The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชร.03 - สมุดบันทึกกิจกรรมชมรมดนตรี1-13 ปี 63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0528, 2021-04-05 03:03:03

ชร.03 - สมุดบันทึกกิจกรรมชมรมดนตรี1-13 ปี 63

ชร.03 - สมุดบันทึกกิจกรรมชมรมดนตรี1-13 ปี 63

(

ชร. 03

โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห
สมดุ บันทกึ กิจกรรมชมรม

ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563

ชมรม Lazy Grand Studio

1. หัวหนา ครูทป่ี รึกษาชมรม นางสาวพชิ ญา เจรญิ ผล

2. ครูที่ปรกึ ษาชมรม นางสาวอุมาพร วัฒนา

ชร.03 สมดุ บนั ทึกกิจกรรมชมรม โรงเรียนมัธยมวัดสิงห

ขอมูลกจิ กรรมชมรม Lazy Grand Studio

สถานท่จี ัดกจิ กรรม หอ ง 746

ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึกษา 2563

**************************************

สมาชิกในชมรม จำนวน 26 คน แยกเปน
 ม.1 26 คน  ม.2 .....................คน  ม.3 .....................คน

 ม.4 .....................คน  ม.5 .....................คน  ม.6 .....................คน

คณะกรรมการชมรม

1. เด็กชายณัฐกิตต์ิ เหมทานนท ประธาน ชัน้ ม.1/13 โทรศัพท

2. เด็กหญิงวรนั ลักษณ ภาระกุล รองประธาน ชนั้ ม.1/13

3. เดก็ ชายณัฐสทิ ธ์ิ ฐิติณรงคเวทย กรรมการ ชน้ั ม.1/13

4. เด็กหญงิ จรินญา พรมมร กรรมการ ช้ัน ม.1/13

5. เด็กชายยศกร ปญญาวศิ ษิ ฏ กรรมการ ชั้น ม.1/13

6. เดก็ หญิงพมิ พพ ิมล ทองธารี เหรัญญกิ ชนั้ ม.1/13

7. เด็กหญงิ ณิชาภทั ร แซเ ซียว ประชาสมั พันธ ชนั้ ม.1/13

8. เด็กหญิงพมิ พสภุ คั ปาละสมทิ ธิ์ เลขานกุ าร ช้ัน ม.1/13

ครูทปี่ รึกษาชมรม เจรญิ ผล หวั หนาครทู ปี่ รกึ ษา โทรศัพท 0886186985
1. นางสาวพชิ ญา วัฒนา ครูทปี่ รึกษาชมรม โทรศัพท 0925826652

2. นางสาวอมุ าพร

วัตถปุ ระสงคของการดำเนินกิจกรรมชมรม
1. เพือ่ ใหนกั เรียนไดฝ ก ทกั ษะทางดนตรี.
2. เพื่อใหน กั เรยี นไดเ รียนรูโ ปรแกรมทเ่ี ก่ียวขอ งกบั การทำดนตรี

3. เพอื่ ใหน กั เรียนสามารถสรา งช้นิ งานทเี่ กย่ี วขอ งกบั ดนตรีได

ชร.03 สมุดบันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห

ปฏิทินปฏบิ ัตกิ ิจกรรม/แผนการจัดกิจกรรมชมรม Lazy Grand Studio

ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2563

สัปดาหท่ี วัน เดอื นป กจิ กรรม

1 25 มิ.ย. 2563 ครูทีป่ รกึ ษาชมรมตรวจสอบรายชอ่ื สมาชิกชมรม/ปฐมนิเทศ เลอื กประธาน
และคณะกรรมการกจิ กรรมชมรม
2 2 ก.ค. 2563 ประชมุ วางแผน
แบงกลมุ รบั ผิดชอบงานตามผายตา ง ๆ
3 9 ก.ค. 2563 1. นักแสดง นกั รอง
2. นักดนตรี
4 16 ก.ค. 2563 3. คนตัดตอ
5 23 ก.ค. 2563 4. คนจัดฉาก
6 30 ก.ค. 2563 เรยี นรทู กั ษะพน้ื ฐานของการออกเสยี งรอง
7 6 ส.ค. 2563 เรยี นรทู กั ษะพน้ื ฐานของการออกเสียงรอง
8 13 ส.ค. 2563 ซอ มการเตนประกอบจงั หวะ
9 20 ส.ค. 2563 ซอ มการเตนประกอบจงั หวะ
10 27 ส.ค. 2563 เรยี นรโู ปรแกรมตดั ตอ ภาพและเสยี ง
11 10 ก.ย. 2563 เรยี นรโู ปรแกรมตัดตอภาพและเสยี ง
12 17 ก.ย. 2563 เรยี นรโู ปรแกรมตัดตอ ภาพและเสยี ง
13 24 ก.ย. 2563 เรยี นรโู ปรแกรมตดั ตอ ภาพและเสยี ง
14 1 ต.ค. 2563 เรียนรโู ปรแกรมการสรา งดนตรี
15 8 ต.ค. 2563 เรียนรโู ปรแกรมการสรา งดนตรี
16 15 ต.ค. 2563 เรียนรูโปรแกรมการสรางดนตรี
17 22 ต.ค. 2563 เรยี นรูโ ปรแกรมการสรา งดนตรี
18 29 ต.ค. 2563 สรางชน้ิ งานของตนเองตามความสนใจ
19 5 พ.ย. 2563 สรา งช้ินงานของตนเองตามความสนใจ
20 12 พ.ย. 2563 สรางชิ้นงานของตนเองตามความสนใจ
สรปุ ผลการประเมนิ /รายงานผลการจดั กจิ กรรมชมรม
สง รายผลการประเมินกจิ กรรมชมรม/รายงานการจดั กจิ กรรมชมรม

ชร.03 สมุดบันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรยี นมัธยมวัดสิงห

รายชือ่ นักเรียน/บนั ทึกเว

กจิ กรรมชมรม 10. L

คำชแ้ี จง
1. ใหผ รู บั ผดิ ชอบเขียนชอ่ื สมาชกิ ชมุ นมุ เรียงตามลำดับชน้ั และเลขท่ี เพ่ือสะดวกในการเชค็ ช่ือและตรวจสอบคว

