The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัฒนธรรมนครศรีธรรมราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศวีระ วิเศษโชค, 2019-12-04 05:20:49

วัฒนธรรมนครศรีธรรมราช

วัฒนธรรมนครศรีธรรมราช

หุ่นละครเล็ก
สนั นษิ ฐานวา่ เรม่ิ มกี ารเลน่ เปน็ มหรสพราวปี พ.ศ. ๒๔๔๔ โดยนายแกร
ศพั ทวนชิ เปน็ ผรู้ เิ รม่ิ สรา้ งขนึ้ ตวั หนุ่ มขี นาดสงู ประมาณ ๑ เมตร สรา้ งเลยี นแบบ
หุ่นหลวงและหุ่นเล็ก แต่ต่างกันท่ีการบังคับหุ่นและลีลาการเชิด ซ่ึงเป็น
ศลิ ปะทส่ี รา้ งสรรคข์ น้ึ ใหม่ ตอ่ มานายสาคร ยงั เขยี วสด ผไู้ ดร้ บั การสบื ทอดวชิ า
หนุ่ ละครเลก็ ไดส้ รา้ งหนุ่ ละครเลก็ ขน้ึ มาใหม่ และพฒั นารปู แบบในการเชดิ ให้
ออกมาอยู่ด้านนอก เพ่ือให้ผู้ชมได้เห็นลีลาของผู้เชิดไปพร้อมๆ กับหุ่น
โดยหนุ่ ๑ ตวั ใชผ้ เู้ ชดิ ๓ คน และมกี ารถา่ ยทอดสบู่ ตุ รชายหญงิ โดยจดั ตงั้ คณะ
ห่นุ ขึน้ ครง้ั แรก ใชช้ อื่ วา่ คณะสาครนาฏศิลป์ ละครเล็กหลานครแู กร และได้
ก่อต้ังโรงละคร ส�ำหรับจัดแสดงหุ่นละครเล็กข้ึนเป็นคร้ังแรกในประเทศไทย
ซึง่ รจู้ ักกนั ในนาม นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก (โจหลยุ ส)์

ความสำ� คญั ของหนุ่ ไทยคอื การนำ� ศลิ ปวฒั นธรรมอนั วจิ ติ รแขนงตา่ งๆ
ของชาตริ วมเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั การสรา้ งหนุ่ หนง่ึ ตวั ตอ้ งอาศยั ชา่ งผมู้ คี วามชำ� นาญ
ทางประตมิ ากรรม จติ รกรรม ในการสรา้ งสว่ นหวั และลำ� ตวั รวมถงึ เชยี่ วชาญ
หลักกลศาสตร์ในการสร้างกลไกบังคับหุ่น อีกทั้งต้องใช้ช่างประณีตศิลป์ผู้
ชำ� นาญในการฝมี อื เยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย ประดษิ ฐเ์ ครอื่ งแตง่ กายและเครอื่ งประดบั
ส�ำหรับผู้เชิดหุ่นกระบอก ต้องเป็นผู้มีความรู้ทางนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์
และวรรณศลิ ป์ เนอื่ งจากการรา่ ยรำ� ของหนุ่ ทำ� ตามแบบละครรำ� และผเู้ ชดิ ยงั
ต้องรู้จักจังหวะและอารมณ์ของเพลงท่ีใช้ประกอบการแสดง ตลอดจนการ
ดำ� เนนิ เรอื่ งตามบทประพนั ธแ์ ละบทรอ้ งเจรจา นอกจากนหี้ ากเปน็ การแสดง
หนุ่ กระบอกยังประกอบด้วยศลิ ปะช้ันสงู อกี หลายสาขา เช่น สถาปตั ยกรรม
มัณฑนศิลป์ ในการสร้างโรงหุ่นและฉากให้เหมาะกับเน้ือเร่ือง เรียกว่าเป็น
งานแสดงทีน่ ำ� ศาสตร์และศิลปแ์ ขนงตา่ งๆ ของไทยมาหลอมรวมเข้าด้วยกัน
อย่างงดงามลงตวั

“ 
นอกจากตวั หุ่นหลวงที่ยงั หลงเหลอื อยู่จนถงึ ปจั จบุ นั หลักฐาน
การแสดงหุ่นของไทยยังปรากฏให้เหน็ ในภาพจิตรกรรมฝาผนงั
ฝมี ือชา่ งสมยั รชั กาลที่ ๓ ทีว่ ัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม
และฝีมือช่างสมัยรชั กาลที่ ๔ ท่วี ัดทองธรรมชาติ วดั โสมนสั วรวหิ าร
”กรงุ เทพฯ และวัดมัชฌมิ าวาส จงั หวัดสงขลา

• ในการแสดงหุ่นละครเลก็ ผู้ชมจะเห็นทงั้ ตัวห่นุ และผเู้ ชิดรา่ ยรำ�
ไปพร้อมกนั จึงตอ้ งใช้ผู้เชิดที่มีความช�ำนาญในการเล่นโขนละคร
เปน็ อย่างดี



ศาสตรแ์ ละศิลป์
งานช่างไทย

งานช่างไทย แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาและทักษะฝีมือที่สืบทอดต่อกันมา
ตลอดจนความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการนำ� วสั ดธุ รรมชาตทิ เ่ี ดมิ มงุ่ เนน้ แตเ่ พยี งประโยชน์
ใช้สอย มาเพิ่มความวิจิตรงดงามเข้าไปจนเกิดเป็นงานศิลป์ท่ีเปี่ยมไปด้วยคุณค่า
และเสน่ห์อันเป็นเอกลักษณ์ ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างเรือนไทยในแต่ละภูมิภาค
ใหเ้ หมาะกบั สภาพความเปน็ อยแู่ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เครอ่ื งจกั สานไมไ้ ผ่ งานผา้ ทอทเี่ ปน็
มากกวา่ เครอื่ งนงุ่ หม่ ในชวี ติ ประจำ� วนั การประดษิ ฐโ์ คมลา้ นนา งานชา่ งดอกไมส้ ด
และงานแทงหยวก

ศาสตร์และศลิ ป์ งานชา่ งไทย  |  101



• “สภาพอากาศทหี่ นาวเย็น
ทำ� ใหเ้ รอื นไทยภาคเหนือมี
รูปทรงเตย้ี คลมุ่ กว่าเรือนไทย
ภาคอื่น ๆ เจาะช่อง
หนา้ ต่างแคบเลก็ เพื่อกนั ลม
ภายนอกตกแต่งด้วยศลิ ปะ
แบบล้านนา เช่น กาแล
ส่วนใต้ถนุ มักใช้เปน็ ที่เก็บ
ของและเครอ่ื งใช้ทางการ
เกษตร หรือเปน็ ทีพ่ กั ผ่อน
และประกอบอุตสาหกรรม
ในครวั เรือน เช่น ท�ำร่ม
ทอผา้ ทอเสื่อ ปั่นฝา้ ย
ตำ� ข้าว”

เรือนไทย

วถิ แี ห่งถ่ินอาศยั

เอกลักษณ์ของเรือนไทยแตกต่างกันไปในแต่ละภาค ข้ึนอยู่กับสภาพภูมิประเทศ คติความเชื่อ ศิลปวัฒนธรรม สภาพ
เศรษฐกจิ สงั คม และความนยิ มในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ สงิ่ หนงึ่ ทเ่ี รอื นทกุ ภาคมรี ว่ มกนั คอื นยิ มปลกู เปน็ เรอื นไมช้ นั้ เดยี วรปู สเ่ี หลยี่ มผนื ผา้
หลังคาทรงสงู ลาดชัน ชายคายื่นยาว ชานกว้าง ยกพ้ืน และใตถ้ นุ สงู โปร่ง สว่ นรายละเอยี ดของเรือนแตล่ ะภาคอาจมีความแตก
ต่างกนั ในเรือ่ งของการมุงหลงั คา การวางตัวเรอื น และรูปทรงของตัวเรือน

เรอื นไทยภาคเหนือ
โดยท่ัวไปมีลักษณะเป็นเรือนไม้ ยกพื้น มีใต้ถุน หลังคาจั่ว มีชายคาปีกนกกันแดดกันฝนด้านหน้าและหลัง แนวจ่ัวของ
หลังคาเรอื นนอนจะหนั สแู่ นวเหนือ-ใต้ ตัวบันไดเรือนจะหลบอยใู่ ต้ชายคาบ้านด้านซ้ายมอื เสมอ จงึ ต้องมเี สาลอยรบั โครงสร้าง
หลงั คาดา้ นบนตงั้ ลอยอยู่ รปู แบบของเรอื นในแตล่ ะทอ้ งทจี่ ะคลา้ ยคลงึ กนั แตกตา่ งกนั บา้ งในรายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยของแตล่ ะสกลุ ชา่ ง
เช่น หลังคาเรอื นล้านนาสกุลชา่ งล�ำปางมีลกั ษณะเด่นคือ มมุ หลงั คาไมล่ าดชนั มาก ยอดจว่ั ไม่แหลมสงู ส่วนเรือนกาแลของช่าง
เชยี งใหม่ ยอดจว่ั ประดบั กาแล หรอื ง่ามไม้ แกะสลักอยา่ งงดงาม สว่ นประกอบสำ� คญั ท่ีขาดไม่ไดใ้ นเรือนภาคเหนือคือ ร้านนำ�้
หรอื ฮา้ นน้�ำ ส�ำหรบั วางหม้อน้ำ� ด่ืมประจำ� บ้าน เช่นเดียวกบั ต้นนำ�้ หรอื คนโททใี่ ส่น้ำ� สำ� หรบั แขก

• เรอื นไทยภาคกลางมักมีหลงั คาทรงมนิลาสูง ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ งานช่างไทย | 103
มีปั้นลม กนั สาดและใต้ถนุ สูง

• เรือนไทยภาคอีสาน • เรือนไทยภาคกลาง

เรือนไทยภาคกลาง

นยิ มปลกู ตามรมิ แมน่ ำ้� ลำ� คลองหรอื ทรี่ าบลมุ่ เนอ่ื งจากนำ�้ ทว่ มถงึ ไดง้ า่ ยจงึ สรา้ งเปน็ เรอื นใตถ้ นุ สงู
ยกพืน้ เรอื นใหพ้ น้ น�ำ้ สูงจากพ้ืนดนิ ประมาณเหนอื ศีรษะคนยืนเลก็ น้อย ระดบั พน้ื ลดหลั่นกัน ระเบียง
ลดจากหอ้ งนอน ชานลดจากระเบียง เพ่อื ช่วยให้ลมพดั ผ่านได้ดี เสาและฝาผนงั ล้มสอบ หลังคาจว่ั ทรง
สงู พรอ้ มปน้ั ลมยอดแหลม ชายคายนื่ ยาวเพอื่ กนั ฝนสาดและแดดสอ่ ง มชี านและระเบยี งสำ� หรบั พกั ผอ่ น
หยอ่ นใจ เรอื นครวั มักปลกู แยกออกจากตวั เรือนใหญ่ มรี ะเบียงหอน่ัง หอนกเป็นส่วนประกอบ และมี
บนั ไดขน้ึ จากหนา้ เรอื น นยิ มวางเรอื นใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม เชน่ เรอื นรมิ นำ�้ จะวางเรอื นขนาน
ไปกบั ทิศทางของแมน่ ้�ำล�ำคลอง

• ชาวอีสานมักจะปลูกสรา้ งยงุ้ ข้าวอยูห่ ่างจากตัวเรือน เรอื นไทยภาคอีสาน
ประมาณ ๑-๔ เมตร โดยส่วนใหญจ่ ะวางแนวขนานกบั ตวั เปน็ เรอื นสรา้ งดว้ ยไม้ ใตถ้ นุ สงู หลงั คาทรงจว่ั เรอื นขนาดใหญข่ องบา้ นเรยี กวา่ เรอื นเกย ประกอบ
เรือนด้านทิศเหนือหรือทศิ ใต้ ดว้ ยชานมหี ลงั คา บางครอบครวั อาจมกี ารตอ่ เตมิ เรอื นหลงั เลก็ เพมิ่ ขนึ้ เคยี งตามแนวยาว เรยี กวา่ เรอื นโขง่
คอื เรอื นขนาดกลางและขนาดเลก็ โครงสรา้ งแยกจากเรอื นใหญ่ หรอื เรอื นนอ้ ย มรี ปู รา่ งคลา้ ยเรอื นโขง่
104  |  วัฒนธรรม วิถีชวี ิตและภูมปิ ัญญา แต่มีโครงสร้างร่วมกับเรือนใหญ่ มีการแยกประโยชน์ใช้สอยเป็นห้องนอนโดยเฉพาะของพ่อแม่
และลกู สาวแยกจากกัน และทเี่ ดน่ ชดั ทส่ี ุดคือ มกี ารยกหิง้ เปิงขึ้นไว้ในหอ้ งเปิงอีกหอ้ งหนง่ึ ซง่ึ เป็นหอ้ ง
ความเชื่อเรื่องผีบรรพชนโดยเฉพาะ ทุกเรือนมีลักษณะใต้ถุนสูงเช่นเดียวกับภาคอื่นๆ แต่ไม่นิยมท�ำ
ชอ่ งหน้าตา่ งขนาดใหญ่ มักท�ำหน้าตา่ งเปน็ ชอ่ งแคบ ๆ ส่วนประตูเรือนทำ� เป็นช่องออกทางด้านหน้า
เรือนเพยี งประตูเดียว เพราะในฤดูหนาวมลี มพดั จดั และอากาศเย็นจัดจึงต้องทำ� เรอื นใหท้ ึบและกันลม
ได้ หลังคาเรือนท�ำเป็นทรง รอบหลังคาไม่มีชายคาหรือปีกนกยื่นคลุมตัวบ้านเหมือนอย่างเรือนไทย
ภาคกลาง ส่วนชน้ั ลา่ งของเรือนนอนใหญ่อาจใชส้ อยได้อกี เชน่ กน้ั เป็นคอกวัวควาย ฯลฯ

