดงวา่ ตัวเกบ็ ประจุตัวนดี้ ี
-17-
ใบความร/ู้ ใบเนือ้ หา (Information Sheet) หน่วยที่ 4
ชอ่ื วิชา งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บือ้ งตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ชือ่ หนว่ ย อุปกรณพ์ าสซฟี สอนครั้งที่ 6
หวั ขอ้ เร่อื ง ตัวเกบ็ ประจุ เวลา 4 ช่วั โมง
2.2) การวัดในกรณีที่ตัวเก็บประจุตัวนั้นรั่ว มีผลการวัดคือ ตรวจวัดตัวเก็บประจุทั้งสองครั้ง (สลับสาย
มเิ ตอร)์ ดังกล่าว ถา้ เข็มมิเตอรก์ ระดิกขน้ึ แล้วค้างไม่ตก หรือเขม็ มเิ ตอร์จะค่อย ๆ เคล่อื นไป ทางขวามากข้ึนเร่ือย ๆ หรือ
ขึ้นแลว้ ตกไม่สุดสเกลทง้ั สองครั้ง แสดงว่าตวั เก็บประจตุ ัวนี้ชว่ั
2.3) การวัดในกรณที ี่ตัวเก็บประจุตัวน้ันช็อต มีผลการวัดคือ ตรวจวัดตัวเก็บประจุทัง้ สองครัง้ (สลับสาย
มิเตอร)์ ถา้ เขม็ มเิ ตอร์เบนไปสดุ สเกลด้านขวามือ (ด้าน 0 Ω) ทัง้ สองคร้งั แสดงว่าตัวเกบ็ ประจุ ตวั นี้ช็อต
2.4) การวัดในกรณีที่ตัวเก็บประจุตัวนั้นขาด มีผลการวัดคือ ตรวจวัดตัวเก็บประจทุ ั้งสองครั้ง (สลับสาย
มิเตอร)์ ดังกลา่ ว ถา้ เข็มมเิ ตอร์ไมข่ ึ้นเลยทงั้ สองครง้ั แสดงวา่ ตัวเกบ็ ประจตุ วั น้ขี าด ไม่นาน
2.5) การวัดในกรณีท่ีตัวเก็บประจุตวั น้ันมีค่าความจุของตวั เก็บประจลุ ดลง มีผลการวัดคือ เขม็ มเิ ตอรข์ อง
โอห์มมิเตอร์จะเบนขึ้นไม่เทา่ กัน ตัวเก็บประจุมคี ่าความจุมาก เข็มมิเตอร์จะเบนข้ึนมาก ตัวเก็บ ประจุที่มคี ่าความจุน้อย
เข็มมิเตอรจ์ ะเบนขน้ึ นอ้ ย
-18-
ใบแบบฝึกหัด (Exercise Sheet) หนว่ ยที่ 4
ชื่อวชิ า งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ สเ์ บ้ืองต้น รหัสวิชา 20100-1005
ช่ือหน่วย อุปกรณ์พาสซีฟ สอนครัง้ ที่ 6
หัวข้อเรือ่ ง ตวั เก็บประจุ เวลา 4 ชว่ั โมง
ตอนท่ี 1. จงตอบคาถามต่อไปนี้ ( 40 คะแนน)
1. ฉนวนทก่ี ้ันระหว่างสารตวั นา 2 ช้ินในตวั เก็บประจเุ รียกว่าอะไร (2 คะแนน)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
2. สภาวะการทางานของตัวเกบ็ ประจุมอี ยูก่ ่ีสภาวะ ไดแ้ ก่สภาวะอะไรบ้าง (2 คะแนน)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
3. เพราะเหตใุ ดตวั เกบ็ ประจจุ งึ สามารถเก็บประจไุ ด้ (2 คะแนน)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
4. ตวั เก็บประจุสามารถแบง่ ออกได้เปน็ กี่ประเภท และประเภทใดบ้าง (2 คะแนน)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
5. คา่ ความจขุ องตัวเก็บประจุ 680,000 pF มีคา่ เท่ากบั ก่ี µF (2 คะแนน)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
-19-
ใบแบบฝึกหดั (Exercise Sheet) หน่วยท่ี 4
ช่อื วชิ า งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้อื งต้น รหัสวิชา 20100-1005
ชอื่ หน่วย อปุ กรณพ์ าสซฟี สอนครง้ั ท่ี 6