2. ใบรายช่อื นี้สามารถนำไปถา ยสำเนาเพ่มิ เตมิ ได เพื่อใหเพียงพอกับจำนวนสมาชกิ ที่ตองกรอกรายชื่อ

3. ระบสุ าเหตุ เชน ป = ปว ย / ล = ลา / ข = ขาด สำหรับนกั เรียนที่ไมเขา รวมกจิ กรรมชุมนมุ ในแตล ะครงั้
4. เม่อื สิน้ เสร็จภาคเรยี นรวมเวลาเขา รว มกจิ กรรมของนกั เรยี นใหค รบ 20 ช่ัวโมงและเขียน ผ/มผ ในชองผลกา

ที่ ชั้น เลขที่ ช่ือ - สกุล

สัปดาหที่ 1
สัปดาหที่ 2
สัปดาหท่ี 3

1 1/13 1 เด็กชาย กิตติทตั มนั่ ประสิทธิ์กลุ
2 1/13 2 เด็กชาย กติ ติพงศ น้ำใจดี
3 1/13 3 เด็กชาย คณาธิป เพชรหลมิ
4 1/13 4 เด็กชาย จริ วชั ร ภวู ราห
5 1/13 5 เดก็ ชาย ณฐั กิตติ์ เหมทานนท
6 1/13 6 เด็กชาย ณฐั สทิ ธิ์ ฐิตณิ รงคเวทย
7 1/13 7 เด็กชาย ธนกร สมสาร
8 1/13 8 เด็กชาย พงศกฤษ สุขสมกิจ
9 1/13 9 เด็กชาย พงษน คร หวุ สมติ
10 1/13 10 เดก็ ชาย ภรู วิ ฒั น ไวบรรเทา
11 1/13 11 เดก็ ชาย ยศกร ปญญาวิศิษฏ
12 1/13 12 เดก็ ชาย ศวิ กร ไตรวัฒนะ
13 1/13 13 เดก็ หญงิ กชกร วันเพญ็
14 1/13 14 เด็กหญงิ ขวญั ขา ว กาละสิน
15 1/13 15 เดก็ หญิง จรินญา พรมมร

สปั ดาหที่ 4 วลาการเขารว มกจิ กรรม
สปั ดาหที่ 5
สัปดาหท่ี 6 Lazy Grand Studio
สปั ดาหท ่ี 7
สัปดาหที่ 8 วามถูกตอง
สัปดาหท่ี 9
สัปดาหที่ 10 ง
สัปดาหท ี่ 11 ารประเมนิ
สปั ดาหท่ี 12
สปั ดาหที่ 13 การเขา รว มกิจกรรม
สปั ดาหท ่ี 14
สปั ดาหท ี่ 15
สปั ดาหท่ี 16
สัปดาหที่ 17
สปั ดาหท ่ี 18
สัปดาหท ี่ 19
สัปดาหท ี่ 20

รวม

ผลการประเมนิ (ผ/มผ)

รายช่ือนกั เรยี น/บันทกึ เว

กจิ กรรมชมรม 10. L

คำชแ้ี จง
1. ใหผูร บั ผิดชอบเขยี นชื่อสมาชกิ ชมุ นมุ เรยี งตามลำดับชนั้ และเลขที่ เพื่อสะดวกในการเช็คชือ่ และตรวจสอบคว

2. ใบรายช่ือนส้ี ามารถนำไปถา ยสำเนาเพิ่มเติมได เพื่อใหเพยี งพอกบั จำนวนสมาชกิ ทีต่ อ งกรอกรายชื่อ

3. ระบุสาเหตุ เชน ป = ปว ย / ล = ลา / ข = ขาด สำหรบั นกั เรียนที่ไมเ ขารวมกจิ กรรมชุมนมุ ในแตล ะครัง้
4. เมื่อสิน้ เสรจ็ ภาคเรียนรวมเวลาเขารวมกิจกรรมของนกั เรียนใหค รบ 20 ชว่ั โมงและเขียน ผ/มผ ในชองผลกา

ที่ ชั้น เลขที่ ช่ือ - สกุล

สัปดาหที่ 1
สัปดาหที่ 2
สัปดาหท่ี 3

16 1/13 16 เดก็ หญิง ชนภิ รณ ชางเสนา
17 1/13 17 เดก็ หญิง ญาณาภรณ บญุ เพง็
18 1/13 18 เด็กหญงิ ณชิ าภัทร แซเ ซยี ว
19 1/13 19 เดก็ หญงิ ดลนภสั คัมภรี างกูล
20 1/13 20 เด็กหญิง นางสาวนาง ตี๋ธาตุ
21 1/13 21 เด็กหญงิ ปภาสรณ ตงั้ ทบั ศิลา
22 1/13 22 เด็กหญิง พิมพพมิ ล ทองธารี
23 1/13 23 เดก็ หญิง พมิ พส ุภัค ปาละสมิทธิ์
24 1/13 24 เดก็ หญิง วรนั ลักษณ ภาระกุล
25 1/13 25 เด็กหญงิ วราพร กนั ไว
26 1/13 26 เด็กหญงิ โสรยา แหลมกา

วลาการเขารว มกจิ กรรม สปั ดาหที่ 4
สปั ดาหที่ 5
Lazy Grand Studio สัปดาหท่ี 6
สปั ดาหท ่ี 7
วามถกู ตอ งสัปดาหที่ 8
ง สัปดาหท่ี 9
ารประเมิน สัปดาหที่ 10
สัปดาหท ี่ 11
การเขา รวมกจิ กรรม สปั ดาหท่ี 12
สปั ดาหที่ 13
ชร.03 สมดุ บันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห สปั ดาหท ่ี 14
สปั ดาหท ี่ 15
สปั ดาหท่ี 16
สัปดาหที่ 17
สปั ดาหท ่ี 18
สัปดาหท ี่ 19
สัปดาหท ี่ 20

รวม

ผลการประเมนิ (ผ/มผ)