เรือนไทยภาคใต้ • หลังคาปัน้ หยาจะมีหวั ท้ายเปน็ รูปลาดเอยี งแบบตดั เหลีย่ ม ครอบดว้ ยกัน
เนือ่ งจากภาคใต้มีฝนตกชกุ ตลอดท้ังปี เกิดน้�ำทว่ มบ่อยครัง้ จงึ นิยม น�้ำฝนรั่ว มโี ครงหลงั คาท่แี ขง็ แรงมาก จึงสามารถทนรับฝนและตา้ นแรงลม
สรา้ งเป็นเรอื นใตถ้ นุ สูงเช่นกนั แตเ่ นอื่ งจากเมอ่ื ถึงฤดูนำ้� หลาก กระแสน�้ำจะ หรอื พายุไดด้ ี
ไหลผ่านบริเวณใต้ถุนบ้าน ส่วนเสาบ้านจึงมีฐานเสาหรือตีนเสารองรับเพ่ือ
ป้องกันเสาผุ หลังคาทนี่ ิยมท�ำกันมี ๓ แบบ คือ หลงั คาจัว่ หลังคาปัน้ หยา
และหลงั คาจวั่ มนลิ า สว่ นใหญอ่ ยใู่ นจงั หวดั ปตั ตานี ซง่ึ เปน็ หลงั คาทมี่ รี ปู แบบ
ผสมผสานระหวา่ งหลงั คาแบบปน้ั หยากบั หลงั คาจวั่ เพอ่ื ใหร้ ะบายอากาศไดด้ ี
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมในภาคใต้ท�ำให้บ้านในภาคใต้มีเอกลักษณ์
เฉพาะของคนในสังคม เช่น บ้านไทยพุทธในบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี
นครศรธี รรมราช พทั ลุง และสงขลา มักสรา้ งบา้ นแบบหลังคาจวั่ สว่ นบา้ น
ชาวไทยมสุ ลมิ นยิ มสรา้ งบา้ นแบบหลงั คาปน้ั หยาและหลงั คาจวั่ มนลิ า เนอ่ื งจาก
หลงั คาแบบนมี้ โี ครงหลงั คาแขง็ แรงมาก จงึ สามารถทนรบั ฝนและตา้ นแรงลม
หรือพายไุ ต้ฝุ่นได้ดี มกั พบในภาคใตต้ อนล่าง เช่น จังหวดั ปัตตานี นราธิวาส
และยะลา

ลกั ษณะของเรอื นไทยทแ่ี ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะภาคสะทอ้ นถงึ ภมู ปิ ญั ญา
ของทอ้ งถนิ่ ในการปรบั ตวั ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาตไิ ดอ้ ยา่ งดที สี่ ดุ การ
ปลกู เรอื นจงึ ตอ้ งองิ กบั สภาพภมู ปิ ระเทศเปน็ หลกั รวมถงึ การประยกุ ตโ์ ดยนำ�
วสั ดทุ ่ีหาไดง้ า่ ยในท้องถิ่นมาใช้ ทั้งยงั มเี รอ่ื งคติความเชื่อและความนิยมของ
คนในชมุ ชนเข้ามาเป็นองคป์ ระกอบ ท�ำให้เกิดรูปแบบของเรอื นตา่ งๆ อนั มี
เอกลักษณเ์ ฉพาะถ่ิน 

ศาสตรแ์ ละศิลป์ งานช่างไทย  |  105

เรือนเครื่องผกู เรือนเคร่อื งสับ ภาคใต้
เรือนไทยสามารถแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทจากวิธีก่อสร้าง
ได้แก่ เรอื นเครือ่ งผกู เป็นเรือนขนาดเลก็ โครงสร้างส่วนด้านหลังคา
ใช้วสั ดุทหี่ าได้งา่ ยตามทอ้ งถนิ่ เชน่ ใบตองแหง้ หญา้ แฝก พืน้ มักใช้
ไมไ้ ผ่ สว่ นคานและเสานยิ มใชไ้ มเ้ นอื้ แขง็ การยดึ โยงตวั เรอื นจะใชไ้ มไ้ ผ่
ทำ� เปน็ ตอกและหวายเพอ่ื เปน็ ตวั ยดึ สว่ นตา่ ง ๆ ของเรอื นเขา้ ดว้ ยกนั
ด้วยวิธีผูกมัด ส่วนเรือนไม้หรือเรือนเครื่องสับ มีความมั่นคงกว่า
ตัวเรือนท�ำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น สัก เต็ง รัง ตะเคียน ไม้แดง
ลักษณะเฉพาะของการปลูกเรือนประเภทน้ีไม่ต้องใช้ตะปูตอก
แตย่ ดึ ใหไ้ มต้ ดิ กนั หรอื ประกอบกนั โดยการใชม้ ดี สวิ่ หรอื ขวาน ถากไม้
ใหเ้ ปน็ รอยสบั แลว้ ประกอบเขา้ ด้วยกัน เรียกวา่ การประกอบเขา้ ล้นิ
สลักเดอื ย หลงั คามงุ กระเบื้อง

“ ภาคกลาง
วฒั นธรรมของการอยรู่ วมกันเป็นครอบครวั ขยายของคนไทย
ท�ำใหเ้ รือนไทยมีเอกลักษณค์ อื สามารถต่อเตมิ ไดโ้ ดย
ไม่กระทบต่อผู้อยู่อาศยั เพราะการรบั นำ�้ หนกั ของตวั เรอื น
”ขยายออกไปในดา้ นข้างจึงไมก่ ระทบต่อโครงสรา้ งหลัก

ภาคเหนอื

106  |  วฒั นธรรม วถิ ชี วี ิตและภูมิปญั ญา

“ความตา่ งของคำ� ว่า ‘เรือน’ และ ‘บ้าน’
ในภาษาไทยนั้น กล่าวคือ เรือนคือ
”สง่ิ ปลกู สรา้ งทย่ี กพน้ื กนั้ ฝา มหี ลงั คาคลมุ
ส่วนบา้ นคือพืน้ ที่ซ่งึ มเี รอื นตั้งอยู่
ศาสตร์และศิลป์ งานชา่ งไทย  |  107



ผา้ ทอมือ “ชา่ งทอผา้ จะออกแบบลายผา้ ของตวั เองขน้ึ
จากการนำ� ส่งิ ตา่ ง ๆ ทางธรรมชาตอิ ย่าง
วจิ ิตรหัตถศลิ ป์ไทย ดอกไม้ ดาว เดอื น สัตว์ หรอื ของใช้
มาคดิ ประดิดประดอยเป็นลายผา้ และ
เสียงก่ีไม้ท่ีดังกระทบเป็นจังหวะรับกับการสอดประสานของเส้นด้าย เรียกชอ่ื ลายตามลกั ษณะของสิง่ เหลา่ น้ัน
หลากสที ที่ อขนึ้ จนกอ่ เกดิ เปน็ ลวดลายบนผนื ผา้ นานาชนดิ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ วถิ ี เช่น ดอกแก้ว บา่ ง กระเบ้ยี (ผเี ส้อื )
แหง่ ชวี ติ และภมู ปิ ญั ญาทสี่ บื ทอดสง่ ตอ่ กนั มาผา่ นการสรา้ งสรรคผ์ า้ ทอมอื ขอคำ� เดือน ขิด สำ� รวจ (จรวด) หงส์
”และมกี ารพฒั นาลายผา้ ใหม้ คี วามซบั ซอ้ น
ผา้ คอื ปจั จยั พนื้ ฐานในการดำ� รงชวี ติ สว่ นการทอผา้ เปน็ การนำ� รากฐาน สวยงามยิง่ ขน้ึ
ความเปน็ ทอ้ งถนิ่ มารอ้ ยเรยี งกบั ความคดิ และความเชอ่ื ผา่ นลวดลายสญั ลกั ษณ์
ต่างๆ รวมกับสีสันแห่งธรรมชาติ จนก่อเกิดเป็นอัตลักษณ์ของแต่ละชุมชน
ท่ียากจะเลยี นแบบ

การทอผา้ ไวใ้ ชเ้ องในครวั เรอื นของสงั คมไทยนบั เปน็ วฒั นธรรมทโ่ี ยงใย
คนในครอบครัวและสังคมไว้ด้วยกัน ในสมัยที่การท�ำเกษตรกรรมยังเป็น
พ้ืนฐานของการด�ำรงชีวิต เมื่อเสร็จส้ินจากภาระในการเพาะปลูก หน้าที่
การทอผา้ สำ� หรบั ใชง้ านและทำ� เปน็ เครอ่ื งนงุ่ หม่ จะเปน็ ของฝา่ ยหญงิ ในขณะที่
อุปกรณ์ในการทอผ้าตกเป็นของฝ่ายชาย วิชาความรู้เรื่องการทอผ้าที่
ถ่ายทอดให้กันน้ันเป็นการส่งต่อผ่านรุ่นสู่รุ่น จากคนในครอบครัว จากแม่
สู่ลูก อาจกล่าวได้ว่านอกเหนือจากองค์ความรู้ท่ีสืบทอดกันมาและผืนผ้า
ท่ีจะน�ำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวัน การทอผ้ายังเป็นการบ่มเพาะนิสัย
ความละเอียด อดทน ตลอดจนความคิดสร้างสรรค์ในงานศิลปะให้แก่
ลกู ผหู้ ญงิ ในครอบครวั เชน่ กัน

ศาสตร์และศลิ ป์ งานช่างไทย  |  109

พ้ืนฐานการทอของผ้าทอมือเริ่มต้นจากการขัดลายกันระหว่างด้ายเส้นยืนที่ขึงจน
ตึงบนก่ีหรือหูกทอผ้ากับด้ายเส้นพุ่งท่ีพันร้อยอยู่กับเครื่องพุ่งหรือกระสวยส�ำหรับใช้พุ่ง
ดา้ ยเขา้ ไปขดั กบั ดา้ ยเสน้ ยนื ทกุ เสน้ และพงุ่ กลบั ไปกลบั มาจนเกดิ เปน็ เนอื้ ผา้ ตามลวดลาย
และขนาดทตี่ อ้ งการ แมจ้ ะเปน็ หลกั การอนั เรยี บงา่ ยแตก่ ลบั สามารถสรา้ งสรรคล์ วดลายได้
เปน็ ร้อยเปน็ พนั รปู แบบ โดยอาศัยวิธีการหรือเทคนิคท่แี ตกต่างกนั จนเกิดเปน็ อัตลกั ษณ์
บ่งช้ถี ึงที่มาของผา้ แตล่ ะกลุ่มชนได้ด้วย

ศลิ ปะการทอผา้ ในแผน่ ดนิ ไทยสามารถจำ� แนกลกั ษณะเดน่ ไดต้ ามกลมุ่ ชาตพิ นั ธข์ุ อง
ช่างทอ ผ้าทอทางเหนอื โดดเดน่ ด้วยผา้ ซิ่นตนี จกทท่ี อจากผา้ ฝา้ ย ใชว้ ธิ จี กให้เกิดลวดลาย
บนหน้าผ้าเป็นระยะ เช่น ผ้าตีนจกของกลุ่มไทยวนในภาคอีสานผ้าไหมและผ้าฝ้ายมี
บทบาทในชุมชนพอกนั แตล่ ักษณะเดน่ ของผ้าคือ การมัดหมี่ ท่ีนำ� การมดั ลายและย้อม
สีเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดลวดลายงดงาม เช่น ผ้าโฮล ผ้าไหมมัดหม่ีของกลุ่มชาติพันธุ์ไทย
เชอ้ื สายเขมรในจังหวัดสุรินทร์  ในขณะท่ีภาคใต้เน้นความสวยงามของการยกดอก หรือ
การผกู ลวดลายเกบ็ ดอกโดยใชก้ ารยกตะกอเพอ่ื บงั คบั เสน้ ดา้ ยยนื ใหข้ นึ้ ลงเปน็ จงั หวะ เชน่
ผา้ ยกเมอื งนครของจงั หวดั นครศรธี รรมราช ผา้ พมุ เรยี งของจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี สว่ นผา้ ทอ
ของภาคกลางแตกตา่ งดว้ ยลวดลายและวิธกี ารทอ เช่นผ้าจกไทยวน จังหวัดราชบรุ ี และ
ผา้ ยกมุกไทยวน จังหวัดสระบุรี

สสี นั บนผา้ ทไ่ี ดจ้ ากการยอ้ มดว้ ยพชื พรรณธรรมชาติ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ภมู ปิ ญั ญาดงั้ เดมิ
ทอ่ี งิ ความรใู้ นแงว่ ทิ ยาศาสตร์ ดว้ ยการนำ� ดอกใบ เปลอื กไม้ เมลด็ และรากของพชื พน้ื บา้ น
มาตม้ เค่ยี วใหเ้ กิดเป็นสีเขม้ เพอ่ื นำ� ไปย้อมผ้า เช่น ย้อมรากยอเปน็ สแี ดง ยอ้ มครามเปน็
สนี ำ้� เงนิ ยอ้ มมะเกลอื เปน็ สดี ำ� ยอ้ มขมนิ้ ชนั หรอื แกน่ ขนนุ เปน็ สเี หลอื ง ยอ้ มเปลอื กมะกรดู
เปน็ สเี ขยี ว ยอ้ มลกู หวา้ เปน็ สมี ว่ ง ยอ้ มเปลอื กไมโ้ กงกางเปน็ สนี ำ�้ ตาล เปน็ ตน้ ในบางชมุ ชน
สสี นั ยงั เปน็ เครอ่ื งแสดงสถานะของผหู้ ญงิ เชน่ แมห่ ญงิ สาวโสดชาวไทยพวนจะนงุ่ ซนิ่ ตนี แดง
ส่วนแม่หญิงที่แต่งงานแล้วจะนุ่งซิ่นตีนด�ำหรือซ่ินตีนจกพื้นด�ำ ในขณะเดียวกันสีสันยัง
บอกถึงอตั ลักษณข์ องผา้ ในแตล่ ะชุมชนเช่นกัน เชน่ ผ้าซน่ิ ตนี จกแมแ่ จ่มมีลวดลายโบราณ
เก้าลาย มีสอี อกเหลอื งแดง ส่วนผ้าซิ่นตนี จกจากจงั หวดั อตุ รดติ ถม์ สี อี อกเขยี วเหลือง