หวั ข้อเรื่อง ตวั เกบ็ ประจุ เวลา 4 ชว่ั โมง
6. อา่ นค่าความจุของตวั เกบ็ ประจแุ บบรหัสตวั เลขตัวอักษร (10 คะแนน)
ลาดบั ที่ ค่าท่แี สดง ค่าทีอ่ ่านได้
1. 404 M
2. 683 G
3. 183 25M
4. 102 20%
5. 333K 100
7. อ่านคา่ ความจุของตวั เก็บประจุแบบใหค้ ่าโดยตรง (10 คะแนน)
ลาดบั ท่ี คา่ ที่แสดง คา่ ที่อ่านได้
1. 10µ ± 10%
2. 0.47J 500V
3. 33K 250
4. 470 M 50
5. 330 F 100
-20-
ใบแบบฝกึ หัด (Exercise Sheet) หน่วยที่ 4
ชอ่ื วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บ้ืองตน้ รหสั วชิ า 20100-1005
ชอ่ื หน่วย อปุ กรณ์พาสซีฟ สอนครง้ั ที่ 6
หัวขอ้ เร่ือง ตัวเกบ็ ประจุ เวลา 4 ช่ัวโมง
ตอนที่ 2. จงพจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนี้วา่ ถกู หรือผิดโดยทาเครอ่ื งหมายถูก (✓) และเครื่องหมายผดิ () (10 คะแนน)
......... 1การวดั และตรวจสอบตวั เกบ็ ประจแุ บบไมม่ ีขั้วบวกลบ เป็นการวดั นอกวงจร และทาการ คายประจทุ อ่ี าจมอี ยใู่ น
ตวั เก็บประจุกอ่ น
......... 2 การวัดตวั เกบ็ ประจุแบบไมม่ ี ขั้วบวกลบ เม่ือเขม็ มเิ ตอร์ขนึ้ แล้วต้องลดลงสุดสเกล ถ้าเขม็ ค้างแม้แตเ่ พยี งเล็กนอ้ ย
ใหถ้ อื ว่าตัวเกบ็ ประจเุ สีย
......... 3 การวดั โดยตง้ั ย่านวัด Ω X1Ok นาสายวดั ของโอห์มมเิ ตอรไ์ ปวดั ครอ่ มตวั เก็บประจแุ บบขนาน โดยปลายสายวัดใด
จะวดั ท่ีขัว้ ใดกไ็ ด้ ถ้าผลของการวัดเมื่อเข็มมิเตอร์ข้ึนเต็มสเกล แสดงวา่ ตวั เกบ็ ประจุตวั นั้นมีอาการเสยี แบบขาด
......... 4 การวดั โดยตงั้ ยา่ นวัด ΩX10k นาสายวัดไปต่อครอ่ มตวั เกบ็ ประจแุ บบขนาน โดยปลายสายวดั ใดจะวดั ท่ีข้ัวใดก็ได้
ถ้าผลของการวัดคอื เข็มมิเตอรไ์ ม่ขนึ้ แสดงวา่ ตัวเก็บประจุตัวนี้เสียแบบร่วั
......... 5 การวดั ตวั เกบ็ ประจุแบบมีขว้ั ทีม่ ีค่าความจตุ า่ กว่า 20 µF ให้ใช้ย่านวัด Ωx1k ตรวจวดั
......... 6 การวดั ตัวเก็บประจแุ บบมขี ว้ั ที่มีค่าความจุระหวา่ ง 20-2,000 µF ใหใ้ ช้ยา่ นวัด Ωx10k ตรวจวดั
......... 7 ตวั เก็บประจุที่มคี ่าความจุตั้งแต่ 2,000 µF ใหใ้ ช้ยา่ นวัด Ω x1 ตรวจวดั
......... 8 การวดั ตัวเก็บประจุแบบมขี ว้ั วัดท้ังสองครัง้ (สลับสายมิเตอร์) เอม็ มิเตอรข์ ึ้นแล้วตกครง้ั หนง่ึ ขนึ้ แลว้ ค้างคร้ังหนึ่ง
ผลการวัดในลักษณะนแ้ี สดงวา่ ตัวเก็บประจุตวั น้ีช็อต
......... 9 การวดั ตวั เก็บประจแุ บบมขี ว้ั ตรวจวดั ตวั เก็บประจุท้ังสองคร้งั (สลับสายมิเตอร์) ถ้าเข็มมเิ ตอรไ์ ม่ข้นึ เลยทั้งสอง
ครั้งแสดงว่าตวั เกบ็ ประจุตัวนี้ขาด
.........10 การวดั ตัวเก็บประจแุ บบมีขว้ั ตรวจวดั ตวั เก็บประจุท้งั สองคร้งั (สลับสายมิเตอร)์ ถ้าเข็มมิเตอร์เบนไปสดุ สเกล
ด้านขวามือ (ด้าน 0 Ω) ทง้ั สองครง้ั แสดงวา่ ตัวเก็บประจุ ตวั นชี้ ็อต