ภาพการปฏบิ ัติกิจกรรม
ชมรม Lazy Grand Studio

ประชุมวางแผนกิจกรรม

โปรแกรมท่ศี ึกษาเรียนรู

ชร.03 สมุดบันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรียนมัธยมวดั สิงห

ชร.03 สมดุ บันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรยี นมัธยมวัดสิงห

เทคนคิ การรอ งเพลง

การหายใจใหถกู วธิ ี
การหายใจเรว็ เกนิ ไป หรอื หายใจเยอะเกินไป เปน การหายใจที่ผดิ และทำใหเ หนอ่ื ยงายดวย การหายใจท่ถี ูกตองคือ
หายใจทางปาก ไมตอ งสูดลมเขา ไปเยอะ ใหส ดู เบาๆ ลมจะผา นเขา มาทปี่ อด และลงไปทีท่ อง หายใจ เขาทอ งปอ ง
หายใจออกทองแฟบ หนาอกหรือไหลตอ งไมยก การหายใจที่ถกู ตองจะรสู กึ สบายๆ ผอนคลาย การหายใจควรรอ งให
จบประโยคแลวคอยหายใจ

รอ งเพลงใหม ีพลงั เสียง
ตอ งใชก ระบงั ลมในการรอ งเพลง เราตอ งเปด กระบงั ลมออก เสยี งจะพงุ ออก มกี ารเกรง็ หนา ทอ ง เราจะมีท่ีเก็บลมมาก
ขน้ึ เมอ่ื กระบงั ลมเปดออก เราจะสามารถรอ งเพลงทม่ี ีการลากโนต ยาวๆได รองเพลงไดน านกวาใชคอ ทำใหมีพลงั ที่
ถกู ขับออกมาจากกระบังลม ข้ึนมาทกี่ ลอ งเสียง เสยี งทอี่ อกมาจะฟง ดมู พี ลังมากขึ้น ยงิ่ เกร็งหนา ทอ งเปด กระบงั ลม
มาก พลังเสียงยิ่งออกมามาก

การเพมิ่ พลงั เสยี ง
การฝก เกรง็ หนา ทอ ง การออกกำลงั กาย เชน วงิ่ ซติ อพั วายน้ำ จะทำใหปอด กระบงั ลมแขง็ แรงมากขึ้น เมอ่ื เราฝก
เกรง็ ทอ งบอ ยๆ และออกกำลงั กายเปน ประจำ จะทำใหพ ลงั เสียงของเราเพ่มิ ข้ึน และการออกกำลงั กายดตี อสขุ ภาพ
อีกดว ย

การรอ งเพลงแบบไมบ ีบคอ
การรอ งบบี คอ คือ เปนการเคนเสยี งบบี เสยี งออกมาจากลำคอ เวลารอ งจะรสู กึ เจบ็ คอ เมอ่ื ขนึ้ เสียงสูงๆ รสู ึกเหมือน
ตะโกน เสียงไมพ ุง รสู กึ เกร็ง ท่ีคอ ทห่ี นา เปน การรองท่ีผิดวธิ ี หากเรารอ งแบบนไ้ี ปนานๆ จะเปนการทำลายเสน
เสยี งของเรา การรอ งทถ่ี ูกตองคอื การรอ งแบบเปดคอ คือ ตองอาปากกวา งๆ หายใจทางปาก ลมลงไปในปากผา นเขา
ทอ งแลวเกรง็ ทองขับออกมาเสียงจะพงุ ออกมา และเสยี งจะดังกวา มพี ลังกวา เสยี งที่ออกมาจะนาฟงเสยี งจะลอยๆ
ไมจ มอยใู นลำคอ อาจจะยงั ทำไมไดในทเี ดยี วตอ งคอ ยฝก ใหช ิน และเราไมควรเลือกเพลงท่ีเสียงสูงเกนิ ไป เพราะถา สงู
มากไปเราจะตอ งเคน เสยี งซง่ึ เสียงทอ่ี อกมาจะกระแทกไมนา ฟง เหมอื นการตะโกนมากกวา

เทคนิคการทำใหเ สียงสงู ข้ึน
การวอรมเสยี ง ทกุ ๆวัน เราจะรสู ึกวา เสียงเราสงู ข้ึน และลงตำ่ ได เราตองวอรม เสียงทุกวัน 1 เดือนข้นึ ไปจะเหน็ ผล
เสยี งจะแขง็ แรงขึน้ สงู ขึ้น อยา งชดั เจน เราตอ งเปด กระบังลม แลวเราจะเก็บลมไดเ ยอะ เราจะลากเสียงไดยาว การ
วอรมเสยี งทกุ วนั จะทำใหเรนจเ สยี งเรากวางขึ้นนน่ั เอง ทสี่ ำคัญเราไมค วรรอ งแบบบบี คอ เราตองรูลมิ ติ ของเรากอน วา
เสียงเราสงู สุดแคไหน โดยไมต อ งตะเบง็ เสียง และตำ่ สุดแคไหน เมอื่ เรารูลมิ ิตแลว เรากค็ อยๆวอรม เสียงไปเรอื่ ยๆทกุ ๆ
วนั แลวจะเหน็ ผล

ชร.03 สมุดบนั ทึกกิจกรรมชมรม โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห

การรอ งเพลงแบบมีลกู คอ
การจากการปลอ ยลม อน้ั ลม ดังเบาๆ จะออกมาเปนคลนื่ เสยี ง อยทู ่หี างเสยี งของคำรอ ง เปนการปลอยลมมากนอ ย
สลบั กนั จงึ ออกมาเปนคลนื่ เสยี ง เรยี กวาลูกคอ หรอื หางเสียงทด่ี ังเบาสลบั กนั เสียงเหมอื นมแี อคโค ศลิ ปน ทใี่ ชลูกคอ
เยอะๆ สวนใหญจ ะเปน นักรอ งลกู ทงุ ความรสู ึกจะเหมือนการรอ งเพลงแลว ขแมวทอ ง วิธกี ารฝก เชน ใหพ ดู อาอาอา
อา อาอาอาอาอา สลับกนั เร่มิ จากชาไปเรว็ เมอื่ ทำบอยๆ จะมลี กู คอออกมา และจะสามารถดีไซนไ ดด ว ย