ลวดลายทส่ี รา้ งสรรคอ์ ยบู่ นผา้ แตล่ ะผนื ยงั สอ่ื ถงึ คตคิ วามเชอ่ื และวฒั นธรรมพน้ื ถนิ่
บางคร้ังมีการเชื่อมโยงกับลวดลายท่ีปรากฏอยู่ในศิลปะอ่ืนๆ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง
และสถาปตั ยกรรม หรอื มกี ารกลา่ วถงึ ไวใ้ นตำ� นานพนื้ บา้ นและในวรรณคดี รายละเอยี ดเหลา่ น้ี
สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ การทอผา้ ทอมอื แตล่ ะผนื ใชเ่ พยี งแฝงไวซ้ งึ่ รากฐานของวถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม
และความรทู้ ตี่ กทอดกนั มารนุ่ แลว้ รนุ่ เลา่ แตล่ ะเสน้ ดา้ ยยงั เปรยี บเหมอื นการบนั ทกึ เรอื่ งราว
ทแี่ ฝงไวซ้ ง่ึ ภมู ปิ ญั ญาอนั เปน็ เรอื่ งทคี่ วรคา่ แกก่ ารศกึ ษาและอนรุ กั ษไ์ วใ้ นแผน่ ดนิ ไทย 

• การทอผ้าคอื การนำ� เส้นดา้ ยมาขดั กนั ใหเ้ ป็นลวดลายคลา้ ยการจกั สาน
แตใ่ ชเ้ สน้ ด้ายแทนเสน้ ตอก โดยขงึ เสน้ ด้ายชุดหนึ่งเป็นเส้นหลกั เรียกวา่ เสน้ ยนื
แลว้ ใชเ้ สน้ ด้ายอกี ชุดทีเ่ รยี กว่า เส้นพ่งุ สอดตามแนวขวางของเสน้ ยืนขดั สลบั กนั
ไปอย่างตอ่ เนื่องจนเกิดลวดลายต่างๆ ขน้ึ

110  |  วัฒนธรรม วถิ ีชวี ติ และภูมปิ ญั ญา

งเราียนงรท้อยอ ขิด จก มัดหม่ี

การคดั เกบ็ ยกเสน้ ดา้ ยยนื พเิ ศษ เทคนคิ การทอดว้ ยวธิ กี ารเพม่ิ เปน็ เทคนคิ การมดั เสน้ พงุ่ หรอื
ใหเ้ กดิ เปน็ ลวดลาย แลว้ สอดเสน้ ดา้ ย ดา้ ยพงุ่ พเิ ศษเขา้ ไปเปน็ ชว่ งๆ ตดิ ตอ่ กนั เสน้ ยนื ใหเ้ ปน็ ลวดลายดว้ ยเชอื กกลว้ ย
พุ่งไปตลอดแนวของความกว้างของ ตลอดหน้ากว้างของผ้า อาจใช้ไม้ หรอื เชอื กฟาง กอ่ นนำ� ไปยอ้ มสี แลว้
หนา้ ผา้ ลายขดิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในแตล่ ะแถว ขนเม่น หรือนิ้วมือ ยกหรือจก กรอดา้ ยใหเ้ รยี งตามลวดลาย รอ้ ยใส่
จะเป็นสเี ดยี วกัน รูปแบบลายซำ้� กัน ดา้ ยเสน้ ยนื ขนึ้ แลว้ สอดเสน้ พงุ่ พเิ ศษ กระสวย แลว้ จงึ นำ� มาทอ
“ นนู ลอยจากเนอ้ื ผา้ ใหค้ วามสวยงาม เขา้ ไป เพอ่ื ใหไ้ ดล้ วดลายทง่ี ดงาม
สะดุดตา
เร่ืองราวระหว่างผนื ผา้
ชา่ งทอผา้ จะออกแบบลายผา้ ของ
ตวั เองขน้ึ จากการนำ� สงิ่ ต่าง ๆ
ทางธรรมชาตอิ ย่างดอกไม้ ดาว
เดือน สัตว์ หรอื ของใช้ มาคิด
ประดิดประดอยเปน็ ลายผา้
และเรยี กชอ่ื ลายตามลักษณะของ
สิง่ เหล่านนั้ เชน่ ดอกแกว้
บา่ ง กระเบยี้ (ผเี สอื้ ) ขอคำ� เดอื น
ขดิ สำ� รวจ (จรวด) หงส์ และมกี าร
”พฒั นาลายผา้ ใหม้ คี วามซบั ซอ้ น

สวยงามย่ิงขึ้น

ยก ยกมุก

เทคนิคการทอยกลายให้เห็น การทอโดยใช้เส้นยืนพิเศษ
เด่นชัดมีลักษณะคล้ายกับการทอ เพม่ิ บนกที่ อผา้ ลายยกบนผา้ เกดิ จาก
ลายขิด แต่ใช้เส้นพุ่งพิเศษ เช่น การใช้ตะกอลอยยกด้ายยืนพิเศษ
ไหมดนิ้ เงนิ ดนิ้ ทองมชี ายมเี ชงิ ซงึ่ ขน้ั ตอน ลวดลายที่เกิดจากเทคนิคนี้คล้าย
ยุง่ ยากกว่าผา้ ทอลายขิด กบั ลวดลายทเ่ี กิดจากการขดิ จก ผ้ทู ี่
ใชเ้ ทคนคิ นใ้ี นการทอผา้ เปน็ ชาวไทย
พวนทตี่ ำ� บลหาดเสย้ี ว จงั หวดั สโุ ขทยั
และทอี่ ำ� เภอลบั แล จงั หวดั อตุ รดติ ถ์

ศาสตร์และศิลป์ งานช่างไทย  |  111



เครื่องจักสานไม้ไผ่

พน้ื ถ่นิ หัตถศลิ ป์ไทย

เครื่องจักสานไม้ไผ่เป็นหัตถกรรมเก่าแก่ของไทยท่ีแม้จุดประสงค์หลักในการสร้างสรรค์จะไม่ได้
มุ่งเน้นที่ความงามมากไปกว่าประโยชน์ใช้สอย แต่รูปทรงและลวดลายอันเรียบง่ายท่ีประดิษฐ์ขึ้น
จากสองมือกลับมีคุณคา่ ทางศิลปะไมด่ อ้ ยไปกวา่ งานหตั ถกรรมประเภทอน่ื เลย

เครื่องจกั สานคอื ส่งิ ของเครือ่ งใช้ต่างๆ ท่นี ำ� ไมไ้ ผ่ หวาย กระจูด ใบตาล ใบลาน ย่านลิเภา หรือ
วสั ดอุ ่ืนๆ มา “จกั ” เป็นเส้น เป็นรว้ิ เรียก “ตอก” แลว้ “สาน” สอดขดั กนั ระหว่างเส้นต้งั กับเสน้ นอน
หรอื ขดั กนั ในแนวทแยงเปน็ แผน่ แผงหรอื รปู ทรงตา่ งๆ ตามการใชส้ อย พฒั นาการของเครอ่ื งจกั สานไมไ้ ผ่
เกดิ ข้นึ จากความต้องการเครื่องมอื เคร่อื งใชใ้ นครวั เรอื น และเครื่องมือทางการเกษตรซง่ึ เอ้ือประโยชน์
ต่อการด�ำรงชวี ติ ในสังคมเกษตรกรรมท่ใี กล้ชดิ กับธรรมชาติ เช่น การท�ำชะลอม กระบุง ตะกรา้ ส�ำหรบั
ใส่ของ อีกทั้งไม้ไผย่ ังเป็นสิง่ ที่หาไดง้ า่ ยในทอ้ งถิน่ จงึ ชว่ ยลดค่าใชจ้ า่ ยในการซ้อื หาได้

การแปรรปู ไมไ้ ผเ่ ปน็ ภมู ปิ ญั ญาอยา่ งหนง่ึ ของการจกั สาน โดยทวั่ ไปจะใชไ้ ผเ่ นอ้ื หนาตดั มาทงั้ ลำ�
แลว้ ทอนเปน็ ท่อนๆ ตามความยาวของตอกทีจ่ ะใชส้ าน ผา่ ออกเปน็ ซกี แล้วจักเป็นเสน้ บางๆ เหลาให้
เรียบ เพื่อให้เหมาะกับภาชนะเคร่ืองใช้ต่างๆ ตอกมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการน�ำมาใช้งาน เช่น
ตอกผวิ เปน็ ตอกทจ่ี กั เปน็ เสน้ แบนยาวใชส้ านภาชนะทตี่ อ้ งการความคงทน เชน่ กระบงุ ตะกรา้ หรอื เครอ่ื ง
ดกั สตั วน์ ำ�้ ทตี่ อ้ งแชน่ ำ�้ เปน็ เวลานาน สว่ นตอกไพล ใชส้ านสว่ นทใ่ี กลข้ อบปากของภาชนะ เปน็ ตอกกลม
เสน้ เลก็ ๆ เพื่อให้สานโค้งหรือคอดตามรูปภาชนะได้สะดวก และตอกสะพาย เป็นตอกสำ� หรบั ฟ่ันเป็น
สายสะพายรอ้ ยจมูกวัว ควาย จึงเป็นตอกเส้นเล็กแบนเนื้อออ่ น จกั จากไมไ้ ผ่สสี กุ หรอื ไมซ้ างปลอ้ งยาว
ฟั่นเปน็ เส้นขนาดเท่าหลอดกาแฟ

• “ลายขดั ” เปน็ ลายพนื้ ฐาน
ของเคร่อื งจักสาน เปน็ การ
สร้างแรงยดึ ระหวา่ งเสน้ ตอก
ดว้ ยการขดั กันของตอก
แต่ละเสน้ ตามแนวตงั้
และแนวนอน

ศาสตร์และศลิ ป์ งานชา่ งไทย  |  113

“นอกจากเป็นสิ่งแสดงถงึ
ภมู ปิ ัญญาจากวิถีชีวิตของ
แต่ละชุมชนท้องถนิ่ แลว้
งานช่างจกั สานไทยยงั แฝง
คณุ ค่าในการแสดงออก
ทางอารมณแ์ ละจิตใจ
ของชา่ งพ้ืนบ้าน
ผ่านความละเอียด ประณตี
”สอ่ื ถงึ อารมณอ์ นั ละเอยี ดออ่ น
ของผูส้ านได้เป็นอยา่ งดี

วัตถุประสงค์หลักในการท�ำเครื่องจักสานคือประโยชน์ใช้สอย ดังน้ันรูปทรงจึงถูกก�ำหนดจาก
การน�ำไปใชง้ าน เชน่ คตุ ขี ้าวของภาคเหนอื เป็นภาชนะจักสานขนาดใหญ่ เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางประมาณ
๒-๓ เมตร สูง ๑ เมตร ใชส้ ำ� หรบั ฟาดข้าวใหห้ ลุดจากรวง จึงตอ้ งสานให้ปากกวา้ ง กน้ นูนข้ึนเลก็ นอ้ ย
ส่วนตะแกรงช้อนปลา ถ้าใช้ช้อนปลาขนาดเล็ก ตาตะแกรงจะถ่ี แต่หากช้อนปลาตัวใหญ่ ตะแกรง
จะมีขนาดใหญ่ ตาห่าง และยกขอบสงู

วัฒนธรรมความเป็นอยู่ของคนในแต่ละภาคก็มีผลต่อการประดิษฐ์เคร่ืองจักสานที่แตกต่างกัน
เชน่ คนภาคอีสานและคนภาคเหนอื นิยมบริโภคข้าวเหนียว จึงประดษิ ฐก์ ระต๊ิบและก่องขา้ วไวส้ �ำหรับ
ใส่ขา้ วเหนียวนง่ึ โดยเฉพาะ แตก่ ระติบ๊ และกอ่ งข้าวของคนท้ังสองภาคล้วนแตกตา่ งกันในรายละเอยี ด
กระต๊ิบข้าวของอีสานนิยมสานจากไม้ไผ่สีธรรมชาติไม่มีลวดลาย ขณะที่ก่องข้าวของทางภาคเหนือ
นิยมท�ำจากใบลานหรือไม้ไผ่ มีลวดลายและสีสันสวยงาม ส่วนคนภาคกลางที่มีวิถีชีวิตผูกพันกับน้�ำ
จึงมีเครอื่ งจักสานท่เี อือ้ ต่อการใชง้ านทางน้�ำหลายประเภท เชน่ กระชงั สำ� หรับเล้ียงปลาในแม่น้�ำ ลอบ
และไซส�ำหรับจับสตั ว์น้ำ� รมิ ฝง่ั ในขณะท่คี นภาคใต้มเี ครือ่ งจักสานทม่ี ีลักษณะแตกต่างจากภาคอืน่ เพอ่ื
ความสะดวกในการใช้งาน เชน่ กระดง้ ฝัด ท่ีมีรูปกลมรคี ล้ายรูปหัวใจ สว่ นปา้ นจะกลมมน สว่ นแหลม
รเี ล็กนอ้ ยเพ่ือความสะดวกในการรอ่ น มไิ ดเ้ ปน็ ทรงกลมเหมือนกระดง้ ฝดั ในภาคกลาง

114  |  วัฒนธรรม วถิ ีชวี ิตและภมู ปิ ญั ญา

“ชนดิ ของไม้ไผท่ นี่ ยิ มนำ� มาทำ�
เครอื่ งจกั สานในทกุ ภาค
ของประเทศ ไดแ้ ก่ ไผส่ สี กุ
ซง่ึ มลี ำ� ตน้ ใหญ่ ปลอ้ งยาว
นอกจากนย้ี งั มไี มไ้ ผซ่ าง ไมไ้ ผบ่ ง
หรอื ไผต่ ง ซง่ึ มมี ากในภาคเหนอื
ไม้ไผห่ ก ไผเ่ ฮยี ะ
”ไผร่ วก ไผเ่ ลยี้ ง ไผไ่ ร่
ไผร่ วกดำ� และไผป่ าว

ภมู ปิ ญั ญาทถ่ี า่ ยทอดผา่ นเครอื่ งจกั สานแสดงใหเ้ หน็ ความสามารถของชา่ ง ซง่ึ สว่ นใหญ่ • “ข้อง” รปู ทรงคล้ายโอ่งน้�ำ บางท้องถ่ินสานเป็นรปู ทรงกระบอก
คือเหล่าเกษตรกรท่ีใช้เวลาว่างหลังท�ำไร่ท�ำนาในการประดิษฐ์ส่ิงของและพัฒนารูปทรง ใช้ส�ำหรบั ใสป่ ลา ปู กุง้ หอย กบ เขียด
ให้ใช้ประโยชน์ได้ดีท่ีสุด ส่วนลวดลายท่ีสานขึ้น แม้เบื้องต้นความถ่ีห่างและลักษณะ
การสานจะค�ำนึงถึงการใช้สอยเป็นหลัก แต่กลับสร้างเอกลักษณ์จนเกิดเป็นความงดงาม
ไมซ่ ำ�้ ใครซงึ่ ลกั ษณะเฉพาะถน่ิ ของเครอ่ื งจกั สานตา่ งๆ ยงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ สภาพภมู ศิ าสตรข์ อง
แต่ละทอ้ งถ่นิ สภาพการด�ำรงชวี ิต ขนบประเพณี ความเช่ือตลอดจนถึงการนบั ถอื ศาสนา
ของกลมุ่ ชนทผ่ี ลติ เครอ่ื งจกั สานนน้ั ๆ ดว้ ยเครอื่ งจกั สานจงึ เปน็ ศลิ ปหตั ถกรรมทมี่ คี ณุ คา่ ใน
ฐานะหลักฐานทางประวัตศิ าสตรข์ องชมุ ชนท้องถ่นิ ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี 

ศาสตรแ์ ละศิลป์ งานช่างไทย  |  115

งานดอกไม้สด

วิจติ รศลิ ปแ์ ห่งดอกไม้

ดอกไม้ ใบไม้ และกลบี ดอกไมท้ ี่นำ� มาร้อยเปน็ งานดอกไมส้ ด ถอื เปน็ งานชา่ งด้งั เดมิ แขนงหนึ่ง
ของไทยทนี่ ำ� เสนห่ ท์ ง้ั กลน่ิ หอมและดอกอนั บอบบางของดอกไมไ้ ทยมาเพม่ิ ความวจิ ติ รดว้ ยการประดษิ ฐ์
เป็นรูปทรงต่างๆ เพอ่ื ใชใ้ นงานพระราชพิธีและงานตามประเพณี นอกจากเป็นงานชา่ งอันทรงคุณค่า
ที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ยังแสดงถึงความละเอียดอ่อนในวิถีชีวิตของคนไทยและความเป็นเลิศ
ในงานศลิ ป์

งานชา่ งดอกไมส้ ดเปน็ หนง่ึ ใน ๓ แขนงของงานชา่ งเครอื่ งสด ซงึ่ ประกอบดว้ ยงานแกะสลกั ของออ่ น
งานช่างแทงหยวก และงานช่างดอกไม้สด ซึ่งงานช่างท้ัง ๓ แขนงน้ีล้วนมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น
เฉพาะตัว มชี า่ งฝีมอื ท่ีตอ้ งอาศัยทกั ษะและความช�ำนาญเฉพาะ

จดุ ศนู ยก์ ลางขององคค์ วามรใู้ นงานชา่ งดอกไมส้ ดมาจากภมู ปิ ญั ญาของกลุ สตรชี า่ งดอกไมใ้ นราช
สำ� นกั ฝา่ ยในของพระบรมมหาราชวงั ทสี่ รา้ งสรรคข์ น้ึ เพอ่ื ถวายพระมหากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศานวุ งศ์
เพอื่ ใชป้ ระกอบเครอ่ื งพทุ ธบชู าในงานพระราชพธิ แี ละงานประเพณสี ำ� คญั ตา่ งๆ เชน่ ในสมยั รชั กาลที่ ๑
เจา้ จอมมารดาตานี ซงึ่ เปน็ เจา้ จอมมารดาในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาล
ท่ี ๑ เปน็ ผมู้ ฝี มี อื ทางรอ้ ยดอกไมแ้ ละเยบ็ ใบตอง สว่ นในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
รัชกาลท่ี ๔ กรมสมเดจ็ พระสุดารตั นราชประยรู ทรงประดิษฐเ์ ครอื่ งแขวนอันวิจติ รงดงาม เชน่ ระยา้
แปลงพวงแกว้ วมิ านพระอินทร์ และวิมานแทน่ และในสมัยรชั กาลที่ ๕ สมเด็จพระศรพี ชั รนิ ทราบรม มาลัย...เปน็ ศาสตรข์ องงาน
ราชนิ นี าถ ทรงออกแบบและจดั ดอกไมป้ ระดบั โตะ๊ เสวยเปน็ รปู พญานาคในคราวพระราชทานเลยี้ งแขก ดอกไม้ประดิษฐ์แบบไทย
ลักษณะหน่งึ โดยนำ� ดอกไม้
“ต่างประเทศ นับเปน็ ความคดิ สร้างสรรค์ที่ไมเ่ คยมีมาก่อน กลบี ดอกไม้ ใบไม้ และสว่ นตา่ ง ๆ
งานดอกไม้สดยังเป็นองค์ประกอบส�ำคัญในงานพิธี ตลอดจนขนบธรรมเนียมในสังคม เช่น ของดอกไม้มาร้อยเป็นพวง
การถวายเครอ่ื งจำ� นำ� พรรษาในเทศกาลเขา้ พรรษา การตกแตง่ เทยี นจำ� นำ� พรรษา การถวายพมุ่ เขา้ พรรษา ”มีทงั้ การรอ้ ยแบบด้ังเดมิ จนถงึ
การถวายเครอ่ื งบชู าเทศนม์ หาชาตใิ นงานประเพณเี ทศนม์ หาชาติ การถวายพมุ่ ดอกไม้ เครอ่ื งราชสกั การะ
อดีตสมเด็จพระบูรพมหากษตั ราธิราชเจ้า การถวายพวงมาลาดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ แบบสมยั ใหม่

หลักการทำ� เครื่องดอกไมส้ ดมวี ิธตี ่างๆ เช่น การรอ้ ยดอกไม้ การเย็บแบบ ทำ� ตุ้ม ทำ� พู่ ระย้า
มาลยั และเครอื่ งแขวน พมุ่ ดอกไมค้ อื การจดั ดอกไมส้ ดลงในภาชนะ เชน่ พาน โดยใชด้ นิ เหนยี ว มนั เทศ
หรือไม้ระก�ำ มาปั้นหรือเหลาเป็นท่อนกลมเพ่ือเป็นฐานกลัดเสียบดอกไม้สด ด้านบนทำ� เป็นพุ่มยอด
แหลม สว่ นใหญน่ ยิ มทำ� พมุ่ เปน็ ทรงดอกบวั ทรงบาตรควำ�่ และพมุ่ ดอกไมส้ ดประดบั ดว้ ยดอกไมจ้ รงิ และ
เยบ็ แบบจากกลบี ดอกไม้ อาจมใี บไมแ้ ซม รวมทง้ั มาลยั เถาเรยี งกนั เปน็ รปู พมุ่ ดอกไมพ้ มุ่ ทจ่ี ดั ในพานมกั
ประดับยอดตมุ้ ด้วย สว่ นพมุ่ อกี ชนิดหนึง่ เรียกว่าพ่มุ กัณฑ์เทศน์ เดิมทำ� ดว้ ยดอกไมส้ ดเปน็ พ่มุ บนพาน
ตะลมุ่ หรอื โตก มีเทียนข้ผี งึ้ ติดเงินเหรียญโดยรอบปกั อยตู่ รงกลาง ใช้เปน็ เครอ่ื งบชู ากัณฑเ์ ทศน์

116  |  วฒั นธรรม วิถชี ีวติ และภูมิปัญญา



“งานช่างดอกไมส้ ดแสดงถงึ การประดิษฐ์
ดอกไมอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ เชน่ การเย็บแบบ
การร้อยดอกไม้ การกรองดอกไม้ ฯลฯ
ก่อเกดิ เป็นผลงานหลากหลาย ทงั้ อบุ ะ
”เฟ่ือง ตาขา่ ย มาลัย เพ่ือน�ำไปใช้ในงานพิธี
และตกแตง่ สถานทเี่ พือ่ ความงดงาม

• พานพ่มุ มาลัย และเครื่องแขวนดอกไมส้ ด เป็นหตั ถศิลปอ์ นั วจิ ิตรของไทย ทัง้ รปู แบบ วิธีการท�ำ มาลยั คอื การนำ� ดอกไม้ กลบี ดอกไม้ ใบไม้ เชน่ ดอกมะลิ
การเลอื กใชส้ สี ันและวสั ดุที่หาได้งา่ ยในทอ้ งถิ่น ดอกพุด กลีบกุหลาบ มาร้อยดว้ ยเข็มแลว้ รูดออกมาใสด่ ้ายผูก
เปน็ พวง มลี กั ษณะตา่ งๆ กนั เชน่ มาลยั ชายเดยี ว เปน็ มาลยั ทม่ี ี
118  |  วัฒนธรรม วถิ ชี วี ติ และภมู ิปัญญา อบุ ะหอ้ ยชาย (อบุ ะ คอื ดอกไมท้ รี่ อ้ ยเปน็ สายแลว้ เขา้ พวงอยา่ ง
พสู่ ำ� หรบั หอ้ ยกบั มาลยั หอ้ ยระหวา่ งเฟอ่ื ง ซง่ึ เปน็ เครอื่ งประดบั ที่
ท�ำเปน็ สายหอ้ ยโยงเป็นช่วงๆ มีอุบะหอ้ ยระหว่างเฟื่อง) มาลัย
สองชาย เป็นมาลัยที่มอี ุบะหอ้ ยสองชาย มาลัยมือส�ำหรบั สวม
ขอ้ มอื บางคร้งั เรียงมาลัยมอื หรอื มาลยั เปีย

เครอ่ื งแขวน คอื เครอ่ื งดอกไมส้ ดทใี่ ชแ้ ขวนประดบั ประตู
หน้าต่างหรือกลางงานพิธีต่างๆ มีหลายแบบเช่น พู่กลิ่นพวง
ดอกไม้ ประกอบดว้ ยอุบะ ระย้า เคร่ืองทำ� เป็นพวงเป็นพดู่ ว้ ย
ดอกไมส้ ด นอกจากนีย้ ังทำ� เป็นโคมจีน โคมหวด และพวงแกว้
วิธีการท�ำประกอบด้วยการร้อยตาข่าย เย็บแบบ สวน พู่
และดอกไมส้ ดแบบตา่ งๆ สว่ นเครอื่ งดอกไมส้ ดทใี่ ชส้ ำ� หรบั งานอน่ื ๆ
เช่น การจัดเป็นพวงมาลาดอกไม้คลุมไตร กรอบรูปผ้าทิพย์
และดอกไมต้ กแตง่ หบี ศพ ตลอดจนการปกั ดอกไมป้ ระดบั แจกนั

คุณค่าของงานดอกไม้สดมิได้เป็นเพียงการน�ำดอกไม้
กลบี ดอกไม้ หรอื ใบไมม้ ารอ้ ยเรยี งกนั เปน็ รปู ทรงตา่ งๆ ทงี่ ดงาม
เทา่ นน้ั แตอ่ ยทู่ ค่ี ณุ คา่ ทางจติ ใจและการนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ
อีกท้ังผู้ประดิษฐ์งานดอกไม้สดยังต้องอาศัยความประณีตและ
ทกั ษะที่สั่งสมมานาน จึงจะได้ผลงานอันสมบูรณ ์

งานช่างดอกไม้สด

ประกอบดว้ ย ๓ วิธกี ารส�ำคญั ได้แก่

การร้อยมาลัยเป็นลวดลายต่างๆ โดยใช้กลีบดอกไม้
เช่น กลีบกุหลาบมอญ กลีบบัวหลวง ใช้ใบไม้ เช่น ใบแก้ว
ใบกระบือ ใช้ดอกไม้ท้ังดอก เช่น ดอกมะลิ ดอกพุด ดอกรัก
และน�ำมาร้อยเปน็ มาลยั ข้อพระกร มาลยั สองชาย

การกรอง การคัดกลีบดอกไม้ให้มีขนาด
เทา่ กนั แลว้ นำ� มารอ้ ยตอ่ กนั เชน่ การกรองดอกขจร
กรองดอกพกิ ลุ กรองดอกล�ำดวน หรือการเฉือน
ดอกไม้เป็นแว่นบาง ๆ เช่น ดอกบานไม่รู้โรย
แลว้ นำ� มารอ้ ยดว้ ยเขม็ ทลี ะแว่นซอ้ นกนั ลักษณะอันบอบบางของ
ดอกไม้ไทย ประกอบกับสภาพภูมิ
อากาศแบบเมอื งรอ้ นทำ� ใหค้ วามสด
ข อ ง ด อ ก ไ ม ้ ไ ท ย มี อ า ยุ สั้ น ก ว ่ า
ในภูมิภาคอ่ืน การน�ำดอกไม้มา
ประดิษฐ์เป็นผลงานต่าง ๆ ในงาน
เคร่ืองดอกไม้สด ถือเปน็ ภูมิปญั ญา
ทีเ่ ปี่ยมดว้ ยงานศลิ ป์ ในการยดื เวลา
และเกบ็ ความงดงามของดอกไมไ้ ทย
ไวใ้ ห้ยาวนาน