การรองเพลงใหไพเราะ
ตอ งประกอบไปดว ยการเอาเทคนคิ ตางๆมารวมกนั ตองมกี ารหายใจทถ่ี ูกตอง ใชเสียงใหถ ูกชอ ง โทนเสียงของเรา
สามารถพฒั นาไดต อ งมกี ารแบง ชว งใหถูก สำหรบั การหายใจ ควรจะรองใหจ บประโยคกอ นแลวคอ ยหายใจ ไมหายใจ
กลางประโยคเพราะจะทำใหร สู กึ แปลกๆ พลงั เสียงกเ็ ปนสงิ่ สำคัญ การสอ่ื อารมณเ พลง การตีความหมายเพลง ถา เรา
เขา ถึงเพลง รอ งใหค นอินกบั เราไดถือวามคี ณุ ภาพมาก และจะเปน เพลงท่ีเพราะมาก คนเสยี งไมด กี ็รอ งเพราะได
เพยี งแตเ ราตองมีการฝก ไมทอ เรามพี รแสวง มคี วามตั้งใจ ไมมอี ะไรทีท่ ำไมไ ด
การรอ งเพลงใหเสยี งกอ งกงั วาล
การทจี่ ะรอ งเพลงใหเ สยี งกอ งกงั วาลไดน ้ัน จะตองไมเ กรง็ คอ ควบคมุ อารมณข องเสยี งได เปนเสียงทมี่ ีความชัดเจน
อิสระ นุมอบอนุ ตอ งมีการวอรมเสนเสียงและยืดเสน เสยี งบอ ยๆ ใหค อไมเ กรง็ ใหร อ งอออกมาเปน ธรรมชาตทิ ส่ี ดุ เมอ่ื
ทำไดจ นชำนาญแลว เราจะเรมิ่ มพี ลังเสียงทม่ี ากข้นึ การทจี่ ะทำใหเ สยี งกอ งนนั้ ตอ งใชพ ลังเสียงเขา มาชวย ขน้ึ อยูกับวา
เพลงนั้น เสียงสงู ตำ่ แคไ หน หลกั การคอื รอ งใหชดั ไมต ะโกน ไมเกรง็ อา ปากใหกวาง พยายามใหเ สียงออกมาจาก
โพรงจมกู และ ตรงวงแกม ทุกสิง่ ทก่ี ลา วมาตองทำงานรว มกัน แตทัง้ นี้ก็ขน้ึ อยูก ับการฝก ของแตล ะคนดว ย ถาฝก บอ ย
ก็ชำนาญและเปนเร็ว ถา ไมคอ ยฝกกจ็ ะชา หนอ ย แตทกุ อยา ง ถา ไดรับการฝกฝนอยา งถกู วธิ ี จะสามารถเหน็ ผลลัพธ
ได

ระดับเสียงรอง
มี 3 ระดบั คอื - Chest voice คือเสยี งทสี่ ะทอนอยรู ะดบั หนาอก หรือทเ่ี รียกกนั วา เสยี งต่ำ
เม่อื ใชเสียงระดบั นหี้ นาอกจะสั่น ใหต รวจสอบโดยการลองเอามอื จบั ทห่ี นาอกแลว เปลง เสยี ง
“เออ...หรอื พดู คำวา อ่งึ อางตวั หยายยยย ” (ลากเสยี งยาวๆทุมๆ) ถาหากหนาอกสน่ั ๆ
แสดงวา ถูกตองแลว แตถาหากยังไมถกู ใหพดู ไปเรอื่ ยๆ จนรสู กึ วาใชแลว คอื แบบนนี้ ี่เองทำไมยาก

- Middle voice คือเสียงทีอ่ ยบู รเิ วณโพรงแกม และใบหนา หรือท่เี รยี กท่ัวไปวาเสยี งระดบั กลาง
เวลาท่ีเราพูดกนั ปกติท่ีใชส นทนากจ็ ะเปนเสยี งระดับนี้ เม่อื ใชเสียงระดับนใี้ หเสยี งอยรู ะดบั ใบหนา
เมอ่ื ใชเสียงระดับนเ้ี สียงจะกงั วาน และถาหากอยบู ริเวณโพรงแกม จะทำใหเ กดิ ความไพเราะมากยงิ่ ขึน้

- Head voice คอื เสยี งสูง เสยี งจะสะทอนอยบู ริเวณโพรงกะโหลกศีรษะ
เสยี งท่เี ปลง ออกมาจะแหลมเหมือนเสยี งแมม ด เม่ือนำมาใชใ นการรองเพลงจะเปน
“เสยี งหลบ” (เสยี งหลบ คอื เสียงทเ่ี ปลง ออกมาไมเตม็ เสียง / ครึง่ หน่ึงของเสียง)

ชร.03 สมุดบันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรียนมัธยมวัดสิงห

รอ งเพลงใหเ สียงพุง
การ Project เสยี ง ถา มเี สยี งท่ีพุงออกไป เราจะมพี ลงั ท่ีถูกผลักออกมา เราจะไมต องตะโกน ตอ งอาปากใหกวาง เสยี ง
จะดังฟง ชดั เจน ตอ งมีการเกร็งหนา ทอง เพราะทำใหเ นือ้ เสียงมนี ้ำหนกั มากขึ้น ตอ งคิดวา เหมอื นเรารอ งเพลงใหค น
ขางบานฟงเสยี งก็ตองดงั และพงุ ไปใหเขาไดยิน เสยี งจะแนน ข้นึ

การรองเสียงลม
เปน การรองไมเ ตม็ เสียงจะมเี สียงลมออกมาคอนขางเยอะ ควรทำเฉพาะบางคำ ไมควรทำทง้ั เพลง เพราะcontrol
เสียงคอ นขางยาก และจะเหนอ่ื ยเร็ว

การAdlip การเอ้ือน
การเพมิ่ ตัวโนตลงไปในเพลง หรอื เรยี กวาการ Emprovise เชน โวโฮ โวโฮ โวโว เปน การคิดโนต ขึน้ มาเอง
เชน วง potato จะมที อนพวกนอี้ ยูมาก อาทิ เพลง ปากดี รกั แทดูแลไมไ ด เปน ทอน โวโวโอ ทำนองนัน้ หรอื เรยี กวา
เปนการเออ้ื นโนตกไ็ ด