การถัก การถกั ตาขา่ ยดว้ ยดอกไม้สด เช่น
ดอกพดุ ดอกมะลิ โดยทำ� ลวดลายเลยี นแบบลายผา้
สลบั ดอกสลบั กา้ นใหเ้ กดิ เปน็ ลวดลายทสี่ วยงาม เชน่
ลายเกล็ดเตา่ ลาย ๔ ก้าน ๔ ดอก ลาย ๓ ก้าน
๓ ดอก ลายอกแมงมุม ลายดาวล้อมเดือน
ลายพระอาทติ ยช์ ิงดวง ลายแกว้ ชิงดวง และลาย
พมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์ ซง่ึ วธิ กี ารถกั นมี้ กั ใชท้ ำ� ตาขา่ ยตกแตง่
เคร่อื งแขวนแบบต่าง ๆ หรอื พานพ่มุ

ศาสตรแ์ ละศิลป์ งานช่างไทย | 119



โคมลา้ นนา

วจิ ิตรศลิ ป์แห่งเครอ่ื งบูชา

“ในสมัยโบราณการใช้โคมไฟมจี ุดประสงค์ โคมล้านนาเป็นงานหัตถกรรมของชาวล้านนาที่มีมาแต่โบราณ
เพอื่ ใหค้ วามสวา่ งแทนตะเกยี ง แตเ่ นอื่ งจากนำ้� มนั ความงดงามของโคมอยทู่ ล่ี ายฉลตุ กแตง่ ซง่ึ ลว้ นมคี วามหมายมงคล จดุ ประสงค์
มีราคาแพง การจุดโคมไฟจึงมกั มเี ฉพาะ คอื เพอื่ ใชเ้ ปน็ พทุ ธบชู าหรอื เครอื่ งบชู าบคุ คลทคี่ วรบชู า โคมลา้ นนายงั เปน็ สงิ่ ทสี่ ะทอ้ น
ในพระราชสำ� นกั และบา้ นเรอื นของเจา้ นายเทา่ นน้ั สภาพสงั คมทม่ี คี วามเชอ่ื ดา้ นพทุ ธศาสนาและนบั ถอื ผรี ว่ มกนั ของชาวไทยลา้ นนา
ชาวลา้ นนานิยมจุดโคมบชู าชว่ งหัวคำ่� หลังจาก ท�ำใหก้ ารสร้างสรรคง์ านของช่างทำ� โคมเต็มไปด้วยความวจิ ิตรบรรจงและความ
ไดส้ ดับพระธรรมเทศนาเป็นทเ่ี รยี บรอ้ ยแลว้ ต้ังใจทจ่ี ะทำ� งานอย่างเตม็ ฝมี ือความสามารถ
โดยอธิษฐานบูชาพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์
ในภทั รกปั นี้ ไดแ้ ก่ พระกกุสนั ธพุทธเจ้า จากหลักฐานภาพโคมบนผืนผ้าพระบฏสมัยพระเจ้าติโลกราช
พระโกนาคมนพุทธเจ้า พระกัสสปพทุ ธเจา้ พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายเมื่อ ๕๐๐ ปีก่อน ซึ่งค้นพบโดย
พระศากยมนุ ีโคตมพุทธเจา้ อาจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี แหง่ กรมศลิ ปากร เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๐๑ ทว่ี ดั ดอกเงนิ จงั หวดั
”และพระอริยเมตตรยั พทุ ธเจา้ เชียงใหม่ ท�ำให้สันนิษฐานได้ว่า การท�ำโคมเป็นงานช่างฝีมือดั้งเดิมของไทย
มาแต่โบราณ ทั้งยังมีลักษณะเฉพาะของตนเอง รูปทรงของโคมล้านนาท�ำขึ้น
จากโครงไม้ไผ่เฮียะ ซึ่งเป็นไม้ไผ่ปล้องยาวและขึ้นเฉพาะในภาคเหนือเท่าน้ัน
นำ� มาหกั เปน็ วงโคง้ แลว้ หมุ้ ทบั ดว้ ยกระดาษสาหรอื ผา้ ฝา้ ยทอมอื ประดบั ลวดลาย
กระดาษตดั ฉลทุ ม่ี คี วามหมายเปน็ มงคล เชน่ ลายดอกกา๋ กอก (ลายประจำ� ยาม)
และลายดวงตะวัน

โคมลา้ นนามกั ใชใ้ นประเพณยี เี่ พง็ บางครง้ั จงึ เรยี กวา่ โคมยเ่ี พง็ (หรอื ยเี่ ปง็ )
จัดขึ้นในคืนวันข้ึน ๑๕ ค่�ำเดือน ๑๒ การประดิษฐ์โคมจะเริ่มท�ำกันในช่วง
กอ่ นวนั งานเพื่อเตรียมโคมไว้ใช้ในการจุดผางประทีสบูชาท่ีวัด ผางประทีสหรือ
ผางประทปี คอื ภาชนะดนิ เผาคลา้ ยถว้ ยเลก็ ๆ ดา้ นในใสข่ ผี้ งึ้ หรอื นำ�้ มนั ใชว้ างไว้
ในโคม) โดยจะแขวนใส่ค้างโคม (คา้ งโคมคอื เสาไม้ไผ่ขนาดใหญ่ สว่ นปลายเสา
มคี า้ งไมแ้ ละรอกสำ� หรับชักโคมขน้ึ แขวน) บชู าตามพระธาตุเจดีย์ แขวนไวห้ น้า
วิหาร กลางวหิ าร

ลักษณะของโคมล้านนามีหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับการสร้างสรรค์
ตามภมู ปิ ญั ญาของแตล่ ะทอ้ งถนิ่ รปู แบบโคมโบราณทยี่ งั สบื ทอดมาจนปจั จบุ นั
ได้แก่ โคมรังมดส้ม โคมดาว โคมไห โคมเง้ียว โคมกระบอก โคมหูกระต่าย
โคมดอกบัว โคมญ่ปี ่นุ โคมผดั ฯลฯ มีลกั ษณะดงั น้ี

ศาสตร์และศิลป์ งานชา่ งไทย  |  121

โคมรังมดสม้ หรือโคมเสมาธรรมจักร

มีรูปทรงเหมือนรังมดส้ม (มดแดง) และมีแปดเหลี่ยมคล้ายธรรมจักร ด้านบนมีหูโคมเป็นรูป
สามเหลี่ยม เมื่อติดกระดาษรอบโครงแล้วจะปล่อยส่วนบนไว้เป็นช่องใส่ผางประทีสและให้อากาศเข้า
มาในโคมได้ ดา้ นลา่ งประดับหางโคม และโคมรังมดส้มจะใช้สำ� หรับเปน็ พทุ ธบชู าเท่าน้นั

โคมไห

ตวั โคมมลี กั ษณะคลา้ ยไห เนอ่ื งจากดา้ นบนปากโคมทหี่ กั เปน็ มมุ หกเหลย่ี มมขี นาดกวา้ งกวา่ สว่ นลา่ ง
หรอื ก้นโคมที่หกั เปน็ มุมส่ีเหล่ยี ม มหี ูโคมสามเหล่ียมตดิ ด้านบนครบ ๔ ดา้ น หางโคมตกแต่งด้วยการ
ตัดกระดาษเป็นลวดลาย ท�ำป่องหรือปากไว้จุดผางประทีส โคมชนิดน้ีใช้จุดบูชาได้ท่ัวไป
บา้ งเรยี กวา่ โคมเพชร นยิ มใหเ้ ปน็ ของขวญั ในโอกาสขนึ้ บา้ นใหมแ่ ละงานแตง่ งาน เนอ่ื งจากมคี วามหมาย
เป็นมงคล

122  |  วฒั นธรรม วิถชี วี ติ และภูมปิ ัญญา



โคมกระบอก “หมบู่ ้านทีย่ งั เปน็ แหลง่ ผลติ โคม
และจ�ำหน่ายโคม ได้แก่ บา้ นเมือง
รปู ทรงตรงยาวคลา้ ยกระบอก ลวดลายประดบั สว่ นใหญน่ ยิ มใชล้ ายสรอ้ ยดอกหมาก ”สาตร ตำ� บลหนองหอย อ�ำเภอเมือง
สว่ นทา้ ยหรอื กน้ กระบอกปดิ ดว้ ยกระดาษแขง็ สำ� หรบั วางผางประทสี เพอื่ จดุ เปน็ พทุ ธบชู า จงั หวดั เชยี งใหม่
โคมกระบอกมีทั้งทรงกลมและทรงสี่เหล่ียม ส�ำหรับทรงเหล่ียมบางคร้ังเรียกว่า โคมล้อ
เนอ่ื งจากคลา้ ยโคมทใ่ี ชแ้ ขวนตดิ กบั ขบวนเกวยี นทพ่ี อ่ คา้ ววั ตา่ งใชเ้ ดนิ ทางในยามคำ�่ คนื

โคมเงย้ี ว

เปน็ โคมทม่ี รี ปู ทรงมาจากชาวไทใหญ่ ทำ� คอ่ นขา้ งยากกวา่ โคมชนดิ อนื่ ๆ เนอ่ื งจาก
โครงโคมมลี กั ษณะหกั มมุ ละเอยี ดซบั ซอ้ น เปน็ เหลยี่ มคลา้ ยเพชรทเี่ จยี ระไน ถอื เปน็ โคมท่ี
มีความงดงามมาก

โคมดาว

เป็นโคมรูปดาวห้าแฉก หักมุมเป็นห้ามุม ส่วนใหญ่ตกแต่งด้วยลายดวงตะวัน
(พระอาทิตย์) เจาะช่องตรงกลางเปน็ ปล่องสำ� หรบั ใส่ผางประทีส เพ่อื จดุ เป็นพทุ ธบชู า

ความงดงามของโคมล้านนาประกอบขึ้นจากความประณีตในการฉลุลวดลาย
การดดั โครงใหไ้ ดเ้ หลย่ี มมมุ อนั วจิ ติ ร รวมถงึ คณุ คา่ ทแี่ ฝงอยใู่ นความศรทั ธาและความตง้ั ใจให้
โคมเปน็ พทุ ธบชู า นบั ไดว้ า่ โคมแต่ละชนดิ ลว้ นแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ภูมิปัญญาของช่างพืน้ เมือง
ลา้ นนา ทส่ี ร้างสรรค์ส่ิงประดษิ ฐอ์ นั งดงามควรคกู่ บั การเปน็ เครอ่ื งบชู าอนั สงู สง่  

124  |  วัฒนธรรม วถิ ชี ีวิตและภมู ปิ ัญญา





งานชา่ งแทงหยวก

หตั ถศลิ ป์บนหยวกกล้วย

“งานชา่ งแทงหยวกเป็นความรทู้ ี่ หยวกกล้วยท่อนอวบท่ีตดั มาสดๆ จากล�ำตน้ ลอกออกเปน็ กาบกล้วยแผ่นบาง แล้วใชม้ ีดสอง
ถ่ายทอดจากรนุ่ สรู่ ่นุ เป็นความ คมแทงลงเป็นลวดลายไทยโดยไม่ต้องมีการร่างเส้น เพื่อไม่ให้เกิดรอยช้�ำ ต้องเป็นช่างผู้มีฝีมืออัน
งดงามจากการน�ำวสั ดุหางา่ ย ช�ำนาญเท่านั้นจึงจะรังสรรค์ผลงานแทงหยวกอันวิจิตรได้อย่างเรียบร้อย และสามารถน�ำไปใช้ตกแต่ง
ในพิธีมงคลและพิธีอวมงคลได้

การแทงหยวกเปน็ งานชา่ งแขนงหนง่ึ ของหมชู่ า่ งแกะในหมงู่ านชา่ งเครอ่ื งสดรว่ มกนั กบั งานแกะสลกั
ของออ่ น และงานประดษิ ฐด์ อกไมส้ ด การแทงหยวกเปน็ งานชา่ งวจิ ติ รศลิ ปท์ ใี่ ชม้ ดี สองคมยาวประมาณ
ในธรรมชาติมาสรา้ งสรรค์เป็น ๒-๕ นวิ้ แทงลงไปบนกาบกลว้ ยใหเ้ กดิ ลวดลายไทยในลกั ษณะตา่ งๆ ซง่ึ ชา่ งผทู้ จี่ ะแทงหยวกไดด้ นี น้ั ตอ้ งมี
ผลงานอนั วิจิตร อกี ทัง้ ยังสะทอ้ น ความชำ� นาญทง้ั เรอ่ื งลายไทยและการผกู ลวดลาย เนอื่ งจากเมอ่ื คมมดี แทงลงในเนอื้ ของกาบกลว้ ยอยา่ ง
ใหเ้ ห็นวฒั นธรรมท่ีเกีย่ วข้องกบั แมน่ ยำ� และลากเสน้ ไปอยา่ งสมำ่� เสมอแลว้ จะตอ้ งไมม่ คี ำ� วา่ ผดิ พลาด เพราะนนั่ เทา่ กบั วา่ กาบกลว้ ยแผน่ นน้ั
ความตายและพุทธศาสนาที่ จะน�ำไปใช้งานต่อไม่ได้อีก นอกจากน้ียังเป็นงานที่ต้องท�ำแข่งกับเวลา กล่าวคือ ต้องเตรียมการและ
ปฏบิ ตั ิงานแทงหยวกก่อนใชง้ านด้วยระยะเวลาไมเ่ กิน ๑๐-๑๒ ชวั่ โมงเทา่ น้นั เพือ่ ใหง้ านแทงหยวกแลดู
”สืบทอดกนั มาแตโ่ บราณ สดใหมแ่ ละงดงามตลอดชว่ งเวลาการจดั งาน

ความสำ� คญั ของงานแทงหยวกคอื การนำ� ไปใชเ้ ปน็ เครอ่ื งประกอบและตกแตง่ ในพธิ กี รรมตา่ งๆ
ตามความเชื่อของแตล่ ะท้องถ่นิ ใช้ได้ทัง้ ในงานพธิ ีมงคล เช่น ประกอบเบญจาในงานโกนจุก ใชต้ กแตง่
ธรรมาสน์เทศนใ์ นงานเทศนม์ หาชาติ ตกแต่งประดบั ตั้งองค์กฐนิ ตกแต่งเสลีย่ งบวชนาค และใช้ในงาน
อวมงคลเพือ่ ตกแต่งเชิงตะกอนเผาศพ

ศาสตรแ์ ละศิลป์ งานช่างไทย  |  127



ต้นกล้วยตานีเป็นต้นกล้วยท่ีช่างแทงหยวกนิยมน�ำมาใช้ในงาน เพราะเน้ือหยวก • ลายฟนั สามเปน็ ลายทด่ี ดั แปลงมาจากลายฟันปลา
ไมแ่ ตกงา่ ย ดา้ นในมสี ขี าวสะอาด ยางนอ้ ย และไมเ่ ปลยี่ นสเี รว็ นกั แตป่ จั จบุ นั ตน้ กลว้ ยตานี
มีจ�ำนวนน้อยลงและมีขนาดไม่เหมาะสมส�ำหรับใช้งาน จึงนิยมใช้ต้นกล้วยน�้ำว้าแทน
แต่ต้องเลือกเฉพาะต้นกล้วยน้�ำว้าสาวหรือต้นกล้วยที่ยังไม่มีเครือ ไม่เคยออกหวีกล้วย
เพราะตน้ กล้วยจะออ่ นและแทงลวดลายไดง้ ่าย

ขั้นตอนการแทงหยวกในแต่ละครั้งจะเริ่มจากการไหว้ครูเพ่ือร�ำลึกถึงครูอาจารย์ท่ี
ประสทิ ธ์ปิ ระสาทวชิ า จากนั้นจงึ เตรียมหยวกกลว้ ยใหไ้ ด้ขนาดพอดีกบั สถานที่ที่จะน�ำไป
ตกแต่ง แลว้ แทงหยวกเปน็ ลวดลายไทยตา่ งๆ ตามความคดิ สร้างสรรคข์ องช่าง สดุ ทา้ ย
จงึ น�ำมาประกอบเปน็ ลายชดุ

ส่วนประกอบของลายชุด ได้แก่ ลายพื้นฐานอย่างการแทงลายฟันปลา
หรอื ลายฟนั หนง่ึ แทงลายขนึ้ ลงสลบั กนั ไปตลอดชน้ิ หยวก อาจเพมิ่ รอยหยกั ของฟนั เปน็ ลาย
ฟนั สาม หรือลายฟันห้าตามความชำ� นาญ เม่อื แยกหยวกกล้วยออกทง้ั สองดา้ นจะน�ำไป
เปน็ ส่วนประกอบกับลายหน้ากระดานและลายเสา ซง่ึ เปน็ ส่วนหลักของลาย

ลายหน้ากระดานคือส่วนประกอบหลักของแผงประดับส่วนบน ส่วนกลาง
และส่วนฐาน มักแทงเป็นลายรักร้อย ลายก้ามปู ลายเครือเถา ลายดอก ส่วนการแทง
ลายเสา มคี วามซบั ซอ้ นของลายไมต่ า่ งกนั สว่ นใหญแ่ ทงเปน็ ลายเครอื เถา เชน่ มะลเิ ลอื้ ย
ลายกนก ลายรูปสัตว์ต่าง ๆ เช่น ปลา นก ผีเส้ือ มังกร สัตว์หิมพานต์ ลายดอกไม้
ลายตลก ลายอักษร ลายสัตว์ ๑๒ ราศี

ศาสตร์และศลิ ป์ งานชา่ งไทย  |  129

• ลวดลายที่นยิ มใช้ในงานแทงหยวก เช่น ลายฟนั ปลา “เอกลักษณพ์ ิเศษของ
ลายฟนั สาม ลายฟนั ห้า ลายฟนั บัว ลายแขง้ สงิ ห์ งานชา่ งแทงหยวกคือไม่มี
เปน็ ต้น การร่างลวดลายลงบน
หยวกกลว้ ยกอ่ น
ช่างแทงหยวกจึงต้องมีทักษะ
ความชำ� นาญในการสร้าง
ลวดลาย และมีจงั หวะท่ดี ี
”จงึ จะแทงหยวกได้ลวดลาย
สวยงาม มคี วามสมำ่� เสมอกนั

การแทงหยวกทั้งสองประเภท จัดว่าเป็นการแทงลายท่ียากท่ีสุด ช่างต้องผูกลายไทยร้อยเรียง
กนั บนหยวกกล้วยทง้ั แผน่ และต้องใช้ความระมดั ระวงั เป็นพิเศษ มเิ ช่นน้ันลายอาจขาดได้งา่ ย ในขณะ
เดยี วกนั กเ็ ปน็ ลายทชี่ า่ งมกั จะแสดงฝมี อื กนั อยา่ งเตม็ ท่ี ลกั ษณะของลายขนึ้ อยกู่ บั ความเชอ่ื และประเพณี
ท่ีสืบทอดกันมาในท้องถิ่น บางครั้งมีการฉลุลายเป็นช่องเพ่ือน�ำกระดาษสีมารองด้านในให้เกิดสีสัน
หรอื มกี ารแรลาย โดยใชป้ ลายมดี กรดี ลงบนผวิ ของหยวกเพยี งเบาๆ พอใหเ้ ปน็ รอย แลว้ ใชส้ ที าใหซ้ มึ เขา้ รอย
ที่แรลายไว้ ใชผ้ ้าชบุ น�้ำเช็ดเบาๆ จะเหน็ ลายสีท่ีซมึ อยูใ่ นลายอยา่ งชัดเจน

คุณค่าของงานช่างแทงหยวกจัดเป็นหน่ึงในหลักฐานทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมาแต่โบราณ
โดยเฉพาะพธิ กี รรมตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การตายของคนทนี่ บั ถอื พทุ ธศาสนา เชน่ การเผาศพ เดมิ มกั ทำ� บนเมรุ
ชว่ั คราวในบรเิ วณกลางแจง้ ตวั เมรทุ ำ� ดว้ ยไม้ หรอื ไมไ้ ผ่ สว่ นเชงิ ตะกอนสำ� หรบั ใชเ้ ผาศพจะรองดว้ ยตน้ กลว้ ย
กอ่ นทจี่ ะวางเรยี งทอ่ นฟนื และหบี ศพ เนอ่ื งจากตน้ กลว้ ยและกาบกลว้ ยมนี ำ้� และความชน้ื สามารถเปน็ ฉนวน
กนั ไฟไมใ่ หไ้ หมเ้ ชงิ ตะกอนได้ ววิ ฒั นาการของการใชต้ น้ กลว้ ยจงึ กลายมาเปน็ งานแทงหยวกทเี่ ปลย่ี นแปลง
รปู แบบใหม้ คี วามงดงามควบคไู่ ปกบั การใชป้ ระโยชน์ นบั เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทสี่ อดคลอ้ งกบั การดำ� เนนิ ชวี ติ
และยังแสดงให้เห็นถึงความสามารถของช่างฝีมือไทยที่น�ำวัสดุธรรมชาติที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นมา
สรา้ งสรรค์เปน็ งานศลิ ปอ์ นั วิจิตร 

“งานชา่ งแทงหยวกมีการสืบทอดท้งั ในรูปแบบของงานช่างในราชสำ� นกั และรูปแบบ
ของสกุลช่างชาวบา้ น ตามชมุ ชนหรือจังหวัดต่าง ๆ เชน่ ช่างแทงหยวกสกลุ
”ชา่ งวดั ระฆงั โฆสติ าราม ช่างแทงหยวกสกลุ ชา่ งวดั อปั สรสวรรค์ ชา่ งแทงหยวก
สกลุ ช่างวัดดงมูลเหล็ก และชา่ งแทงหยวกสกุลเพชรบุรี

130  |  วัฒนธรรม วถิ ชี วี ติ และภมู ปิ ญั ญา





อาหาร วถิ ีถน่ิ กินอยา่ งไทย

ความส�ำคัญของอาหารการกินของคนไทยไม่ใช่แค่การกินเพื่ออยู่ แต่เป็น
ศาสตร์และศิลป์ในการสร้างสรรค์อาหารท่ีอร่อยถูกปาก มีความหลากหลายใน
รสชาติ มขี ้นั ตอนและกรรมวธิ กี ารปรุง ในขณะเดยี วกนั ก็มีประโยชน์ มีคุณคา่ ทาง
สารอาหาร และสะทอ้ นถงึ ความเปน็ อยู่ รสนยิ มในการกนิ ของคนในแตล่ ะภมู ภิ าค
ด้วย เชน่ การจัดสำ� รับอาหารและรสชาติของนำ�้ พริกในแต่ละภาค การท�ำสม้ ต�ำ
ต้มย�ำ หรือแม้แต่ข้าวย�ำของภาคใต้ นอกจากนี้ยังมีการท�ำอาหารและขนมท่ี
เก่ียวเนื่องกับงานประเพณี เชน่ กระยาสารท

อาหาร วิถีถิน่ กินอย่างไทย  |  133

สำ� รับอาหารไทย • โตก หรอื ขันโตก

วฒั นธรรมการกนิ อย่แู บบไทย

เอกลักษณ์ของอาหารไทยมิใช่มีเพียงรสชาติ กล่ินหอม รูปลักษณ์ และกรรมวิธี
การปรุงเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงคุณค่าทางโภชนาการที่รวมอยู่ในมื้ออาหาร ผ่านการจัดให้
ครบหมวดหมู่ในส�ำรับอาหารของแต่ละภาค ซึ่งเกิดขึ้นจากการน�ำวิถีชีวิตและภูมิปัญญา
มาผสานกนั จนเกดิ เป็นวฒั นธรรมการกนิ ในแต่ละทอ้ งถ่นิ

สังคมไทยอยู่รวมกันเป็นครอบครัวใหญ่ มื้ออาหารหลักของครอบครัว
จงึ เป็นอาหารมอื้ เยน็ ที่ทกุ คนในบ้านอยูร่ ว่ มรบั ประทานกนั อย่างพรอ้ มหนา้ จงึ มักจดั เปน็
อาหารชดุ ใหญ่ และเน่ืองจากคนไทยบรโิ ภคขา้ วเป็นหลกั ส�ำรับอาหารในแต่ละม้อื จึงเนน้
ทกี่ ารคดิ หากบั ขา้ วใหม้ คี วามหลากหลายและถกู ปากคนในครอบครวั เรยี กวา่ เสพไดท้ งั้ ทาง
ตาและลน้ิ จดั รวมมาเปน็ ชดุ ในภาชนะ การจดั สำ� รบั เชน่ นม้ี ชี อ่ื เรยี กตา่ งกนั ไปในแตล่ ะภาค
ภาคกลางเรียกวา่ “สำ� รับ” ภาคใต้เรียกว่า “หมฺ ฺรบั ” (ออกเสยี ง ม ควบ ร อา่ นวา่ หมรบั )
ภาคเหนือเรียกวา่ “ขันโตก” ภาคอีสานเรยี กว่า “พาข้าว”

• หมฺ รฺ ับ
• พาขา้ ว

134  |  วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมปิ ัญญา





“นอกจากอาหารใน
ชีวิตประจ�ำวนั แล้ว อาหาร
สำ� หรบั ทำ� บญุ เล้ยี งพระสงฆ์
ในยามของคนภาคกลางก็
นยิ มจดั เป็นส�ำรบั เรียกวา่
‘ส�ำรบั พระ’ (ในอดีตจะใส่
อาหารส�ำรบั พระไว้ในตะลุ่ม
เพือ่ ประเคนอาหารเป็นชุด)
ประกอบด้วยสำ� รบั คาวและ
สำ� รบั หวาน สว่ นแกงตอ้ งมี
ท้ังแกงเผด็ และแกงจืด
ส�ำรับหวานมขี นมหวาน
”๕ - ๖ อย่าง รวมกบั ผลไม้

อาหารท่จี ัดมาในหน่งึ ม้ือส�ำหรบั กินคูก่ บั ข้าว มักครบเคร่ืองด้วยรสชาติ กรรมวธิ ีการปรุง และรปู ลกั ษณ์ทชี่ วน
รบั ประทาน ในหนง่ึ สำ� รบั ประกอบดว้ ย เครอื่ งจม้ิ ๑ อยา่ ง เชน่ นำ�้ พรกิ หรอื หลน พรอ้ มผกั ลวกหรอื ผกั สดตามฤดกู าล
เครอื่ งแนม ๑ อยา่ ง เช่น ของปง้ิ ของยา่ ง หรอื ของทอด ย�ำหรอื ผัด ๑ อยา่ ง และแกง ๑ อย่าง