การรกั ษาเสยี งในการรองเพลง
ถาหากจะรอ งเพลง มหี นา ท่ีในการรอ งเพลงโดยตรง สงิ่ สำคัญ คือ การดูแลเสนเสียง หลอดลม ชองลมของ
เรา หลกั การทั่วไป คอื งด/ลด เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล เหลา เบียร บหุ ร่ี หรือสง่ิ ทเ่ี ปน อนั ตรายตอปอดของเรา เพราะ
ปอดเปนสง่ิ สำคัญในการรอ งเพลง นกั รอ งสวนใหญจ ะกินน้ำอุน นำ้ มะนาวผสมน้ำผึ้ง เพราะชว ยบำรงุ เสนเสยี ง และงด
เหลา เบียร เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล ผักผอนใหเ พยี งพอ ออกกำลังกาย

การวอรมเสียงขั้นพนื้ ฐาน
วิธกี ารวอรมเสยี งงายๆ วอรม สเกล เมเจอรส เกล โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด หรอื วาเปน อาเพ็จจิโอ โด มีซอล โด ซอล
มี โด อะไรอยางเนี้ย แลวก็คอ ยไลส เกลขนึ้ ไปเร่ือยๆ กจ็ ะชวยได หรือวา เปา ลม เปาปาก กจ็ ะชว ยรแี ล็กซกลา มเนอื้ ที่
ปาก ท่คี าง ที่ขากรรไกรได อาจจะวอรม รา งกายใหอบอนุ ดวยอีกอยา งหนึ่งก็ดี
แบบฝก หัดการวอรม เสียงกบั เปย โน ช/ญ ระดับตน (ใหฝ ก 5 รอบ ในแตละรอบใหร องเปนเสยี ง เอ อี อา โอ อ)ู
การเปดชอง คอ มีแบบฝก หัดแนะนำ ดงั นี้
1. พูดคำวา "ฮา" ดงั ๆ 10 ครง้ั สังเกตขากรรไกรจะเปดออกและคาง
2. พดู คำวา "ยำ-ยำ-ยำ-ยำ-ยำ" 5 ครงั้ ตดิ ตอ กัน นึกวาเสียเปยโน โด-เร-ม-ี เร-โด จะขนึ้ เสยี งทลี ะครง่ึ เสยี ง รอบแรก
รอง ปากเปลา รอบสอง วงิ่ อยูก บั ที่ 50 ครง้ั พรอ มเปลง เสียงพดู (ชวยใหน ักรองควบคุมเสยี งให น่งิ ขนึ้ เวลาทต่ี อ งรอง
เพลงและเตนรีวิวเพลงประกอบ เพราะตอ งรอ ง และเตนในเวลาเดียวกัน)
3. วธิ กี าร "หาว" ครบั เปน การเปดชองคอไดด ีอีกหน่ึงทาง ลองสงั เกตตอนเราหาวๆหรือคนรอบขางหาวนะครบั ปาก
จะเปด กวา งทส่ี ดุ ค

ชร.03 สมดุ บันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห

การรอ งเสยี งใส
การทจี่ ะรอ งเสยี งใสเราตองโฟกสั ใหเ สยี งอยูตรงโพรงจมกู เสยี งจะบางแหลม เปน การเลอื กใชชองเสียงนน่ั เอง เราตอง
ดูวาเพลงไหนควรรองใส ไมใ ชร องไดท กุ เพลง อยา งเพลงรอคก็จะตอ งใชเสยี งท่หี นา หนกั แนน กไ็ มจำเปน ตอ งใชเสยี ง
ใส วธิ กี ็งา ยๆ ลองอานเนื้อเพลงโดยการปรับโทนเสยี งใหแ หลมๆ โฟกสั ใหอ ยตู รงโพรงจมูก แลวกร็ อ งเหมือนโทนเสยี ง
ทีเ่ ราพดู เราสามารถปรบั ใหแหลม ทมุ หนา ไดห มด อยูที่เรา control มันน่นั เอง

ขอ แนะนำในการรองเพลง

1.พยายามศกึ ษา และหาทางเรียนรเู กีย่ วกบั อวยั วะทกุ อยา งทเี่ กี่ยวของกบั การรองเพลง เชน กลองเสยี ง เสน เสยี ง
กระบงั ลม กลา มเน้อื หนาทอง ฯลฯ

2 อยา ไปเรียนรอ งเพลงกับคนทีเ่ สนเสียงเสยี ตำราฝรง่ั เลมหน่งึ บอกผมไววา ขนาดเสยี งของครผู สู อนยงั เสยี ไดเลย
แลว เราจะเชอื่ ไดอยา งไรวาครูผสู อนจะไมท ำใหเ สียงของเราเสยี ไปดวย

3 ถาอยากเปนนกั รอ งนำ อยา พยายามรองในกลุม นกั รอ งประสานเสยี งบอยๆ เพราะอาจทำใหระบบการฟง ของเรา
เสียไป เนอ่ื งจากเราตองฟง คนเสยี งอ่นื มากๆ ซง่ึ รองกันคนละแนวกบั เรา โดยไมไ ดพัก ทำใหเรางงไปหมด
***หมายเหตุ : การรอ งประสานเปนสงิ่ ทดี่ สี ำหรับคนทชี่ อบฝก การรองในแบบขั้นคู แตส ำหรบั คนท่ไี มคอยฝก ไดการ
ฟง (Ear Training) ไมควรรอ งในวงประสานเสยี งบอ ยๆ เพราะอาจ

4 หา มตะโกนแหกปาก พวกนักรอ งรอ็ ค ไมร วู า คอทำดว ยอะไร ถึงสามารถทำไดข นาดน้ัน สำหรบั ธรรมดาท่ัวไป อยา
เลยเด็ยวตายเรว็

5. หามเด็ดขาดสำหรบั การหันไปพงึ่ ยาเสพติด มันจะทำใหค ณุ รูสึกดแี คชวั่ ครูเทาน้ัน มนั ทำใหค ุณไมใ ชค ุณ

6. อยา รอ งเพลงทกุ เพลงทม่ี ีเสยี งสูงหรือตำ่ เกนิ ขดี ความสามารถของคณุ ควรเริม่ จากการฝก เสียงที่คุณมใี หด กี อ น แลว
หาครแู นะนำอยา งถูกตอ ง ถา ไมถ งึ จริงๆก็ยอมกิอน อยา ไปตะบตี้ ะบนั รอง

7. ถาครผู ูสอนของคุณเปนนักรองชน้ั ยอด ลองพยายามทำความเขา ใจเนื้อหาและวิธีการสอนของเคาดูนะครบั ถาสอน
ดี กโ็ อเคเลย แตถ าสอนไดไมด ีใหคุณนกึ ถึงคำท่ีผมบอกนะครบั "คนทรี่ อ งเพลงดี ไมไ ดหมายความวา เคา จะสามารถ
ถา ยทอดวิชาการรองเพลงใหคณุ ไดด"ี เพราะเชาผา นจดุ ๆนน้ั มานานแลว

8 เม่ือตอ งขน้ึ เวที อยา ใสเ ส้อื ผาที่หนาๆ เพราะแสงไฟบนเวทนี ะ "รอ นมาก" ยนื พักเดยี วกเ็ หง่ือชุมแลว รอ นขนาดนัน้
คณุ คงไมมกี ระใจจะรองเพลงสกั เทาไหรหรอก

ชร.03 สมดุ บนั ทึกกิจกรรมชมรม โรงเรียนมัธยมวดั สิงห

9 หลายคนชอบพูดวา ไมส ามารถรอ งเพลงแตเ ชาได หรอื รอ งเพลงตอนดึกๆ ไมไ หว เพราะเสยี งไมมา ผมมนั่ ใจวา ไมม ี
คำๆ นใี้ นพจนานุกรมของ นกั รอ งทไ่ี ดร บั การฝก ฝนอยา งสมำ่ เสมอ ยกเวน วันนนั้ มันดันพเิ รนท นอนดกึ เสยี งเกนิ กวา
เหตุ ดมื่ สรุ า หรอื ไมสบาย

10 เมื่อคณุ ตองรองเพลง จำไวว า คณุ ตองรูความหมายของบทเพลงนน้ั ๆ ทุกคำ ทุกความหมาย รอ งใหไดอารมณ
ตามนน้ั ทสี่ ำคญั คณุ อยา ไดอ ารมณเพยี งคนเดยี วนะ ผูฟ ง ตอ งไดย ินเสยี งคุณแลวรสู ึกไดถ งึ อารมณที่คุณตอ งการสอ่ื
ดว ย

11. อยา ไอแรงๆ หรือขากเสมหะแรงๆ เพราะอาจทำใหเ สน เสียงอกั เสบได หากรูสึกระคายคอจริงๆ ควรใชว ิธี
กระแอมชว ยลดอาการระคายคอ

12 ไมค วรสบู บหุ ร่ี เพราะบหุ รี่ นอกจากทำใหคุณเปนมะเรง็ ปอด โรคถุงลมโปง พอง ฯลฯ แลว มันยังทำลายเสน เสียง
ของคณุ อกี ดวย ถา ไมอ ยากใหเ สนเสยี งพงั เร็วกเ็ บาๆลงบา ง หรือ เลกิ เลยจะดีทส่ี ุด

13. ถา หากเรามเี นือ้ เสยี งที่ฟง แลวดูเพราะดี อาจไมไดห มายความวา คุณจะเปนนกั รอ งได มันเปน แคพ รสวรรคส ว นนึง
เทา น้ันเอง

14. อยา ทำอะไรกต็ ามทท่ี ำใหร ูสกึ ระคายเคอื งตอเสน เสียง ซงึ่ อาจทำใหเ กิดอาการเจบ็ คอได
2ถา หากตอ งการหาทเ่ี รยี นรองเพลง ลองสอบถามดวู าอาจารยทจ่ี ะมาสอนคณุ เปนใคร มคี วามเก่ียวของและ
ความสามารถ ทางดนตรแี ละการรอ งเพลงอยางไร ดชู อื่ เสยี ง เครดิตเปน อยางไร กอ นท่จี ะตดั สนิ ใจเราตองพจิ ารณา
กอน

15. อยาใชเ สียงอยา งหนักในการรองเพลง เกนิ สปั ดาหล ะ 3 ครั้ง พกั เสยี งบา งเถอะ หากคณุ ยงั รกั มนั อยู และตอ งการ
ใชม นั นานๆ

16. ไมรองเพลงดวยเสียงทีด่ ังท่สี ุดของคณุ เปนเวลานานๆ
รจู กั ถามใหมากทีส่ ุด เม่อื คุณเจอคนทส่ี ามารถใหค ำแนะนำคณุ ไดใ นดา นการรองเพลง

17. ดูแลรักษาชองปากและฟน ของคณุ อยา งสมำ่ เสมอ เพ่อื ลมปากปอมสดชื่น เวลาคณุ รองเพลง

18. วิธีการรกั ษาเสยี งของคณุ อยา งงา ยๆ และไดผ ล คอื การนำผา ชบุ น้ำอนุ มาประคบที่คอ เปนเวลาประมาณ 19
นาที โดยชวงนัน้ คุณควรพักการใชเสยี งดว ย

ชร.03 สมดุ บันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรียนมัธยมวัดสิงห

19. การเรยี นรวู ธิ ีการรอ งเพลง และการใชเสยี งอยางถูกตอ ง ตอ งใชเ วลาในการเรียน และการฝกฝนเทา นนั้ ไมม ีวิธลี ัด
ใดๆทั้งส้ิน

20. การฝกการรอ งเพลง ควรฝก อยา งชา ๆ ใจเยน็ ๆ อยา คดิ วา การรบี รอนฝกหนักจะทำใหค ุณเกง ในพริบตาได การ
ฝกซอมอยางถูกตอ ง พอดี และสมำ่ เสมอทกุ วนั ทำใหเ สียงของเราคอ ยๆพฒั นาไปอยางมีระบบ