การจัดส�ำรับรูปแบบน้ีช่วยให้รสชาติของม้ืออาหารกลมกล่อมขึ้นและยังครบถ้วนด้วยคุณค่าทางโภชนาการ
เช่น การกินนำ�้ พรกิ กะปิท่ีมีเคร่ืองแนมเป็นปลาทูทอดหรือปลาสลิดทอด คูก่ บั ผกั สดหรอื ผกั ลวก รสชาตเิ ค็ม เปร้ยี ว
หวาน เผด็ ของนำ�้ พรกิ กะปแิ ละเครอ่ื งเทศจะถกู ลดใหอ้ อ่ นลงเมอ่ื กนิ รว่ มกบั ผกั สดและเครอ่ื งแนม หลงั จบอาหารคาว
จะมขี องหวานซึ่งส่วนใหญเ่ ป็นผลไมส้ ด ช่วยลดรสเคม็ และรสเผ็ด (หรอื ทเ่ี รยี กวา่ กินลา้ งปาก) เพอ่ื ใหร้ สของอาหาร
ทีค่ งคา้ งอยทู่ ่ลี ้ินกลบั คนื สูค่ วามสมดลุ

รสชาตอิ าหารของคนแตล่ ะภาคขน้ึ อยกู่ บั สภาพนเิ วศทางธรรมชาตแิ ละรสนยิ มการกนิ ของคนในทอ้ งถนิ่ คนใน
ภาคกลางซง่ึ ถอื เปน็ ศนู ยก์ ลางในการปกครอง ประกอบกบั ภมู ปิ ระเทศราบลมุ่ และมคี วามอดุ มสมบรู ณใ์ นดา้ นวตั ถดุ บิ
ทน่ี ำ� มาประกอบอาหาร จงึ นยิ มอาหารทมี่ รี สชาตหิ ลากหลาย ครบ ๔ รส เปรยี้ ว เคม็ เผด็ และหวาน อาหารภาคเหนอื
ส่วนใหญ่รสไม่เข้มข้นแต่เน้นมัน เผ็ด เน่ืองจากสภาพอากาศหนาวเย็นจึงต้องการอาหารท่ีมีไขมันเพ่ือช่วย
อบอนุ่ รา่ งกายมากกวา่ ภาคอน่ื ในขณะทค่ี นภาคอสี านซงึ่ ดำ� รงชวี ติ อยใู่ นเขตทร่ี าบสงู นยิ มอาหารรสจดั โดยเนน้ เคม็
และเผด็ ซงึ่ รสเคม็ สว่ นใหญไ่ ดจ้ ากปลารา้ และเกลอื วตั ถดุ บิ ทนี่ ำ� มาประกอบอาหารของภาคเหนอื และภาคอสี านมกั
หาไดง้ ่ายในท้องถิน่ และนยิ มน�ำไปป้ิงหรอื ย่างมากกวา่ ทอด ทางภาคใต้ ด้วยสภาพภูมิศาสตรท์ ่ีอย่ตู ิดทะเลทง้ั สอง
ดา้ นจงึ มอี าหารทะเลอดุ มสมบรู ณ์ เนอ่ื งจากมสี ภาพอากาศรอ้ นชน้ื ฝนตกตลอดปี จงึ นยิ มอาหารรสเคม็ และเผด็ รอ้ น
ความเผ็ดร้อนได้จากพริกและพริกไทย ซ่ึงช่วยเผาผลาญความร้อนได้เร็ว ส่วนความเค็มได้จากกะปิและเกลือ
นอกจากนี้อาหารภาคใตย้ งั นยิ มใช้เครอ่ื งเทศเพอ่ื ดับกล่นิ คาวของอาหารทะเล

อาหาร วถิ ถี น่ิ กินอยา่ งไทย  |  137

การตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ชาวตา่ งชาตขิ องคนไทยในอดตี ตลอดจนภมู ปิ ระเทศทใ่ี กลช้ ดิ กนั ยงั มผี ลใหเ้ กดิ การผสมผสาน
ด้านวัฒนธรรมการกิน จนเกิดเป็นอาหารท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละท้องถ่ิน คนในภาคเหนือผลิตและ
บริโภคข้าวเหนียวเป็นหลัก ชุดอาหารที่จัดอยู่ในขันโตกจึงประกอบด้วยข้าวเหนียวที่กินโดยการปั้นเป็นก้อนจิ้ม
กนิ กับน�้ำแกงหรือนำ้� พรกิ เชน่ นำ�้ พรกิ หน่มุ น�ำ้ พรกิ อ่อง นำ�้ พรกิ นำ�้ ปู๋ มผี กั สดหรอื ผกั นง่ึ เปน็ เคร่อื งจม้ิ นอกจากน้ี
ยังมอี าหารประเภทเครือ่ งแกง เช่น แกงขนุนออ่ น แกงแค แกงฮังเลแกงโฮะ แกงหน่อไม้ แกงออ่ ม แกงผกั หวาน
และอาหารประเภททอด ยำ� หรอื นง่ึ เช่น ย�ำหนอ่ ไม้ ย�ำกบ ตำ� จ๊นิ แห้ง ตำ� ขนนุ ต�ำมะม่วง ผกั กาดสม้ ขา้ วกน๊ั จิน๊
หอ่ น่ึงปลา แคบหมู ไสอ้ ว่ั

คนภาคกลางบริโภคข้าวเจ้าเป็นหลัก เพราะเป็นภาคที่มีความอุดมสมบูรณ์มากกว่าภาคอนื่ ๆ ทำ� ใหก้ บั ขา้ ว
ของภาคกลางมกี ารผสมผสานวฒั นธรรมจากหลากหลายเชอื้ ชาติ ไดแ้ ก่ จนี อนิ เดยี กมั พชู า และประเทศทางตะวนั ตก
ท่ีเขา้ มา แต่ปรับรสให้ถกู ปากและเหมาะกับความเป็นอยู่ของคนไทย เชน่ อาหารประเภทแกงกะทิ การผดั อาหาร
โดยใชก้ ระทะและนำ้� มนั สำ� รบั ของภาคกลางจงึ มกี บั ขา้ วหลายอยา่ ง และมรี สชาตทิ หี่ ลากหลาย ซง่ึ เกดิ จากเครอื่ งปรงุ
หลายชนดิ เชน่ รสเปรยี้ วทใ่ี ชป้ รงุ อาหาร ไดจ้ ากทง้ั มะนาว มะขาม มะกรดู ตะลงิ ปลงิ สว่ นรสเคม็ ไดจ้ ากนำ�้ ปลา กะปิ
ความเผ็ดได้จากพริก พริกไทย และเครือ่ งเทศ

คนภาคอสี านบรโิ ภคขา้ วเหนยี ว และมปี ลารา้ ซงึ่ เกดิ จากภมู ปิ ญั ญาดา้ นการถนอมอาหาร ใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบ
หลกั ในอาหารไดท้ กุ ประเภท ชดุ อาหารของคนอสี านจดั ไวใ้ น “พา” ซงึ่ ทำ� ดว้ ยหวายหรอื ไมไ้ ผ่ มลี กั ษณะกลม ขนาดใหญ่
หรอื เลก็ ขน้ึ อยกู่ บั จำ� นวนสมาชกิ ในครอบครวั ภายในพาจะใสอ่ าหารทรี่ บั ประทานกบั ขา้ วเหนยี ว มเี ครอ่ื งจม้ิ เครอ่ื งแนม
ยำ� และแกง คลา้ ยกบั คนไทยในภาคอน่ื ๆ

นอกเหนือจากภูมิประเทศติดชายฝั่งทะเลจะท�ำให้คนภาคใต้มีอาหารทะเลรับประทานได้อย่างอุดมสมบูรณ์
ลกั ษณะอาหารของคนภาคใตย้ งั มสี ว่ นทผี่ สมผสานระหวา่ งวฒั นธรรมการกนิ ของชาวไทยพทุ ธกบั ชาวไทยมสุ ลมิ ดว้ ย
โดยเฉพาะการใชเ้ ครอื่ งเทศเปน็ หนง่ึ ในวตั ถดุ บิ ในการปรงุ อาหาร นอกจากนด้ี ว้ ยมฝี นตกชกุ และมฤี ดฝู นนานกวา่ ภาคอนื่ ๆ
จึงมีผักท่ีใช้เป็นอาหารแตกต่างไปจากภาคอื่นๆ เช่น สะตอ ลูกเนียง มะม่วงหิมพานต์ หน่อเหรียง ใบพาโหม
อ้อดิบ ส�ำรับอาหารของภาคใต้นิยมจัดไว้บนถาดทองเหลืองทรงกลม มีกับข้าวท่ีรับประทานกับข้าวสวย เช่น
เครอ่ื งจิ้ม เคร่อื งแนม ผดั และแกง

ภูมิปัญญาในการจัดส�ำรับอาหารไทย นอกจากแสดงให้เห็นผ่านรสชาติและประเภทของการปรุงอาหารที่
ครบเครอ่ื งแลว้ ยงั แฝงไวด้ ว้ ยคณุ คา่ ทางโภชนาการทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย โดยคำ� นงึ ถงึ สภาพชวี ติ และความเปน็ อยใู่ น
แตล่ ะภมู ภิ าคเปน็ หลกั การลอ้ มวงกนิ ขา้ วของคนไทยในแตล่ ะภมู ภิ าคยงั เปน็ วฒั นธรรมการกนิ อาหารทมี่ เี อกลกั ษณ์
นอกจากได้ความอรอ่ ยแล้ว ยังเสรมิ สร้างความสัมพันธข์ องคนในครอบครวั ในวงส�ำรับอาหารอีกด้วย 

““สำ� รบั อาหารชาววัง” เกดิ ข้นึ ในภาคกลาง มีความหลากหลายและ
ประณีตมากกว่าอาหารไทยในแตล่ ะภาค มที ้งั เครื่องคาว เคร่อื งหวาน
เคร่ืองเคียงและเคร่ืองวา่ ง อาหารแต่ละชนิดมีการประดษิ ฐ์ให้เลิศรส
มีความวจิ ิตรบรรจง และยังเปน็ ตน้ กำ� เนิดของอาหารหลายชนิด เชน่
”ชอ่ ม่วง จ่ามงกฎุ หรุม่ ลูกชบุ กระเช้าสีดา ข้าวแช่ รวมท้ังการแกะสลัก
ผกั และผลไมเ้ ป็นลวดลายอันงดงาม

138  |  วัฒนธรรม วิถีชีวติ และภูมปิ ัญญา



• น้ำ� พริกก้งุ สด

น้ำ� พรกิ

เครือ่ งจิ้มวถิ ไี ทย

รสชาติเผ็ดร้อนของน้�ำพริกท่ีแตกต่างกันไปด้วยเคร่ืองปรุงและการสร้างสรรค์ของคนไทยในแต่ละท้องถิ่น
ลว้ นเปน็ เสนห่ ใ์ หน้ ำ้� พรกิ เคยี งคสู่ ำ� รบั กบั ขา้ วของทกุ ครอบครวั จะกนิ คกู่ บั ขา้ วสวยหรอื ขา้ วเหนยี วนง่ึ รอ้ นๆ กอ็ รอ่ ยลำ�้
ถูกปากทกุ ครัวเรือน

นำ�้ พรกิ เปน็ อาหารจานหลกั ในสำ� รบั อาหารไทย มวี ตั ถดุ บิ หลกั ไดแ้ ก่ พรกิ และเครอื่ งปรงุ อน่ื ๆ ตามแตค่ วามนยิ ม
ของคนในท้องถิ่น แต่มักผสมเคร่ืองเทศท่ีมีกลิ่นแรง เช่น หอมแดง กระเทียม กะปิในน้�ำพริกของภาคกลางและ
ภาคใต้ ถั่วเน่าของภาคเหนือ และปลาร้าของภาคอีสาน จากนั้นน�ำมาโขลกหรือบดรวมกันกับพืชในท้องถิ่น เช่น
มะอกึ มะเขอื เทศ มะนาว มะม่วง มะยม ส้มซ่า มะดนั ตะลิงปลงิ มะขาม ระกำ� กระทอ้ น ฯลฯ เพ่อื ใหไ้ ดร้ สและ
กลิ่นของน้�ำพริกท่ีต่างกันไป ใช้จ้ิมกับผักชนิดต่างๆ เช่น ดอกแคลวก แตงกวา ถั่วฝักยาว ถ่ัวพู ขมิ้นขาว ฯลฯ
หากต้องการเพิม่ ปริมาณเนื้อน�ำ้ พรกิ ให้ขน้ ข้ึน จะใชว้ ธิ ีเติมปลายา่ งหรอื กุ้งแห้ง

มีข้อสันนิษฐานถึงจุดเริ่มต้นในการท�ำน�้ำพริกว่าคนไทยน่าจะเร่ิมรู้จักการท�ำอาหารประเภทน้ีในสมัยปลาย
กรงุ ศรอี ยธุ ยา เนอ่ื งจากพรกิ เปน็ พชื พนื้ เมอื งของอเมรกิ าใต้ ทเ่ี ชอ่ื วา่ เขา้ มาสภู่ มู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตพ้ รอ้ มกบั
เรือของชาวโปรตเุ กสในสมยั สมเด็จพระเอกาทศรถ ประกอบกับคนไทยในสมยั กอ่ นมักนิยมบรโิ ภคสัตวน์ ำ้� เชน่ ปลา
กงุ้ มากกว่าสัตว์บก จงึ นา่ จะคดิ ค้นนำ้� พริกขึน้ เพอ่ื เพ่มิ รสชาตขิ องอาหารและดับกลนิ่ คาวของเน้ือสตั ว์