21. ถาการเรยี นรอ งเพลง หมายถงึ การเรียนเทคนคิ การใชเ สยี งทถี่ กู ตอ ง น่ันหมายถงึ วา เม่อื คุณเรยี นรอ งเพลง จะตอง
ไดร ับความรแู ละการฝก ฝน การใชเสียงอยางถกู ตอง เพ่ือไมใหเ กดิ อาการเจบ็ คอ อนั เนอ่ื งมาจากการใชเ สยี งมาก
เกินไป หรอื ผดิ วธิ ี

22. พยายามหลีกเลีย่ งการอยูในหองแอรนานาๆ กอ นการขึน้ เวทเี พอื่ รองเพลง เพราะนอกจากหนาวแลว ความเย็น
ของอากาศ ทำใหค วามชืน้ ในรางกายของเราระเหยไป อาจทำใหรสู กึ คอแหง ได เพราะเราสดู เอาอากาศท่ีแหง กวาเขา
ไป พรอ มกบั ปลอ ยอากาศช้นื ออกจากตวั เรา

23. พยายามอยา ด่ืมนำ้ เย็นมาก ไมด มื่ เลยดที ส่ี ุด เพราะมันทำใหเสน เสยี งเราหดตวั ลง
ทำใหเกิดอาการหูเพี้ยนได

24. อยาฝก หรอื พยายามใชล ูกคอ หากคุณไมมัน่ ใจวา คุณเปน คนท่ีรอ งเพลงไดด ี และสามารถควบคุมเสยี งได
ตรง pitch แลว ละ ก็ อยา รบี รอ นฝก หดั การใชล กู คอ เพราะน่นั อาจทำใหคณุ เปน นักรอ งท่ไี มไดเ ร่อื ง เพราะเสยี งของ
คณุ จะแกวง ไปมา ไมต รง pitch สงิ่ ที่คณุ ควรทำคอื การฝก ควบคุมเสียงใหน ง่ิ ตรง pitch เมอ่ื คุณชำนาญในการควบคมุ
เสียงแลว จึงควรฝกการใชลูกคอ

25. ไมค วรด่มื สรุ า นอกจากทำใหค ณุ เปน โรคตับแขง็ พษิ สรุ าเร้อื รัง รวมไปถงึ การทค่ี ุณตอ งเมาไมเ ปน ทาแลว การดม่ื
สรุ า อาจทำใหเ สน เลอื ดฝอยบรเิ วณเสน เสยี งของคุณขยายมากจนเกนิ ไป เมอื่ ใชเ สยี งในชว งเวลานัน้ อาจทำใหเสน
เลอื ดฝอยบรเิ วณน้ันแตก และเกดิ อาการเสน เสยี งอกั เสบได เสียงกจ็ ะไมน า ฟง เพราะเสียงจะแตก

26. หา มใหใครทำอะไรกบั เสนเสียงของคุณเดด็ ขาด แมกระทง่ั หมอ คณุ ก็หา มใหเคา ทำอะไรกับเสน เสยี งของคณุ
เดด็ ขาด เพราะคณุ อาจไมม เี สียง หรอื อาจรองเพลงไมไ ดอ ีกเลย ถา เสน เสียงของคณุ เปนอะไรไป หมอกเ็ ปนคน โอกาส
ผิดพลาดมไี ดเสมอ แตเ รือ่ งเสียงไมควรใหใ ครมาทดลอง หากพลาด นั่นคอื หายนะของคุณเลยละ คุณไมสามารถเอา
มันคืนมาดกี้ แลว

27. อยา เตนไปรอ งไปเปน เวลานาน ถาคณุ รจู กั ไมเคลิ แจค สนั แลว ลองสังเกตคุ อนเสิรท ของเคาทุกคอนเสิรท คณุ จะรู
วาเคา รองสดเพียงไมกีเ่ พลง นอกนน้ั ตอ งรอ งลิปซงิ ค เพราะการรอ งไปเตนไปเปนเวลานานๆ ทำใหเสยี งของคุณหมด

ชร.03 สมดุ บนั ทึกกิจกรรมชมรม โรงเรยี นมัธยมวัดสิงห

ไวผิดปกติ เพราะคณุ ตองใชค วามสามารถสูงในการควบคมุ ลมหายใจ เม่ือคุณกังวลกับทา เตน มากๆ กงั วลกับลม
หายใจทกุ เพลง นั่นละ เสียงของคณุ จะไมเปน ทา กเ็ มอื่ นน้ั

28. พยายามเรยี นรูการรองในแตล ะสไตลใ หม ากทสี่ ุดเทาท่คี ณุ จะทำได ยงิ่ คุณรูม ากและทำไดมาก น่ันคอื
ความสามารถเฉพาะตัวทีย่ ากจะหาใครเลียนแบบ

29. รอ งเพลงอยา งเดยี วไมพอแน ทาทางคอื สิง่ ท่นี กั รองหลายๆ คน แสดงออกมาอยา งไมไดเรือ่ ง ถา คุณรองเพลงไป
แลว ยืนตรงเหมอื นคนเคารพธงชาติ คุณคดิ วาใครอยากจะมองคณุ บา ง ใชห เู พอื่ ฟง คณุ ก็พอแลว มั๊ง ถาคุณไมอยากเปน
อยางนัน้ เรมิ่ ตน ฝกการใชลลี าทาทางซะ อยาคิดวา ข้ึนเวทีแลว มนั จะไดเ อง จากประสบการณแลวนนั้ ผมไมเ คยพบ
ใครแมแตคนเดยี วท่สี ามารถทำอะไรไดดี โดยไมไ ดม ีการฝก ซอ มไวกอน บางคนฝก ไวแลว 100% ยังทำไดแคไ มถ ึง
80% เอง เพราะฉะน้ันจงซอ มไวส กั 120-150 % แลว คณุ จะรอ งไดด ี 100% เลย ผมรับรอง