อาหาร วถิ ถี ่ิน กินอย่างไทย  |  141

• นำ�้ พรกิ กะปิ • น้�ำพรกิ หนุ่ม • น�ำ้ พริกออ่ ง

เนื่องจากน�้ำพริกเป็นอาหารที่มีรสจัด คนไทยจึงนิยมบริโภคน้�ำพริกคู่กับผักชนิดต่างๆ ตามฤดูกาล เช่น “น้ำ� พรกิ ยงั มสี รรพคณุ ทางยา
ในฤดทู มี่ ะขามออกฝกั ออ่ นจะทำ� นำ้� พรกิ มะขาม ใชม้ ะเขอื เปราะ แตงกวา ถวั่ ฝกั ยาว ขมนิ้ ขาว เปน็ ผกั จมิ้ กนิ แนมกบั เพราะมีส่วนประกอบของสมนุ ไพร
ปลาสลดิ ทอด ไข่เค็ม ส่วนน้�ำพริกออ่ งของภาคเหนือจะกนิ ในฤดทู ี่มะเขอื สม้ (มะเขอื เทศผลเล็กๆ) ออกมาก จม้ิ กนิ เช่น ขิง ขา่ ตะไคร้ พริก หอมแดง
กบั ผักสด เช่น แตงกวา ถว่ั ฝักยาว ถ่วั พู คกู่ ับผกั ตม้ เชน่ ยอดแค ฟักทอง และนำ�้ เตา้ นอกจากน้ี ด้วยเป็นชาติทีม่ ี และจะย่งิ มีประโยชนม์ ากขึ้น
ความพถิ ีพิถนั ในการรบั ประทานอาหาร จงึ มีการเลอื กสรรวา่ นำ้� พริกชนิดใดควรกนิ คกู่ ับเคร่อื งแนมประเภทใดถึงจะ หากกินน�ำ้ พริกคู่กบั ผักสด ทำ� ให้
ได้รสชาติที่อร่อยขึ้น เช่น น�้ำพริกกะปิของภาคกลาง จิ้มกินกับยอดกระถิน ขม้ินขาว แตงกวา ชะอมชุบไข่ทอด น้�ำพรกิ มีสว่ นประกอบของสารตา้ น
กินแนมคู่กับปลาทูทอด ส่วนน�ำ้ ชบุ กะปหิ รอื น้ำ� พรกิ กะปขิ องภาคใต้ จิ้มกินกบั สะตอ ลกู เนยี ง ผักต้ม และผักดอง อนมุ ลู อสิ ระและชว่ ยชะลอวัย
ซ่ึงสามารถลดการเกดิ โรคมะเร็ง
สภาพวถิ ชี วี ติ และความนยิ มทแี่ ตกตา่ งกนั ทำ� ใหเ้ กดิ ความหลากหลายในรสชาติ สว่ นผสมและวธิ กี ารทำ� นำ้� พรกิ ”โรคหวั ใจ โรคลม และโรคทาง
ในแตล่ ะทอ้ งถ่นิ ก็เช่นกนั น�ำ้ พรกิ ภาคเหนอื ตอ้ งนำ� วัตถดุ บิ ทกุ อยา่ งมายา่ งหรือเผาใหส้ ุกก่อนและปรุงรสด้วยเกลอื สมอง
รสชาติของน้�ำพริกในภาคน้ีจึงไม่เผ็ดร้อนเท่าภาคอ่ืน มีการใช้ถั่วเน่ามาเพิ่มรสแทนการใช้กะปิ เช่น น�้ำพริกหนุ่ม
น�้ำพริกออ่ ง น้ำ� พริกนำ้� ปู๋ นำ้� พรกิ นำ�้ ผัก น�ำ้ พรกิ แคบหมู น�ำ้ พรกิ จน้ิ หมูหมก นำ�้ พริกภาคอสี าน ทกุ ประเภทลว้ นมี
ส่วนผสมหลกั คอื ปลารา้ แบ่งได้ ๓ ลกั ษณะไดแ้ ก่ “ป่น” เปน็ น�้ำพริกทป่ี ระกอบด้วยพริกแหง้ หอมแดง กระเทียม
โขลกผสมกับปลา เหด็ หรือเนอื้ สตั ว์อน่ื ๆ ใส่น้ำ� ปลาร้า ท�ำใหเ้ นอ้ื คอ่ นข้างขน้ ใชจ้ ิม้ ผัก เช่น ป่นปลารา้ ปน่ ปลาน่งึ
ปน่ ปลาทู สว่ น “แจว่ ” เปน็ นำ้� พรกิ พน้ื ฐานของภาคอสี าน สว่ นผสมหลกั คอื นำ�้ ปลารา้ และพรกิ ใชจ้ ม้ิ ทงั้ ผกั และเนอ้ื สตั ว์
เชน่ แจ่วบอง ประเภทสุดทา้ ยคอื ซบุ เปน็ อาหารทพ่ี ัฒนามาจากแจ่ว โดยมาจากค�ำว่า ชบุ ซึ่งหมายถึง จุ่มหรือจมิ้
คือการน�ำผกั ท่ใี ชจ้ ิ้มแจ่วมาผสมลงในแจว่ แลว้ เตมิ ขา้ วค่ัวลงไป

142  |  วัฒนธรรม วถิ ีชีวติ และภูมปิ ัญญา

• น้ำ� พรกิ ปลารา้ สับ

• น�้ำพริกมะแขวน่

น�้ำพริกภาคกลาง ได้รับอิทธิพลจากครัวใน • น�้ำพริกมะขาม
วังหลวง จงึ มีรสชาตทิ ่ีหลากหลายและมกี ารประยกุ ต์
วตั ถดุ บิ ตา่ งๆ ทงั้ ทห่ี าไดใ้ นทอ้ งถน่ิ และจากทอ้ งถน่ิ อน่ื
มาใช้ในการท�ำน�้ำพริก จึงท�ำให้ภาคกลางมีน�้ำพริก
มากชนดิ กวา่ ภาคอน่ื ๆ เชน่ นำ้� พรกิ กะปิ นำ้� พรกิ มะมว่ ง
นำ้� พรกิ เผา นำ�้ พรกิ มะขาม นำ้� พรกิ ระกำ� นำ้� พรกิ ลงเรอื
นำ�้ พรกิ โจรนำ้� พรกิ เตา้ เจย้ี วนำ้� พรกิ ปลารา้ นำ้� พรกิ ขกี้ าฯลฯ
ส่วน น้�ำพริกภาคใต้ เป็นน้�ำพริกที่มีรสจัดกว่า
ภาคอนื่ ๆ เรยี กวา่ นำ�้ ชบุ มอี งคป์ ระกอบหลกั คอื พรกิ
หอม และกะปิ มีลักษณะแห้ง ถ้าผสมให้เข้ากัน
ดว้ ยมอื เรยี กวา่ นำ�้ ชบุ หยำ� หรอื นำ้� ชบุ โจร ถา้ ตำ� ใหเ้ ขา้ กนั
เรยี กวา่ นำ้� ชบุ เยาะ ถา้ ตำ� แลว้ ผดั ใหส้ กุ เรยี กวา่ นำ้� ชบุ ผดั
หรอื น�ำ้ ชบุ ค่วั เคยี่ ว จุดเดน่ ในการรบั ประทานน�้ำพรกิ
ของภาคใต้คือผักสดท่ีมักจัดมาเป็นกระจาดใหญ่
เพื่อกนิ คู่กบั น�ำ้ พรกิ

น้�ำพริกจัดเป็นอาหารประจ�ำบ้านและ
เปน็ สว่ นหนง่ึ ในวฒั นธรรมการกนิ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ วถิ ี
ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย ถึงขนาดมีค�ำกล่าวว่า
หากอยากรู้ว่าสาวบ้านไหนมีรสมือการท�ำอาหารดี
ให้ฟงั จากเสียงโขลกนำ้� พรกิ เลยทเี ดยี ว 

• น้ำ� ชุบยำ� มะดัน

144  |  วัฒนธรรม วิถชี วี ิตและภูมปิ ัญญา



ตม้ ย�ำ “ความโดดเด่นของต้มยำ� นัน้ มาจาก
ความแตกตา่ งระหว่างความเผด็ รอ้ น
สสี ันแห่งรสแกง ความเปรย้ี ว และกลนิ่ หอมของบรรดา
”สมุนไพรในนำ้� แกง ทัง้ ตะไคร้ ใบมะกรูด
ขา่ มะนาว และพริกสด

ตม้ ยำ� เปน็ อาหารทคี่ รบเครอื่ งทงั้ รสและกลนิ่ ในนำ�้ แกงทรี่ อ้ นกำ� ลงั ดผี สมผสานรสเปรย้ี ว เผด็ เคม็ หวานอยา่ ง
พอเหมาะ หอมกลิน่ เครอ่ื งสมุนไพรสด ที่สง่ ให้เน้อื สตั วต์ า่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ปลา ก้งุ ไก่ หรอื เนอื้ ซ่งึ เป็นส่วนผสมหลัก
มรี สชาตกิ ลมกลอ่ มขนึ้ และกนิ ไดอ้ ย่างคล่องคอกบั ขา้ วสวยหอมกร่นุ

ตม้ ยำ� จดั เปน็ อาหารประเภทแกงทน่ี ำ� วธิ กี ารทำ� อาหาร ๒ ลกั ษณะมารวมกนั ไดแ้ ก่ การตม้ และการยำ� ซงึ่ มนี ำ้�
เปน็ สว่ นประกอบหลกั นำ�้ แกงทน่ี ำ� มาใชท้ ำ� ตม้ ยำ� มกั เปน็ นำ�้ ตม้ กระดกู เพอ่ื ใหไ้ ดร้ สชาตทิ กี่ ลมกลอ่ มยงิ่ ขน้ึ สว่ นการยำ�
เป็นการท�ำอาหารที่เน้นรสเปรี้ยวและเผ็ดน�ำรสเค็มและหวาน ต้มย�ำสามารถใส่เนื้อสัตว์ได้หลากหลายประเภท
แต่สตู รดั้งเดิมท่ีสดุ ของการทำ� ตม้ ยำ� ในอาหารไทยคือ การทำ� ตม้ ยำ� ปลาน้�ำใส เช่น ต้มย�ำปลาหมอ ตม้ ย�ำปลาช่อน
ซ่ึงเป็นวัตถุดิบท่ีหาได้ง่ายในเขตภาคกลางซ่ึงเป็นที่ราบลุ่ม มีส่วนผสมหลักคือ ใบมะกรูด ตะไคร้ ข่า และพริกสด
ปรงุ รสด้วยนำ้� มะนาว น�้ำปลา และน�ำ้ ตาล

• ตม้ ย�ำปลาชอ่ น

146  |  วฒั นธรรม วิถชี วี ิตและภมู ิปัญญา



• ตม้ ย�ำกงุ้ นำ�้ ใส

ส่วนต้มย�ำกุ้ง ซ่ึงปัจจุบันเป็นอาหารที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั้งในประเทศและต่างประเทศนั้น ในอดีต
ไมเ่ คยมบี ันทกึ ไว้เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรวา่ เรมิ่ มมี าเมอื่ ใด ไมว่ า่ จะเป็นในหนังสอื ต�ำรากับข้าวไทย สมัยรชั กาลที่ ๕
ท่พี มิ พใ์ นหนังสอื ประตทิ นิ บัตรแลจดหมายเหตุ ร.ศ. ๑๐๘ (ส�ำนักพิมพต์ ้นฉบับพมิ พซ์ ้�ำปี พ.ศ. ๒๕๔๐) ซ่ึงกลา่ วถงึ
เมนอู าหารไทยไว้หลายรายการ ในกลุ่มท่ีเรยี กวา่ ตม้ ย�ำ มีเพยี งวธิ กี ารปรงุ ตม้ ย�ำปลา คอื ปลาหมอ ปลากระเบน
และปลาช่อนเท่านั้น ส่วนในหนังสือ ต�ำรับสายเยาวภา ต�ำราแม่บ้านการเรือนท่ีพิมพ์ข้ึนโดยสายปัญญาสมาคม
ในสมยั รชั กาลท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๗๘) กอ็ ธิบายแต่เพียงสตู รตม้ ยำ� ปลาชอ่ นเทา่ นั้น

จวบจนในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ มหี ลกั ฐานเกย่ี วกบั สตู รตม้ ยำ� กงุ้ บนั ทกึ ไวอ้ ยา่ งชดั เจนในหนงั สอื ของเสวย เขยี นโดย
ม.ร.ว. กติ ินัดดา กติ ิยากร ซ่ึงเคยมตี �ำแหนง่ เป็นเลขาธิการคณะองคมนตรี และจัดพมิ พ์ข้นึ ทูลเกล้าฯ ถวายสมทบทุน
อานันทมหิดล โดยเรียกเมนนู ้วี า่ “ตม้ ย�ำกงุ้ สด” พร้อมเลา่ ทีม่ าว่า

“...ในระหวา่ งฤดูรอ้ น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ พรอ้ มทูล
กระหมอ่ มทง้ั สพี่ ระองค์ มกั จะเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปประทบั ณ วงั ไกลกงั วล อำ� เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ.์ ..
ในเวลาคำ�่ ทง้ั สองพระองค์ทรงโปรดเสด็จฯ ลงเสวยพระกระยาหารค�่ำท่ีชายหาดเป็นคร้ังคราว...

...ในตอนคำ่� ของวนั ท่ี ๒ เมษายน ๒๕๐๕ ภายหลงั ทไ่ี ดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปถงึ หวั หนิ ไดเ้ พยี งวนั เดยี ว สมเดจ็
พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ กม็ พี ระราชเสาวนยี โ์ ปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั พระกระยาหารทช่ี ายหาดหนา้ ตำ� หนกั นอ้ ย ในการนี้
โปรดเกล้าฯ ใหข้ ้าพเจา้ จัดทำ� อาหารขน้ึ สกั อย่างหนงึ่ เพม่ิ เตมิ ขน้ึ จากทห่ี ้องพระเครื่องตน้ จัดถวาย...

ด้วยเปน็ การดว่ น ขา้ พเจา้ คิดอะไรไม่ทนั ก็เลยคดิ ดดั แปลงตม้ ย�ำกงุ้ ขึน้ ทลู เกลา้ ฯ ถวาย...”

148  |  วฒั นธรรม วถิ ีชีวติ และภูมปิ ญั ญา


Click to View FlipBook Version