30. ทำความเขาใจดนตรี คุณควรรวู านกั ดนตรีตองการสื่ออารมณอ ยา งไร ในบทเพลงท่คี ุณรอง ลองฝก ฟง ดนตรี
เยอะๆ พยายามทำความเขา ใจอารมณทสี่ อื่ ออกมาจากดนตรแี ตล ะประเภท แตละแนวเพลง

31. รูสึกเหมอื นคอมีเสมหะตลอดเวลาเลย เรือ่ งแบบน้แี กไมย าก คุณสามารถลางคอของคณุ ได ดวยการดมื่ นำ้ อนุ
ผสมเกลือ 1/2 ชอนโตะ ผสมโซดา ทกุ เชา วิธนี ้ไี ดผ ลดเี ลยทเี ดยี ว ในการกำจัดอาการระคายคอบอ ยๆของคณุ ออกไป

32. ฝกการฟง เปนประจำ ดว ยแบบฝกหดั การฝกฟง การฟง ทำใหค ุณเปน นกั รอ งทดี่ ีได เพราะถาคุณยิ่งแมน ยำในการ
ฟง โนต เทา ไหร คณุ กจ็ ะสามารถขึน้ รองเพลงบนเวทไี ด โดยไมตองกงั วลวาจะรอ งเพ้ยี น

สรปุ

การรอ งเพลงน้นั เราสามารถรอ งไดท กุ คน แมแตค นท่คี ิดวา ตวั เองไมมีพรสวรรค คดิ วาเสยี งไมด ี จะ
สามารถรองไดไหม เปน นกั รอ งไดไหม จะฝก ไดไ หม จรงิ ๆแลวเราฝก ไดหมด ขอแคม ีความตงั้ ใจ พรสวรรคข อแค 10
เปอรเซน็ พรแสวง 90 เปอรเ ซ็น ถาเรามพี รแสวงตงั้ ใจฝก ฝนอยา งถกู วธิ ี พรอ มทจี่ ะเรยี นรู เราจะเปน นกั รอ งทม่ี ี
คุณภาพไดแ นนอน เพียงแตเ ราตอ งฝก ซอ ม หากเรารูเทคนคิ วธิ กี ารทุกอยา งเลย แตเ ราไมม เี วลาซอ ม ก็ไรประโยชน
จะไมม กี ารพฒั นาแนนอน ควรรอ งเพลงทกุ วนั วอรมเสียงทกุ วนั วะนละ ชม. จะทำใหพ ัฒนาเสียงไดจ รงิ ๆ ขอแคเ รยี นรู
ถกู วิธี ขยันฝกซอม ไมม ีวิธีลดั ตอ งเปน ไปตามข้นั ตอนเทานนั้ เอง

ชร.03 สมดุ บันทึกกิจกรรมชมรม โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห

ขอปฏิบัติการประเมนิ ผลกิจกรรมชมรม

1. การเขยี นชอ่ื -สกลุ นกั เรียน ใหเ รยี งลำดับหอง และเลขท่จี ากนอ ยไปมาก
2. ใหทำเครื่องหมาย ในชอ งเวลาเขา รวมกจิ กรรม เมือ่ นกั เรยี นเขา รวมกจิ กรรม และเชค็ เวลาเรยี นใหครบ 20 สปั ดาห
3. ใหท ำเครือ่ งหมาย X ดวยสแี ดง ลงใน  เม่ือนกั เรยี นไมเ ขารวมกจิ กรรมและระบสุ าเหตุ ป/ล/ข นกั เรยี นท่ไี มเขารว ม

กิจกรรมแลว แตกรณี
4 ถา นกั เรียนพักการเรยี นหรอื ลาออกระหวา งภาค ใหขดี เสน ตรงดว ยหมกึ สแี ดง ตง้ั แตว นั พกั การเรยี นถงึ วนั สดุ ทาย

ทีถ่ ูกพักการเรยี น หรอื ขดี ตง้ั แตวนั ออกจนถงึ วันสิ้นภาคเรยี น แลว เขยี นคำวา “พกั การเรยี น” หรือ “ลาออก”
แลวแตกรณี
5. เมื่อเสร็จสิ้นการจดั กจิ กรรมแตล ะภาคเรยี น ใหสรุปประเมนิ ผลการเขา รวมกิจกรรม โดยการเขยี น “ผ”หรือ “มผ”
ในชองผลการประเมนิ การเขา รว มกิจกรรม“ผ” เขยี นดว ยหมกึ สีนำ้ เงนิ และ “มผ” เขยี นดวยหมึกสแี ดง
6. ภาพกจิ กรรม ใหค รูบนั ทึกภาพการทำกิจกรรมของชมรม และตดิ ภาพถายลงในหนาภาพกิจกรรมอยา งนอ ย 3 ภาพ
7. การสง ใหครทู ีป่ รกึ ษาชมรมสมดุ ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมชมรม ฉบบั นภี้ ายในสปั ดาหสดุ ทาย กอนสอบปลายภาค พรอมผล
การประเมินกิจกรรม
8. เกณฑ/ วิธีการประเมินผลกจิ กรรมชมรม

8.1 นกั เรียนมเี วลาเขารวมกจิ กรรมไมน อยกวา รอ ยละ80จงึ จะผานการประเมิน
8.2 ถาผเู รยี นมีเวลาเขา รวมกิจกรรมไมครบรอ ยละ 80 หรอื ไมผ านสง ช้นิ งานตามท่ไี ดร ับมอบหมายถือวา
ไมผ านการประเมนิ ไดร บั ผลการเรียน มผ : ไมผ า น
9. ขั้นตอนการดำเนินการสอบแกต ัวของนกั เรยี นกรณีมีผลการประเมินไมผา น(มผ.) หรอื เรียนซ้ำ
9.2 นักเรยี นดำเนินการสอบแกต ัวกบั ครทู ่ปี รึกษากจิ กรรมชมรม
9.3 เมื่อนักเรยี นผา นการประเมนิ ใหค รทู ี่ปรกึ ษากจิ กรรมสง ผลการแกต ัวกิจกรรมชมรมท่ีงานกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น

ชร.03 สมดุ บนั ทึกกิจกรรมชมรม โรงเรียนมัธยมวดั สิงห


Click to View FlipBook Version